**ร้านศิวิไลพระเครื่อง** วัตถุมงคล เครื่องรางของขลัง เกจิคณาจารย์ภาคเหนือ

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย ศิวิไล, 25 พฤษภาคม 2013.

  1. j999

    j999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    4,971
    ค่าพลัง:
    +5,386
    ขอจองครับ
     
  2. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รับทราบการจองขอบพระคณครับ
     
  3. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6610

    รูปหล่อ รุ่นแรกครูบาบุญปั๋น ธัมมปัญโญ วัดร้องขุ้ม ปี 2533 ก้นอุดเกศาเทียนชัย

    ครูบาเจ้าบุญปั๋น ธมมปัญโญ วัดร้องขุ้ม สันป่าตอง เชียงใหม่ เป็นพระอริยะสงฆ์รูปสำคัญของเชียงใหม่ ศีลาจริยวัตรงดงาม มีเมตตาสูงมาก
    ……………………………………………………………เจ้าตำราวิชาเทียนเศรษฐีล้มลุกอันโด่งดัง...
    วิชา"เศรษฐีล้มลุก"นี้ ถือว่าเป็นวิชาคู่บุญบารมีครูบาเจ้าบุญปั๋น วัดร้องขุ้มก็ว่าได้ มีอานุภาพส่งเสริม"แก้ดวง หนุนดวง" และ"ส่งเสริมโชคลาภ"ให้บังเกิดขึ้นได้อย่างน่าอัศจรรย์ ผู้ใดมีบูชาไว้ ไม่มีจน เป็นเศรษฐี ไม่มีวันล้ม เพราะล้มแล้วก็ลุก
    ครูบาเจ้าบุญปั๋น ธัมมปัญโญ พระอริยเจ้าผู้ทรงคุณอันประเสริฐสุดแห่งวัดร้องขุ้ม เชียงใหม่นี้ จัดเป็นของดีที่หาได้ยากยิ่ง ส่วนมาก จะตกแก่ศิษยานุศิษย์และผู้ที่มีวาสนาในยุคต้นๆเสียโดยมาก ยากจะหลุดรอดมาถึง"คนนอก"ในภายหลังของดีราคาเบา ๆ น่าใช้
    จัดสร้างในปี ปี 2533 หล่อด้วยเนื้อทองเหลือง รมดำ ก้นอุดเทียนชัยเกศา
    เมื่อครูบาเจ้าบุญปั๋น ได้ทำพิธีอธิษฐานจิต
    ครูบาท่านได้มอบให้ทางวัดออกให้บูชารุ่นนี้ชาวบ้านที่เคารพนับถือ ท่านครูบาเจ้าบุญปั๋น ต่างกล่าวตรงกันว่า บูชาติดตัวแล้วเป็นเมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย

    ราคา 2550 บาท สนใจสอบถามได้ครับ 0861936900
    คุณ j999 จองแล้วครับ

    รูปหล่อครูบาบุญปั๋น b.jpg รูปหล่อครูบาบุญปั๋น c.jpg รูปหล่อครูบาบุญปั๋น d.jpg รูปหล่อครูบาบุญปั๋น f.jpg รูปหล่อครูบาบุญปั๋น e.jpg
    clip_9-jpg.jpg clip_11-jpg.jpg clip_12-jpg.jpg clip_10-jpg.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • clip_9-jpg.jpg
      clip_9-jpg.jpg
      ขนาดไฟล์:
      159.5 KB
      เปิดดู:
      36
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กันยายน 2020
  4. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6611

    เหรียญอาจารย์บูบูอ่อง(สย่าโป๊ะโป๊ะอ่อง) หรือ ฤๅษีบูบูอ่อง ปี ๒๕๒๑ รุ่นแรก เนื้อนวะโลหะ

    เหรียญนี้ลูกศิษย์คณะ ๙ วัดสุทัศน์ฯสร้างถวายโดยนำสย่าครูบาอาจารย์ทางพม่าเข้าปลุกเสกเมื่อปลุกเสกเสร็จ ส่วนหนึ่งก็นำกลับไปที่พม่า เหรียญไม่ค่อยพบเห็นครับ ตามประวัติกล่าวกันว่าท่านสำเร็จธรรมชั้นสูง และโด่งดังมากในเมืองพุกาม ประเทศพม่า ท่านสามารถแสดงฤทธิ์และมีคุณวิเศษหลายอย่างสำเร็จวิชาปรอท (มีฤทธิ์สามารถเหาะได้ โบราณท่านเรียกว่า สำเร็จปรอท ) เดิมได้บวชในบวรพระพุทธศาสนาและเจริญกรรมฐานจนบรรลุอภิญญา มีญาณสมาบัติแก่กล้า..แต่ต่อมาภายหลังได้ลาสิกขามาครองเพศฤาษีนุ่งขาวห่มขาว และใช้ฤทธิ์ในการช่วยเหลือผู้คนรวมถึงการเผยแพร่พระพุทธศาสนา วัตถุมงคลสายยาแดงเป็นที่นับถือในหมู่ชาวไทยใหญ่ พม่าและมอญ และเป็นหนึ่งในสิบของพ่อครูทั้ง ๑๐ แห่งสายวิชายาแดงอีกด้วย ท่านนับเป็นยอดบรมครูแห่งการสักสายยาแดง รวมไปถึงวิชาการเล่นแร่แปรธาตุ (ธาตุอย่างหนึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นอีกอย่างหนึ่งได้ ) เพื่อสำเร็จความเป็นอมตะล้ำลึกพิสดาร สมบูรณ์ด้วยธรรมและอิทธิฤทธิ์ พลังเหนือโลก ที่สามัญชนคนธรรมดายากจะเข้าถึงเชื่อกันว่าท่านเป็นบรมครูของสมเด็จพระเจ้าสิบทิศบาเยงนอง(บุเรงนอง)ตามคติความเชื่อนั้นแม้ผู้ใดมีบารมีของพ่อครูท่านใดเพียงท่านเดียวสถิตย์อยู่กับตัว ด้วยลายสักยันต์ยาแดงก็ดี หรือด้วยคาถาที่ท่องจำไว้ในใจก็ดีหรือเพียงระลึกถึงท่านด้วยใจเคารพศรัทธาอันมั่นคงก็ดี คนผู้นั้นไม่มีโดนทำร้ายด้วยคุณไสย คุณคน หรือแม้แต่พิษร้าย สัตว์ร้ายต่างๆก็ไม่สามารถทำอันตรายใดๆได้


    คุณ MATHS บูชาแล้วครับ

    เหรียญอ.บูบูอ่อง a.jpg เหรียญอ.บูบูอ่อง b.jpg เหรียญอ.บูบูอ่อง c.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  5. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6612

    เหรียญรุ่นแรกครูบาขันแก้ว เนื้อทองแดง ปี 2520ตอกโค๊ต คมชัดลึก สวยกล่องเดิม

    คณะศิษย์รัศมีพรหม (ศิษย์หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค จ.นครสวรรค์) นำโดย คุณหมอสมสุข คงอุไร จัดสร้างถวาย พ.ศ.2520 ผสมเนื้อทองระฆังหลวงพ่อพรหม วัดช่องแค ตะกรุดสหรีกัญชัย

    ตอกโค๊ต คมชัดลึก สวยกล่องเดิมครับ


    ราคา 2500 บาท สนใจสอบถามได้ครับ 086-1936900

    เหรียญครูบาขันแก้ว f.jpg เหรียญครูบาขันแก้ว g.jpg เหรียญครูบาขันแก้ว h.jpg เหรียญครูบาขันแก้ว i.jpg

    clip_13-jpg-jpg.jpg
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][/FONT]

    ครูบาขันแก้ว วัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง)ถือเป็นพระเกจิล้านนาอีกท่านหนึ่งที่เป็นทั้งนักพัฒนา นักเทศน์ และยังมีฝีมือทางด้านศิลปะ ขณะครูบาขันแก้ว พรรษาที่ ๘ อายุ ๓๐ ปีตรงกับพ.ศ. ๒๔๗๑ ครูบาศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนาจาริกธุดงค์มาบูรณะพระเจดีย์ และพระวิหารที่ “ดอยห้างบาตร” ครูบาศรีวิชัยได้เห็นฝีมือความสามารถทางช่างและอินทรีย์ที่ผ่องใสจากการปฏิบัติธรรม จึงได้มอบหมายให้ดูแลการบูรณะพระเจดีย์และพระวิหารแทน ก่อนที่ครูบาศรีวิชัยจะได้จาริกธุดงค์ต่อไป ได้ให้พรครูบาขันแก้ว อุตตโม ว่า

    “ให้ตุ๊น้องจงปฏิบัติธรรมจนไม่หวั่น ไหวในโลกธรรม ๘”

    พระครูอุดมขันติธรรม (ครูบาขันแก้วอุตตโม) อดีตเจ้าอาวาส วัดสันป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) เกิดเมื่อวันอังคาร ที่ ๑๔ พ.ย.๒๔๔๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำเดือน ๑๒ (เดือนยี่เหนือ) ปีกุนที่ ต.ห้วยยาบ อ.เมือง จ.ลำพูน มีนามเดิมว่า ขันแก้ว นามสกุล อิกำเหนิด บิดาชื่อ นายอินตา อิกำเหนิด มารดาชื่อ นางสม อิกำเหนิด ท่านครูบามีพี่น้องเกิดท้องเดียวกัน ๕ คน เป็นน้องหญิง ๓ คน น้องชาย ๑ คน คือ
    ๑. พระครูอุดมขันติธรรม(ครูบาขันแก้ว อุตตโม)
    ๒. ด.ญ.อุ่น อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังเยาว์)
    ๓. นางบัวเขียว อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรม)

    ๔. นายก๋อง อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรมแต่มีบุตรหลานสืบสกุลอยู่ในปัจจุบันนี้)
    ๕. นางทา อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรม)​

    โยมปู่ครูบาขันแก้ว ได้อพยพครอบครัวมาจาก ต.เวียงยอง อ.เมือง จ.ลำพูนมาอยู่ ต.ห้วยไซก่อน แล้วจึงได้อพยพย้ายครอบครัวลงมาอยู่ที่ ต.ห้วยยาบ ตั้งรกรากใกล้กับวัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง) ซึ่งเป็นวัดร้าง และได้เป็นหัวหน้าบูรณะ ซ่อมแซมก่อสร้างจนเป็นวัดขึ้นมาตราบจนทุกวันนี้
    พระครูอุดมขันติธรรม (ครูบาขันแก้ว อุตตโม) ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ ๑๓ ปี ณ วัดป่ายาง อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่ออายุ ๒๑ ปี ณ วัดต้นปิน ต.บ้านธิ อ.เมือง จ.ลำพูน โดยมีพระอธิการแก้ว (ครูบาอินทจักโก) วัดป่าลานเป็นพระอุปัชณาย์ ได้ฉายาว่า “อุตตโม” พรรษาที่ ๔ อายุได้ ๒๕ ปี ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ จ.ลำพูนให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส วัดป่ายาง เมื่อพ.ศ.๒๔๖๘
    พรรษาที่ ๖ อายุได้ ๒๗ ปี ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลห้วยยาบและเป็นผู้รักษาการเจ้าคณะตำบลบ้านธิอีกตำแหน่ง ปกครองดูแลวัดทั้ง ๒ ตำบลถึง ๖๘ วัด พรรษาที่ ๓๒ อายุได้ ๕๓ ปี ได้รับสมณศักดิ์พระครูชั้นประทวนและในพรรษานี้ได้ไปบำเพ็ญมหากุศล มหาวิบากญาณรัมปยุต ๑๓ และมหากิริยาจิตเข้า “อภิสัญญาณโรธ”กับครูบาชุ่มโพธิโก ณ “ดอยห้างบาตร” เมื่อบำเพ็ญทุกข์กิริยาเพื่อให้เกิด “วิปัสสนาญาณ” ได้ “ธรรมจักษุ” (ดวงตาเห็นธรรม) ๗ วัน ๗ คืน ใน ๔ อิริยาบถ พรรษาที่ ๔๙ อายุได้ ๗๐ ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ “พระครูอุดมขันติธรรม”
    ในปีพ.ศ.๒๕๒๑ และปีพ.ศ.๒๕๒๓ ครูบาขันแก้วได้เมตตาต่อคณะศิษย์วัดมีพรหมโพธิโก แสดงมหากิริยาจิต กำหนด “สุขวิปัสสก” ด้วยโสมนัสสหคตังญาณ สมปยุตตัง อสังขาริกัง ให้เกิด ”ปัญญาวิมุตติ” ได้”ธรรมจักษ์” ประหารกิเลสด้วย “สมุทจเฉทประหาร” และกำหนดมหากิริยาจิตแสดง “นิพพานัสส รจังฉิกิริยา” (การทำให้แจ้งในพระนิพพาน) ด้วยอารมณ์การได้ “มงกฎพระเจ้า” ดวงตาของครูบาขันแก้ว อุตตโม ได้เปลี่ยนสีจากสีเนื้อลูกลำไย เป็น “สีฟ้าเข้มทั้งดวงตา” แสดงถึงกิริยาของผู้หมดกิเลสเป็นการเปิดภูมิปัญญาในโลกุตรภูมิ เบื้องต้นและโลกุตระภูมิสูงสุด พระเมตตาคุณที่ได้แสดงมหากิริยาจิตในการโปรดสัตว์ทั้งสองครั้งนี้ ยากที่จะลืมเลือนได้
    หลวงปู่ขันแก้ว เป็นเพื่อนรักของหลวงปู่ครูบาชุ่ม โพธิโก วัดวังมุย และก็ได้มาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ในการบำเพ็ญกุศลช่วยงานศพอยู่ทุกคืนน่าจะนิมนต์มาท่านมาร่วมด้วย จะเคยปลุกเสกหรือไม่เคยปลุกเสกไม่สำคัญ คณะกรรมการวัดก็เลยนิมนต์ หลวงปู่ครูบาขันแก้ว มาร่วมพิธีด้วยแสดงความมหัศจรรย์นั่งเคี้ยวเมี่ยงในงานพุทธาภิเษก
    พิธีปลุกเสกได้เริ่มในตอนกลางคืนวันที่ 18 ก.พ. 2520 เวลา19.50น หลวงปู่ขันแก้ว ได้นั่งอยู่ในตำแหน่งที่หันหน้าเข้าหาพระประธาน หลวงปู่อีก3 องค์คือ หลวงปู่อินทรจักร วัดน้ำบ่อหลวง ท่านเจ้าคุณญาณ วัดมหาวัน หลวงปู่ท่านเจ้าคุณพระธรรมโมลี วัดพระธาตุหริภุญไชย นั่งหลับตาแผ่อำนาจจิตปลุกเสก แต่หลวงปู่ขันแก้วกับนั่งลืมตาเคี้ยวเมี่ยงอยู่เบิกตากว้างมองดูเฉยๆๆ ชาวบ้านวัดวังมุ่ยเริ่มมีปฎิกริยาพึมพำพูดกันว่าใครหนอนิมนต์ตุ๊เจ้าที่ปลุกเสกไม่เป็นมาร่วมพีธี ทำเอาเจ้าคณะตำบลประตูป่าเข้ามาพูดกับคุณพ่อสมสุขว่า โยมหมอใครไปนิมนต์ตุ๊ลุงองค์นี้มา พวกที่ชมและชาวบ้านในพีธีบ่นว่าไปเอาพระที่ไหนมา ดูซินั่งลืมตาเคี้ยวเมี่ยงไม่เห็นปลุกเสกอะไรเลย คุณพ่อบอกว่าผมนิมนต์มาเองขอให้รอดูประเดี๋ยว
    คุณพ่อยังนึกอยู่ว่านั่งเบิกตาอย่างนี้เคยเห็นที่ไหน หลวงปู่ขันแก้วนั่งลืมตาอยู่เกือบ15 นาที่ ประกายตากร้าวแข็ง ส่วนองค์อื่นท่านนั่งหลับตาตามความถนัดของท่าน ส่งกระแสจิตออกมาปลุกเสก หลวงปู่ขันแก้ว ปลุกเสกด้วย เมตตาเจโตวิมุติ หลวงปู่เริ่มเปลี่ยนอิริยาบถ โดยนั่งห้อยเท้า ตาของท่านเริ่มเป็นประกายกล้า ขณะนั้นช่างภาพก็ถ่ายรูปในอิริยาบถนั้น ทันที่ที่แสงไฟแฟลชสว่างจ้านัยน์ตาของหลวงปู่ขันแก้วก็มิได้กระพริบ ช่างภาพอีกหลายคนก็เข้าไปถ่ายแสงไฟสว่างจ้าแต่นัยต์ตาของหลวงปู่ก็อยู่อย่างปกติคือลืมตาอย่างนั้นไม่กระพริบเลย หลังจากนั้นช่างภาพหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นก็เข้าไปถ่ายซึ่งไฟแฟล็ชแรงกว่ามากก็เข้าไปถ่ายผลปรากฎ ตาของหลวงปู่ขันแก้วก็ไม่กระพริบเป็นเวลานาน คนธรรมดาไม่สามารถทำได้อย่างแน่ เปิดภูมิปัญญาโลกุตระด้วยมหากริยาจิต
    คุณพ่อเข้าใจทันที ที่นึกว่าเคยเห็นที่ไหนก็นึกออกว่าเคยเห็น หลวงปู่พรหม ถาวโร แห่งวัดช่องแค ท่านปลุกเสก พระแสงแฟล็ช ถ่ายรูปไม่ทำให้ นัยน์ตา ท่านกระพริบและท่านก็นั่งลืมตาปลุกเสกความจริงแล้วหลวงปู่ขันแก้วไม่ได้มีเจตนาจะแสดงอภินิหารหรืออวดเป็นเพียงการนั่งปลุกเสกของผู้สำเร็จอานาปานสติกรรมฐาน คือสมาธิแบบลืมตาและนั่งหายใจออก หายใจเข้าจนได้ดวงตาเห็นธรรมและใจหมดอาสวะกิเลสเป็นแบบสมาธิที่ถูกต้องของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีหลักฐานแสดงในอานาปาสติสูตรจากหนังสืองานพระศพของหลวงปู่ขันแก้วที่คุณพ่อสมสุข
    พระอริยะสงฆ์ผู้ที่จารึกว่า พระผู้อุดมด้วยวิชชา และวิมุตฺติ มีไว้บูชาติดตัว ติดบ้านร่มเย็นเป็นสุข กันภัยที่จะเกิดขึ้นทั้งปวงครับ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  6. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6613

    พระผงพิมพ์เตารีดรุ่นแรก ครูบาขันแก้ว วัดสันพระเจ้าแดง สวยกล่องเดิม หลังโรยเส้นเกศาพลอยเสก


    จัดสร้างปี 2521 โดยคุณหมอสมสุข คงอุไร ซึ่งคุณหมอท่านสร้างให้ครูบาขันแก้ว เพื่อให้บูชาทำบุญทอดกฐินที่วัดสันพระเจ้าแดงในปี พ.ศ.2521 - วิธีการจัดสร้างของคุณหมอสมสุข ท่านใช้สูตรเดิมจากการทำพระผงของหลวงพ่อพรหม วัดช่องแค คือ นำผงพระพุทธคุณแก้ว 3 ดวงหลวงพ่อพรหม ,ครูบาชุ่ม และครูบาขันแก้ว(จำนวนมาก) และน้ำพระพุทธมนต์ศักสิทธิ์ 5 วัด คือ วัดช่องแค วัดวังมุย วัดน้ำบ่อหลวง วัดพระพุทธบาทตากผ้า วัดสันพระเจ้าแดง +พลอยกิ๋นบ่เสี้ยงและเกศาของครูบาท่าน นับว่าพระผงรุ่นนี้มีมวลสารสุดยอดมากครับ ซึ่งการปลุกเสกของครูบาท่านเข้มขลังมากเป็นการปลุกเสกพระแบบมหาเจโตวิมุติอันประมาณค่าไม่ใด้ ซึ่งแม้แต่ครูบาขันแก้วท่านยังชมว่า " พระรุ่นนี้ แม้ไม่เสกก็ยังขลัง "

    สวยเดิมๆครับ


    บูชาแล้วครับ

    พระผงเตารีดครูบาขันแก้ว a.jpg พระผงเตารีดครูบาขันแก้ว g.jpg พระผงเตารีดครูบาขันแก้ว b.jpg พระผงเตารีดครูบาขันแก้ว c.jpg พระผงเตารีดครูบาขันแก้ว d.jpg พระผงเตารีดครูบาขันแก้ว e.jpg พระผงเตารีดครูบาขันแก้ว f.jpg



    clip_13-jpg.jpg

    ครูบาขันแก้ว วัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง)ถือเป็นพระเกจิล้านนาอีกท่านหนึ่งที่เป็นทั้งนักพัฒนา นักเทศน์ และยังมีฝีมือทางด้านศิลปะ ขณะครูบาขันแก้ว พรรษาที่ ๘ อายุ ๓๐ ปีตรงกับพ.ศ. ๒๔๗๑ ครูบาศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนาจาริกธุดงค์มาบูรณะพระเจดีย์ และพระวิหารที่ “ดอยห้างบาตร” ครูบาศรีวิชัยได้เห็นฝีมือความสามารถทางช่างและอินทรีย์ที่ผ่องใสจากการปฏิบัติธรรม จึงได้มอบหมายให้ดูแลการบูรณะพระเจดีย์และพระวิหารแทน ก่อนที่ครูบาศรีวิชัยจะได้จาริกธุดงค์ต่อไป ได้ให้พรครูบาขันแก้ว อุตตโม ว่า
    “ให้ตุ๊น้องจงปฏิบัติธรรมจนไม่หวั่น ไหวในโลกธรรม ๘”
    พระครูอุดมขันติธรรม (ครูบาขันแก้วอุตตโม) อดีตเจ้าอาวาส วัดสันป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) เกิดเมื่อวันอังคาร ที่ ๑๔ พ.ย.๒๔๔๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำเดือน ๑๒ (เดือนยี่เหนือ) ปีกุนที่ ต.ห้วยยาบ อ.เมือง จ.ลำพูน มีนามเดิมว่า ขันแก้ว นามสกุล อิกำเหนิด บิดาชื่อ นายอินตา อิกำเหนิด มารดาชื่อ นางสม อิกำเหนิด ท่านครูบามีพี่น้องเกิดท้องเดียวกัน ๕ คน เป็นน้องหญิง ๓ คน น้องชาย ๑ คน คือ
    ๑. พระครูอุดมขันติธรรม(ครูบาขันแก้ว อุตตโม)
    ๒. ด.ญ.อุ่น อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังเยาว์)
    ๓. นางบัวเขียว อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรม)
    ๔. นายก๋อง อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรมแต่มีบุตรหลานสืบสกุลอยู่ในปัจจุบันนี้)
    ๕. นางทา อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรม)
    โยมปู่ครูบาขันแก้ว ได้อพยพครอบครัวมาจาก ต.เวียงยอง อ.เมือง จ.ลำพูนมาอยู่ ต.ห้วยไซก่อน แล้วจึงได้อพยพย้ายครอบครัวลงมาอยู่ที่ ต.ห้วยยาบ ตั้งรกรากใกล้กับวัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง) ซึ่งเป็นวัดร้าง และได้เป็นหัวหน้าบูรณะ ซ่อมแซมก่อสร้างจนเป็นวัดขึ้นมาตราบจนทุกวันนี้
    พระครูอุดมขันติธรรม (ครูบาขันแก้ว อุตตโม) ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ ๑๓ ปี ณ วัดป่ายาง อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่ออายุ ๒๑ ปี ณ วัดต้นปิน ต.บ้านธิ อ.เมือง จ.ลำพูน โดยมีพระอธิการแก้ว (ครูบาอินทจักโก) วัดป่าลานเป็นพระอุปัชณาย์ ได้ฉายาว่า “อุตตโม” พรรษาที่ ๔ อายุได้ ๒๕ ปี ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ จ.ลำพูนให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส วัดป่ายาง เมื่อพ.ศ.๒๔๖๘
    พรรษาที่ ๖ อายุได้ ๒๗ ปี ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลห้วยยาบและเป็นผู้รักษาการเจ้าคณะตำบลบ้านธิอีกตำแหน่ง ปกครองดูแลวัดทั้ง ๒ ตำบลถึง ๖๘ วัด พรรษาที่ ๓๒ อายุได้ ๕๓ ปี ได้รับสมณศักดิ์พระครูชั้นประทวนและในพรรษานี้ได้ไปบำเพ็ญมหากุศล มหาวิบากญาณรัมปยุต ๑๓ และมหากิริยาจิตเข้า “อภิสัญญาณโรธ”กับครูบาชุ่มโพธิโก ณ “ดอยห้างบาตร” เมื่อบำเพ็ญทุกข์กิริยาเพื่อให้เกิด “วิปัสสนาญาณ” ได้ “ธรรมจักษุ” (ดวงตาเห็นธรรม) ๗ วัน ๗ คืน ใน ๔ อิริยาบถ พรรษาที่ ๔๙ อายุได้ ๗๐ ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ “พระครูอุดมขันติธรรม”
    ในปีพ.ศ.๒๕๒๑ และปีพ.ศ.๒๕๒๓ ครูบาขันแก้วได้เมตตาต่อคณะศิษย์วัดมีพรหมโพธิโก แสดงมหากิริยาจิต กำหนด “สุขวิปัสสก” ด้วยโสมนัสสหคตังญาณ สมปยุตตัง อสังขาริกัง ให้เกิด ”ปัญญาวิมุตติ” ได้”ธรรมจักษ์” ประหารกิเลสด้วย “สมุทจเฉทประหาร” และกำหนดมหากิริยาจิตแสดง “นิพพานัสส รจังฉิกิริยา” (การทำให้แจ้งในพระนิพพาน) ด้วยอารมณ์การได้ “มงกฎพระเจ้า” ดวงตาของครูบาขันแก้ว อุตตโม ได้เปลี่ยนสีจากสีเนื้อลูกลำไย เป็น “สีฟ้าเข้มทั้งดวงตา” แสดงถึงกิริยาของผู้หมดกิเลสเป็นการเปิดภูมิปัญญาในโลกุตรภูมิ เบื้องต้นและโลกุตระภูมิสูงสุด พระเมตตาคุณที่ได้แสดงมหากิริยาจิตในการโปรดสัตว์ทั้งสองครั้งนี้ ยากที่จะลืมเลือนได้
    หลวงปู่ขันแก้ว เป็นเพื่อนรักของหลวงปู่ครูบาชุ่ม โพธิโก วัดวังมุย และก็ได้มาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ในการบำเพ็ญกุศลช่วยงานศพอยู่ทุกคืนน่าจะนิมนต์มาท่านมาร่วมด้วย จะเคยปลุกเสกหรือไม่เคยปลุกเสกไม่สำคัญ คณะกรรมการวัดก็เลยนิมนต์ หลวงปู่ครูบาขันแก้ว มาร่วมพิธีด้วยแสดงความมหัศจรรย์นั่งเคี้ยวเมี่ยงในงานพุทธาภิเษก
    พิธีปลุกเสกได้เริ่มในตอนกลางคืนวันที่ 18 ก.พ. 2520 เวลา19.50น หลวงปู่ขันแก้ว ได้นั่งอยู่ในตำแหน่งที่หันหน้าเข้าหาพระประธาน หลวงปู่อีก3 องค์คือ หลวงปู่อินทรจักร วัดน้ำบ่อหลวง ท่านเจ้าคุณญาณ วัดมหาวัน หลวงปู่ท่านเจ้าคุณพระธรรมโมลี วัดพระธาตุหริภุญไชย นั่งหลับตาแผ่อำนาจจิตปลุกเสก แต่หลวงปู่ขันแก้วกับนั่งลืมตาเคี้ยวเมี่ยงอยู่เบิกตากว้างมองดูเฉยๆๆ ชาวบ้านวัดวังมุ่ยเริ่มมีปฎิกริยาพึมพำพูดกันว่าใครหนอนิมนต์ตุ๊เจ้าที่ปลุกเสกไม่เป็นมาร่วมพีธี ทำเอาเจ้าคณะตำบลประตูป่าเข้ามาพูดกับคุณพ่อสมสุขว่า โยมหมอใครไปนิมนต์ตุ๊ลุงองค์นี้มา พวกที่ชมและชาวบ้านในพีธีบ่นว่าไปเอาพระที่ไหนมา ดูซินั่งลืมตาเคี้ยวเมี่ยงไม่เห็นปลุกเสกอะไรเลย คุณพ่อบอกว่าผมนิมนต์มาเองขอให้รอดูประเดี๋ยว
    คุณพ่อยังนึกอยู่ว่านั่งเบิกตาอย่างนี้เคยเห็นที่ไหน หลวงปู่ขันแก้วนั่งลืมตาอยู่เกือบ15 นาที่ ประกายตากร้าวแข็ง ส่วนองค์อื่นท่านนั่งหลับตาตามความถนัดของท่าน ส่งกระแสจิตออกมาปลุกเสก หลวงปู่ขันแก้ว ปลุกเสกด้วย เมตตาเจโตวิมุติ หลวงปู่เริ่มเปลี่ยนอิริยาบถ โดยนั่งห้อยเท้า ตาของท่านเริ่มเป็นประกายกล้า ขณะนั้นช่างภาพก็ถ่ายรูปในอิริยาบถนั้น ทันที่ที่แสงไฟแฟลชสว่างจ้านัยน์ตาของหลวงปู่ขันแก้วก็มิได้กระพริบ ช่างภาพอีกหลายคนก็เข้าไปถ่ายแสงไฟสว่างจ้าแต่นัยต์ตาของหลวงปู่ก็อยู่อย่างปกติคือลืมตาอย่างนั้นไม่กระพริบเลย หลังจากนั้นช่างภาพหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นก็เข้าไปถ่ายซึ่งไฟแฟล็ชแรงกว่ามากก็เข้าไปถ่ายผลปรากฎ ตาของหลวงปู่ขันแก้วก็ไม่กระพริบเป็นเวลานาน คนธรรมดาไม่สามารถทำได้อย่างแน่ เปิดภูมิปัญญาโลกุตระด้วยมหากริยาจิต
    คุณพ่อเข้าใจทันที ที่นึกว่าเคยเห็นที่ไหนก็นึกออกว่าเคยเห็น หลวงปู่พรหม ถาวโร แห่งวัดช่องแค ท่านปลุกเสก พระแสงแฟล็ช ถ่ายรูปไม่ทำให้ นัยน์ตา ท่านกระพริบและท่านก็นั่งลืมตาปลุกเสกความจริงแล้วหลวงปู่ขันแก้วไม่ได้มีเจตนาจะแสดงอภินิหารหรืออวดเป็นเพียงการนั่งปลุกเสกของผู้สำเร็จอานาปานสติกรรมฐาน คือสมาธิแบบลืมตาและนั่งหายใจออก หายใจเข้าจนได้ดวงตาเห็นธรรมและใจหมดอาสวะกิเลสเป็นแบบสมาธิที่ถูกต้องของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีหลักฐานแสดงในอานาปาสติสูตรจากหนังสืองานพระศพของหลวงปู่ขันแก้วที่คุณพ่อสมสุข
    พระอริยะสงฆ์ผู้ที่จารึกว่า พระผู้อุดมด้วยวิชชา และวิมุตฺติ มีไว้บูชาติดตัว ติดบ้านร่มเย็นเป็นสุข กันภัยที่จะเกิดขึ้นทั้งปวงครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  7. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6614

    พระผงพิมพ์ใบโพธิ์ ครูบาขันแก้ว วัดสันพระเจ้าแดง สีแดง หลังโรยเกษาเยอะมาก


    จัดสร้างโดยคุณหมอสมสุข คงอุไร ซึ่งคุณหมอท่านสร้างให้ครูบาขันแก้ว เพื่อให้บูชาทำบุญทอดกฐินที่วัดสันพระเจ้าแดงวิธีการจัดสร้างของคุณหมอสมสุข ท่านใช้สูตรเดิมจากการทำพระผงของหลวงพ่อพรหม วัดช่องแค คือ นำผงพระพุทธคุณแก้ว 3 ดวงหลวงพ่อพรหม ,ครูบาชุ่ม และครูบาขันแก้ว(จำนวนมาก) และน้ำพระพุทธมนต์ศักสิทธิ์ 5 วัด คือ วัดช่องแค วัดวังมุย วัดน้ำบ่อหลวง วัดพระพุทธบาทตากผ้า วัดสันพระเจ้าแดง +พลอยกิ๋นบ่เสี้ยงและเกศาของครูบาท่าน นับว่าพระผงรุ่นนี้มีมวลสารสุดยอดมากครับ ซึ่งการปลุกเสกของครูบาท่านเข้มขลังมากเป็นการปลุกเสกพระแบบมหาเจโตวิมุติอันประมาณค่าไม่ใด้ ซึ่งแม้แต่ครูบาขันแก้วท่านยังชมว่า " พระรุ่นนี้ แม้ไม่เสกก็ยังขลัง "


    สวยเดิมหลังโรยเกษาเยอะมากครับ

    ราคา 1550 บาท สนใจสอบถามได้ครับ 086-1936900

    พระผงครูบาขันแก้ว a.jpg พระผงครูบาขันแก้ว b.jpg พระผงครูบาขันแก้ว c.jpg พระผงครูบาขันแก้ว d.jpg

    clip_13-jpg-jpg.jpg
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][/FONT]

    ครูบาขันแก้ว วัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง)ถือเป็นพระเกจิล้านนาอีกท่านหนึ่งที่เป็นทั้งนักพัฒนา นักเทศน์ และยังมีฝีมือทางด้านศิลปะ ขณะครูบาขันแก้ว พรรษาที่ ๘ อายุ ๓๐ ปีตรงกับพ.ศ. ๒๔๗๑ ครูบาศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนาจาริกธุดงค์มาบูรณะพระเจดีย์ และพระวิหารที่ “ดอยห้างบาตร” ครูบาศรีวิชัยได้เห็นฝีมือความสามารถทางช่างและอินทรีย์ที่ผ่องใสจากการปฏิบัติธรรม จึงได้มอบหมายให้ดูแลการบูรณะพระเจดีย์และพระวิหารแทน ก่อนที่ครูบาศรีวิชัยจะได้จาริกธุดงค์ต่อไป ได้ให้พรครูบาขันแก้ว อุตตโม ว่า

    “ให้ตุ๊น้องจงปฏิบัติธรรมจนไม่หวั่น ไหวในโลกธรรม ๘”

    พระครูอุดมขันติธรรม (ครูบาขันแก้วอุตตโม) อดีตเจ้าอาวาส วัดสันป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) เกิดเมื่อวันอังคาร ที่ ๑๔ พ.ย.๒๔๔๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำเดือน ๑๒ (เดือนยี่เหนือ) ปีกุนที่ ต.ห้วยยาบ อ.เมือง จ.ลำพูน มีนามเดิมว่า ขันแก้ว นามสกุล อิกำเหนิด บิดาชื่อ นายอินตา อิกำเหนิด มารดาชื่อ นางสม อิกำเหนิด ท่านครูบามีพี่น้องเกิดท้องเดียวกัน ๕ คน เป็นน้องหญิง ๓ คน น้องชาย ๑ คน คือ
    ๑. พระครูอุดมขันติธรรม(ครูบาขันแก้ว อุตตโม)
    ๒. ด.ญ.อุ่น อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังเยาว์)

    ๓. นางบัวเขียว อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรม)

    ๔. นายก๋อง อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรมแต่มีบุตรหลานสืบสกุลอยู่ในปัจจุบันนี้)
    ๕. นางทา อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรม)
    โยมปู่ครูบาขันแก้ว ได้อพยพครอบครัวมาจาก ต.เวียงยอง อ.เมือง จ.ลำพูนมาอยู่ ต.ห้วยไซก่อน แล้วจึงได้อพยพย้ายครอบครัวลงมาอยู่ที่ ต.ห้วยยาบ ตั้งรกรากใกล้กับวัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง) ซึ่งเป็นวัดร้าง และได้เป็นหัวหน้าบูรณะ ซ่อมแซมก่อสร้างจนเป็นวัดขึ้นมาตราบจนทุกวันนี้
    พระครูอุดมขันติธรรม (ครูบาขันแก้ว อุตตโม) ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ ๑๓ ปี ณ วัดป่ายาง อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่ออายุ ๒๑ ปี ณ วัดต้นปิน ต.บ้านธิ อ.เมือง จ.ลำพูน โดยมีพระอธิการแก้ว (ครูบาอินทจักโก) วัดป่าลานเป็นพระอุปัชณาย์ ได้ฉายาว่า “อุตตโม” พรรษาที่ ๔ อายุได้ ๒๕ ปี ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ จ.ลำพูนให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส วัดป่ายาง เมื่อพ.ศ.๒๔๖๘
    พรรษาที่ ๖ อายุได้ ๒๗ ปี ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลห้วยยาบและเป็นผู้รักษาการเจ้าคณะตำบลบ้านธิอีกตำแหน่ง ปกครองดูแลวัดทั้ง ๒ ตำบลถึง ๖๘ วัด พรรษาที่ ๓๒ อายุได้ ๕๓ ปี ได้รับสมณศักดิ์พระครูชั้นประทวนและในพรรษานี้ได้ไปบำเพ็ญมหากุศล มหาวิบากญาณรัมปยุต ๑๓ และมหากิริยาจิตเข้า “อภิสัญญาณโรธ”กับครูบาชุ่มโพธิโก ณ “ดอยห้างบาตร” เมื่อบำเพ็ญทุกข์กิริยาเพื่อให้เกิด “วิปัสสนาญาณ” ได้ “ธรรมจักษุ” (ดวงตาเห็นธรรม) ๗ วัน ๗ คืน ใน ๔ อิริยาบถ พรรษาที่ ๔๙ อายุได้ ๗๐ ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ “พระครูอุดมขันติธรรม”
    ในปีพ.ศ.๒๕๒๑ และปีพ.ศ.๒๕๒๓ ครูบาขันแก้วได้เมตตาต่อคณะศิษย์วัดมีพรหมโพธิโก แสดงมหากิริยาจิต กำหนด “สุขวิปัสสก” ด้วยโสมนัสสหคตังญาณ สมปยุตตัง อสังขาริกัง ให้เกิด ”ปัญญาวิมุตติ” ได้”ธรรมจักษ์” ประหารกิเลสด้วย “สมุทจเฉทประหาร” และกำหนดมหากิริยาจิตแสดง “นิพพานัสส รจังฉิกิริยา” (การทำให้แจ้งในพระนิพพาน) ด้วยอารมณ์การได้ “มงกฎพระเจ้า” ดวงตาของครูบาขันแก้ว อุตตโม ได้เปลี่ยนสีจากสีเนื้อลูกลำไย เป็น “สีฟ้าเข้มทั้งดวงตา” แสดงถึงกิริยาของผู้หมดกิเลสเป็นการเปิดภูมิปัญญาในโลกุตรภูมิ เบื้องต้นและโลกุตระภูมิสูงสุด พระเมตตาคุณที่ได้แสดงมหากิริยาจิตในการโปรดสัตว์ทั้งสองครั้งนี้ ยากที่จะลืมเลือนได้
    หลวงปู่ขันแก้ว เป็นเพื่อนรักของหลวงปู่ครูบาชุ่ม โพธิโก วัดวังมุย และก็ได้มาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ในการบำเพ็ญกุศลช่วยงานศพอยู่ทุกคืนน่าจะนิมนต์มาท่านมาร่วมด้วย จะเคยปลุกเสกหรือไม่เคยปลุกเสกไม่สำคัญ คณะกรรมการวัดก็เลยนิมนต์ หลวงปู่ครูบาขันแก้ว มาร่วมพิธีด้วยแสดงความมหัศจรรย์นั่งเคี้ยวเมี่ยงในงานพุทธาภิเษก
    พิธีปลุกเสกได้เริ่มในตอนกลางคืนวันที่ 18 ก.พ. 2520 เวลา19.50น หลวงปู่ขันแก้ว ได้นั่งอยู่ในตำแหน่งที่หันหน้าเข้าหาพระประธาน หลวงปู่อีก3 องค์คือ หลวงปู่อินทรจักร วัดน้ำบ่อหลวง ท่านเจ้าคุณญาณ วัดมหาวัน หลวงปู่ท่านเจ้าคุณพระธรรมโมลี วัดพระธาตุหริภุญไชย นั่งหลับตาแผ่อำนาจจิตปลุกเสก แต่หลวงปู่ขันแก้วกับนั่งลืมตาเคี้ยวเมี่ยงอยู่เบิกตากว้างมองดูเฉยๆๆ ชาวบ้านวัดวังมุ่ยเริ่มมีปฎิกริยาพึมพำพูดกันว่าใครหนอนิมนต์ตุ๊เจ้าที่ปลุกเสกไม่เป็นมาร่วมพีธี ทำเอาเจ้าคณะตำบลประตูป่าเข้ามาพูดกับคุณพ่อสมสุขว่า โยมหมอใครไปนิมนต์ตุ๊ลุงองค์นี้มา พวกที่ชมและชาวบ้านในพีธีบ่นว่าไปเอาพระที่ไหนมา ดูซินั่งลืมตาเคี้ยวเมี่ยงไม่เห็นปลุกเสกอะไรเลย คุณพ่อบอกว่าผมนิมนต์มาเองขอให้รอดูประเดี๋ยว
    คุณพ่อยังนึกอยู่ว่านั่งเบิกตาอย่างนี้เคยเห็นที่ไหน หลวงปู่ขันแก้วนั่งลืมตาอยู่เกือบ15 นาที่ ประกายตากร้าวแข็ง ส่วนองค์อื่นท่านนั่งหลับตาตามความถนัดของท่าน ส่งกระแสจิตออกมาปลุกเสก หลวงปู่ขันแก้ว ปลุกเสกด้วย เมตตาเจโตวิมุติ หลวงปู่เริ่มเปลี่ยนอิริยาบถ โดยนั่งห้อยเท้า ตาของท่านเริ่มเป็นประกายกล้า ขณะนั้นช่างภาพก็ถ่ายรูปในอิริยาบถนั้น ทันที่ที่แสงไฟแฟลชสว่างจ้านัยน์ตาของหลวงปู่ขันแก้วก็มิได้กระพริบ ช่างภาพอีกหลายคนก็เข้าไปถ่ายแสงไฟสว่างจ้าแต่นัยต์ตาของหลวงปู่ก็อยู่อย่างปกติคือลืมตาอย่างนั้นไม่กระพริบเลย หลังจากนั้นช่างภาพหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นก็เข้าไปถ่ายซึ่งไฟแฟล็ชแรงกว่ามากก็เข้าไปถ่ายผลปรากฎ ตาของหลวงปู่ขันแก้วก็ไม่กระพริบเป็นเวลานาน คนธรรมดาไม่สามารถทำได้อย่างแน่ เปิดภูมิปัญญาโลกุตระด้วยมหากริยาจิต
    คุณพ่อเข้าใจทันที ที่นึกว่าเคยเห็นที่ไหนก็นึกออกว่าเคยเห็น หลวงปู่พรหม ถาวโร แห่งวัดช่องแค ท่านปลุกเสก พระแสงแฟล็ช ถ่ายรูปไม่ทำให้ นัยน์ตา ท่านกระพริบและท่านก็นั่งลืมตาปลุกเสกความจริงแล้วหลวงปู่ขันแก้วไม่ได้มีเจตนาจะแสดงอภินิหารหรืออวดเป็นเพียงการนั่งปลุกเสกของผู้สำเร็จอานาปานสติกรรมฐาน คือสมาธิแบบลืมตาและนั่งหายใจออก หายใจเข้าจนได้ดวงตาเห็นธรรมและใจหมดอาสวะกิเลสเป็นแบบสมาธิที่ถูกต้องของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีหลักฐานแสดงในอานาปาสติสูตรจากหนังสืองานพระศพของหลวงปู่ขันแก้วที่คุณพ่อสมสุข
    พระอริยะสงฆ์ผู้ที่จารึกว่า พระผู้อุดมด้วยวิชชา และวิมุตฺติ มีไว้บูชาติดตัว ติดบ้านร่มเย็นเป็นสุข กันภัยที่จะเกิดขึ้นทั้งปวงครับ


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  8. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6615

    พระผงพิมพ์ใบโพธิ์ ครูบาขันแก้ว วัดสันพระเจ้าแดง เนื้อสีดำ

    จัดสร้างโดยคุณหมอสมสุข คงอุไร ซึ่งคุณหมอท่านสร้างให้ครูบาขันแก้ว เพื่อให้บูชาทำบุญทอดกฐินที่วัดสันพระเจ้าแดงวิธีการจัดสร้างของคุณหมอสมสุข ท่านใช้สูตรเดิมจากการทำพระผงของหลวงพ่อพรหม วัดช่องแค คือ นำผงพระพุทธคุณแก้ว 3 ดวงหลวงพ่อพรหม ,ครูบาชุ่ม และครูบาขันแก้ว(จำนวนมาก) และน้ำพระพุทธมนต์ศักสิทธิ์ 5 วัด คือ วัดช่องแค วัดวังมุย วัดน้ำบ่อหลวง วัดพระพุทธบาทตากผ้า วัดสันพระเจ้าแดง +พลอยกิ๋นบ่เสี้ยงและเกศาของครูบาท่าน นับว่าพระผงรุ่นนี้มีมวลสารสุดยอดมากครับ ซึ่งการปลุกเสกของครูบาท่านเข้มขลังมากเป็นการปลุกเสกพระแบบมหาเจโตวิมุติอันประมาณค่าไม่ใด้ ซึ่งแม้แต่ครูบาขันแก้วท่านยังชมว่า " พระรุ่นนี้ แม้ไม่เสกก็ยังขลัง "

    สวยเดิม

    ราคา 1550 บาท สนใจสอบถามได้ครับ 086-1936900

    พระผงครูบาขันแก้ว e.jpg พระผงครูบาขันแก้ว f.jpg พระผงครูบาขันแก้ว g.jpg

    clip_13-jpg-jpg-jpg.jpg

    ครูบาขันแก้ว วัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง)ถือเป็นพระเกจิล้านนาอีกท่านหนึ่งที่เป็นทั้งนักพัฒนา นักเทศน์ และยังมีฝีมือทางด้านศิลปะ ขณะครูบาขันแก้ว พรรษาที่ ๘ อายุ ๓๐ ปีตรงกับพ.ศ. ๒๔๗๑ ครูบาศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนาจาริกธุดงค์มาบูรณะพระเจดีย์ และพระวิหารที่ “ดอยห้างบาตร” ครูบาศรีวิชัยได้เห็นฝีมือความสามารถทางช่างและอินทรีย์ที่ผ่องใสจากการปฏิบัติธรรม จึงได้มอบหมายให้ดูแลการบูรณะพระเจดีย์และพระวิหารแทน ก่อนที่ครูบาศรีวิชัยจะได้จาริกธุดงค์ต่อไป ได้ให้พรครูบาขันแก้ว อุตตโม ว่า
    “ให้ตุ๊น้องจงปฏิบัติธรรมจนไม่หวั่น ไหวในโลกธรรม ๘”
    พระครูอุดมขันติธรรม (ครูบาขันแก้วอุตตโม) อดีตเจ้าอาวาส วัดสันป่ายาง (สันพระเจ้าแดง) เกิดเมื่อวันอังคาร ที่ ๑๔ พ.ย.๒๔๔๒ ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำเดือน ๑๒ (เดือนยี่เหนือ) ปีกุนที่ ต.ห้วยยาบ อ.เมือง จ.ลำพูน มีนามเดิมว่า ขันแก้ว นามสกุล อิกำเหนิด บิดาชื่อ นายอินตา อิกำเหนิด มารดาชื่อ นางสม อิกำเหนิด ท่านครูบามีพี่น้องเกิดท้องเดียวกัน ๕ คน เป็นน้องหญิง ๓ คน น้องชาย ๑ คน คือ
    ๑. พระครูอุดมขันติธรรม(ครูบาขันแก้ว อุตตโม)
    ๒. ด.ญ.อุ่น อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังเยาว์)
    ๓. นางบัวเขียว อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรม)
    ๔. นายก๋อง อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรมแต่มีบุตรหลานสืบสกุลอยู่ในปัจจุบันนี้)
    ๕. นางทา อิกำเหนิด (ถึงแก่กรรม)
    โยมปู่ครูบาขันแก้ว ได้อพยพครอบครัวมาจาก ต.เวียงยอง อ.เมือง จ.ลำพูนมาอยู่ ต.ห้วยไซก่อน แล้วจึงได้อพยพย้ายครอบครัวลงมาอยู่ที่ ต.ห้วยยาบ ตั้งรกรากใกล้กับวัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง) ซึ่งเป็นวัดร้าง และได้เป็นหัวหน้าบูรณะ ซ่อมแซมก่อสร้างจนเป็นวัดขึ้นมาตราบจนทุกวันนี้
    พระครูอุดมขันติธรรม (ครูบาขันแก้ว อุตตโม) ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ ๑๓ ปี ณ วัดป่ายาง อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่ออายุ ๒๑ ปี ณ วัดต้นปิน ต.บ้านธิ อ.เมือง จ.ลำพูน โดยมีพระอธิการแก้ว (ครูบาอินทจักโก) วัดป่าลานเป็นพระอุปัชณาย์ ได้ฉายาว่า “อุตตโม” พรรษาที่ ๔ อายุได้ ๒๕ ปี ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ จ.ลำพูนให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส วัดป่ายาง เมื่อพ.ศ.๒๔๖๘
    พรรษาที่ ๖ อายุได้ ๒๗ ปี ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลห้วยยาบและเป็นผู้รักษาการเจ้าคณะตำบลบ้านธิอีกตำแหน่ง ปกครองดูแลวัดทั้ง ๒ ตำบลถึง ๖๘ วัด พรรษาที่ ๓๒ อายุได้ ๕๓ ปี ได้รับสมณศักดิ์พระครูชั้นประทวนและในพรรษานี้ได้ไปบำเพ็ญมหากุศล มหาวิบากญาณรัมปยุต ๑๓ และมหากิริยาจิตเข้า “อภิสัญญาณโรธ”กับครูบาชุ่มโพธิโก ณ “ดอยห้างบาตร” เมื่อบำเพ็ญทุกข์กิริยาเพื่อให้เกิด “วิปัสสนาญาณ” ได้ “ธรรมจักษุ” (ดวงตาเห็นธรรม) ๗ วัน ๗ คืน ใน ๔ อิริยาบถ พรรษาที่ ๔๙ อายุได้ ๗๐ ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ “พระครูอุดมขันติธรรม”
    ในปีพ.ศ.๒๕๒๑ และปีพ.ศ.๒๕๒๓ ครูบาขันแก้วได้เมตตาต่อคณะศิษย์วัดมีพรหมโพธิโก แสดงมหากิริยาจิต กำหนด “สุขวิปัสสก” ด้วยโสมนัสสหคตังญาณ สมปยุตตัง อสังขาริกัง ให้เกิด ”ปัญญาวิมุตติ” ได้”ธรรมจักษ์” ประหารกิเลสด้วย “สมุทจเฉทประหาร” และกำหนดมหากิริยาจิตแสดง “นิพพานัสส รจังฉิกิริยา” (การทำให้แจ้งในพระนิพพาน) ด้วยอารมณ์การได้ “มงกฎพระเจ้า” ดวงตาของครูบาขันแก้ว อุตตโม ได้เปลี่ยนสีจากสีเนื้อลูกลำไย เป็น “สีฟ้าเข้มทั้งดวงตา” แสดงถึงกิริยาของผู้หมดกิเลสเป็นการเปิดภูมิปัญญาในโลกุตรภูมิ เบื้องต้นและโลกุตระภูมิสูงสุด พระเมตตาคุณที่ได้แสดงมหากิริยาจิตในการโปรดสัตว์ทั้งสองครั้งนี้ ยากที่จะลืมเลือนได้
    หลวงปู่ขันแก้ว เป็นเพื่อนรักของหลวงปู่ครูบาชุ่ม โพธิโก วัดวังมุย และก็ได้มาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ในการบำเพ็ญกุศลช่วยงานศพอยู่ทุกคืนน่าจะนิมนต์มาท่านมาร่วมด้วย จะเคยปลุกเสกหรือไม่เคยปลุกเสกไม่สำคัญ คณะกรรมการวัดก็เลยนิมนต์ หลวงปู่ครูบาขันแก้ว มาร่วมพิธีด้วยแสดงความมหัศจรรย์นั่งเคี้ยวเมี่ยงในงานพุทธาภิเษก
    พิธีปลุกเสกได้เริ่มในตอนกลางคืนวันที่ 18 ก.พ. 2520 เวลา19.50น หลวงปู่ขันแก้ว ได้นั่งอยู่ในตำแหน่งที่หันหน้าเข้าหาพระประธาน หลวงปู่อีก3 องค์คือ หลวงปู่อินทรจักร วัดน้ำบ่อหลวง ท่านเจ้าคุณญาณ วัดมหาวัน หลวงปู่ท่านเจ้าคุณพระธรรมโมลี วัดพระธาตุหริภุญไชย นั่งหลับตาแผ่อำนาจจิตปลุกเสก แต่หลวงปู่ขันแก้วกับนั่งลืมตาเคี้ยวเมี่ยงอยู่เบิกตากว้างมองดูเฉยๆๆ ชาวบ้านวัดวังมุ่ยเริ่มมีปฎิกริยาพึมพำพูดกันว่าใครหนอนิมนต์ตุ๊เจ้าที่ปลุกเสกไม่เป็นมาร่วมพีธี ทำเอาเจ้าคณะตำบลประตูป่าเข้ามาพูดกับคุณพ่อสมสุขว่า โยมหมอใครไปนิมนต์ตุ๊ลุงองค์นี้มา พวกที่ชมและชาวบ้านในพีธีบ่นว่าไปเอาพระที่ไหนมา ดูซินั่งลืมตาเคี้ยวเมี่ยงไม่เห็นปลุกเสกอะไรเลย คุณพ่อบอกว่าผมนิมนต์มาเองขอให้รอดูประเดี๋ยว
    คุณพ่อยังนึกอยู่ว่านั่งเบิกตาอย่างนี้เคยเห็นที่ไหน หลวงปู่ขันแก้วนั่งลืมตาอยู่เกือบ15 นาที่ ประกายตากร้าวแข็ง ส่วนองค์อื่นท่านนั่งหลับตาตามความถนัดของท่าน ส่งกระแสจิตออกมาปลุกเสก หลวงปู่ขันแก้ว ปลุกเสกด้วย เมตตาเจโตวิมุติ หลวงปู่เริ่มเปลี่ยนอิริยาบถ โดยนั่งห้อยเท้า ตาของท่านเริ่มเป็นประกายกล้า ขณะนั้นช่างภาพก็ถ่ายรูปในอิริยาบถนั้น ทันที่ที่แสงไฟแฟลชสว่างจ้านัยน์ตาของหลวงปู่ขันแก้วก็มิได้กระพริบ ช่างภาพอีกหลายคนก็เข้าไปถ่ายแสงไฟสว่างจ้าแต่นัยต์ตาของหลวงปู่ก็อยู่อย่างปกติคือลืมตาอย่างนั้นไม่กระพริบเลย หลังจากนั้นช่างภาพหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นก็เข้าไปถ่ายซึ่งไฟแฟล็ชแรงกว่ามากก็เข้าไปถ่ายผลปรากฎ ตาของหลวงปู่ขันแก้วก็ไม่กระพริบเป็นเวลานาน คนธรรมดาไม่สามารถทำได้อย่างแน่ เปิดภูมิปัญญาโลกุตระด้วยมหากริยาจิต
    คุณพ่อเข้าใจทันที ที่นึกว่าเคยเห็นที่ไหนก็นึกออกว่าเคยเห็น หลวงปู่พรหม ถาวโร แห่งวัดช่องแค ท่านปลุกเสก พระแสงแฟล็ช ถ่ายรูปไม่ทำให้ นัยน์ตา ท่านกระพริบและท่านก็นั่งลืมตาปลุกเสกความจริงแล้วหลวงปู่ขันแก้วไม่ได้มีเจตนาจะแสดงอภินิหารหรืออวดเป็นเพียงการนั่งปลุกเสกของผู้สำเร็จอานาปานสติกรรมฐาน คือสมาธิแบบลืมตาและนั่งหายใจออก หายใจเข้าจนได้ดวงตาเห็นธรรมและใจหมดอาสวะกิเลสเป็นแบบสมาธิที่ถูกต้องของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีหลักฐานแสดงในอานาปาสติสูตรจากหนังสืองานพระศพของหลวงปู่ขันแก้วที่คุณพ่อสมสุข
    พระอริยะสงฆ์ผู้ที่จารึกว่า พระผู้อุดมด้วยวิชชา และวิมุตฺติ มีไว้บูชาติดตัว ติดบ้านร่มเย็นเป็นสุข กันภัยที่จะเกิดขึ้นทั้งปวงครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  9. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6616

    ขุนแผนรุ่นแรกหลวงพ่อเสน่ห์ วัดเชียงขาง พิมพ์ใหญ่ เนื้อขาว


    รุ่นแรก รุ่นรวยทรัพย์รับโชค สุดยอดมวลสารว่านมหาเสน่ห๋108ชนิด ผงมหาภูติมหาพราย ผงพรายกุมาร น้ำมันพรายปลุกเสกเมื่องานเข้าโสสากรรม พัฒนาป่าช้าวัดเชียงขาง ปลุกเสกในเตากองฟอนเผาศพที่ป่าช้า มีความขลังทางด้านเสน่ห์เมตตามหานิยม มีเสน่ห์สูงสุด

    พุทธคุณเด่นทางด้านเมตตามหานิยมเป็นที่สุด โชคลาภ ค้าขาย ครับ


    ราคา 1650 บาท สนใจสอบถามได้ครับ 086-1936900

    ขุนแผนลพ.เสน่ห์ เนื้อขาว a.jpg ขุนแผนลพ.เสน่ห์ เนื้อขาว b.jpg ขุนแผนลพ.เสน่ห์ เนื้อขาว c.jpg ขุนแผนลพ.เสน่ห์ เนื้อขาว d.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  10. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6617

    ขุนแผนรุ่นแรกหลวงพ่อเสน่ห์ วัดเชียงขาง พิมพ์เล็ก เนื้อเขียว


    รุ่นแรก รุ่นรวยทรัพย์รับโชค สุดยอดมวลสารว่านมหาเสน่ห๋108ชนิด ผงมหาภูติมหาพราย ผงพรายกุมาร น้ำมันพรายปลุกเสกเมื่องานเข้าโสสากรรม พัฒนาป่าช้าวัดเชียงขาง ปลุกเสกในเตากองฟอนเผาศพที่ป่าช้า มีความขลังทางด้านเสน่ห์เมตตามหานิยม มีเสน่ห์สูงสุด

    พุทธคุณเด่นทางด้านเมตตามหานิยมเป็นที่สุด โชคลาภ ค้าขาย ครับ


    ราคา 1550 บาท สนใจสอบถามได้ครับ 086-1936900


    ขุนแผนลพ.เสน่ห์ เนื้อเขียว a.jpg ขุนแผนลพ.เสน่ห์ เนื้อเขียว b.jpg ขุนแผนลพ.เสน่ห์ เนื้อเขียว c.jpg ขุนแผนลพ.เสน่ห์ เนื้อเขียว d.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  11. MATHS

    MATHS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2012
    โพสต์:
    777
    ค่าพลัง:
    +904
    ขอจองครับ
     
  12. j999

    j999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    4,971
    ค่าพลัง:
    +5,386
    ขอจองครับ
     
  13. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รับทราบการจอง ขอบพระคุณครับ
     
  14. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รับทราบการจอง ขอบพระคุณครับ
     
  15. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6618

    เหรียญหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ออกวัดเจดีย์หลวง ปี14 บล็อกวัด เนื้อฝาบาตร

    เหรียญ 100 ปี หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต วัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่ ปี2514
    พระวัตถุมงคลรุ่น 100ปีหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต วัดป่าสุทธาวาส เหรียญนี้เป็นการสร้างแจกเพื่อเป็นที่ระลึกในวันครบรอบ 100 ปี 2414-2514 นับอายุท่านตั้งแต่เกิด) ของท่านอาจารย์ใหญ่หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต แห่งกองทัพธรรมสายวิปัสสนากรรมฐาน สร้างโดยคณะศิษย์ทหารอากาศนำโดย น.อ.เกษม งามเอก
    ถวายแจกในงานครบรอบ ๑๐๐ ปี เมื่อปีพ.ศ.๒๕๑๔ ที่วัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง จ.สกลนคร
    งานนี้พระสายกรรมฐาน(พระป่า)ที่เป็นศิษยานุศิษย์ของท่านอาจารย์มั่น ที่เป็นพระเถระมีชื่อเสียงเป็นที่เคารพของผู้คนทั่วประเทศ ต่างมาในงานนี้เกือบแทบทุกองค์ อาทิ หลวงปู่ขาว อนาลโย ,หลวงปู่ตื้อ อลจธมโม ,หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ ,อาจารย์ฝั้น อาจาโร,หลวงปู่หลุย จนทสาโร ,หลวงปู่ชอบ ฐานสโม,หลวงปู่สิม พุทธาจาโร , อาจารย์วัน อุตตโม ,อาจารย์จวน กุลเชฏโฐ ,หลวงปู่แว่น,ฯลฯ เพราะเป็นงานใหญ่น้อมรำลึกบูรพาจารย์
    นื่องจากพิธีดีเจตนาดีรุ่นนี้จะมี 2 เนื้อชนิดโลหะ เนื้อฝาบาตร เนื้อทองแดงครับ


    ราคา 1550 บาท สนใจสอบถามได้ครับ 086-1936900

    Clip_5.jpg Clip_6.jpg Clip_7.jpg



     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  16. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6619

    กริ่งรูปเหมือน"หลวงพ่อคูณ..รุ่นสร้างอุโบสถ"ปี2533 เนื้อทองแดง พระดีพิธีดีเสาร์5 ณ วัดบ้านไร่


    พระหลักยอดนิยมของท่านที่ออกแบบองค์พระหน้าตาเหมือนท่านมากๆครับ สภาพสวยผิวงามๆมาพร้อมกล่องเดิมๆครับ

    รุ่นนี้มีประสบการณ์มากมายครับ ทั้งคงกระพัน เมตตามหานิยม


    บูชาแล้วครับ

    Clip.jpg Clip_2.jpg Clip_3.jpg Clip_4.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  17. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6620

    เข็มกลัด ภปร ที่ระลึกเสด็จ เททอง พระบุพพาภิมงคล ปี19


    พิธีพระกริ่งพุทธบุพพาภิมงคล ภปร. ปี2519

    จัดสร้างโดยพระครูมงคลศีลวงศ์ (ตำแหน่งในขณะนั้น ปัจจุบันท่านคือ เจ้าอาวาส วัดบุพพาราม จ.เชียงใหม่ และ ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่) ในปี 2519 ทางวัดมีความต้องการจัดหาทุนในการจัดสร้างหอมณเฑียรธรรม ของวัดบุพพารามโดยในวันทำพิธีมหาพุทธาภิเศก ทางวัดได้กราบบังคมทูลเชิญองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชดำเนินเททองหล่อ พระประธานประจำหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม โดยได้รับการประทานชื่อพระพุทธบุพพาภิมงคล โดย พระองค์ท่านได้พระราชทานพระนามของพระพุทธรูปว่า " พระพุทธบุพพาภิมงคล

    รายชื่อพระคณาจารย์ที่มาร่วมพิธีพระราชพิธีมหาพุทธาภิเษก ๔๙ องค์
    .
    ๑ . ) สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) วัดราชบพิธฯ(สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18)
    ๒ . ) สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ (สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19)
    ๓ . ) สมเด็จพระธีรญาณ วัดจักรวรรดิ์ฯ
    ๔ . ) พระวิสุทธิวงศาจารย์ วัดสุทัศน์ฯ
    ๕ . ) พระวิสุทธาธิบดี วัดไตรมิตร
    ๖ . ) พระธรรมวโรดม วัดประทุมคงคา
    ๗ . ) พระพุทธวงศ์มุนี วัดเบญจมบพิตร
    ๘ . ) พระธรรมโมลี วัดพระธาตุหริภุญชัย
    ๙ . ) พระเทพวิสุทธิโสภณ วัดเชียงราย
    ๑๐. ) พระเทพวิสุทธิ์ วัดเจดีหลวง
    ๑๒. )*ครูบาคำแสน อินฺทจกฺโก* วัดสวนดอก(บุปผาราม)
    ๑๓. )*ครูบาคำแสนเล็ก คุณาลงฺกาโล* วัดบ๊าดอนมูล
    ๑๓. ) ครูบาอินทจักร วัดน้ำบ่อหลวง
    ๑๔. ) ครูบาพรหมจักรสังวร วัดพระพุทธบาทตากผ้า
    ๑๕. ) หลวงพ่อสิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาบ่อง
    ๑๖. ) พรอาจารย์หนู วัดแม่ปั่ง
    ๑๗. ) ครูบาอินถา วัดเชียงมั่น
    ๑๘. ) ครูบาจันทร์แก้ว วัดดอกเอื้อง
    ๑๙. ) พระครูสิงหวิชัย วัดฟ้าฮ่าม
    ๒๐. ) ครูบาบุญมี(พระครูธรรมธร) วัดท่าส๋อย
    ๒๑. ) ครูบาคำบัน(พระครูมงคลคุณาทร) วัดหม้อคำดวง
    ๒๒. ) ครูบาปั๋น วัดกู่คำ
    ๒๓. ) ครูบาแก้ว วัดวิเวกวนาราม
    ๒๔. ) ครูบาธรรมชัย วัดทุ่งหลวง
    ๒๕. ) ครูบาจินา วัดท่าข้าม
    ๒๖. ) ครูบาคำตันดินจืน วัดดอนจืน
    ๒๗. ) พระอาจารย์ทองบัว วัดโรงธรรม
    ๒๘. ) ครูบาดวงดี สุภัทโท วัดทุ่งจำปี
    ๒๙. ) พระประสาท สุตาคม วัดจามเทวี
    ๓๐. ) พระราชสุมนต์มุนี วัดราชบพิธ
    ๓๑. ) ครูบาจุ่ม โพธิโต วัดวังมุย
    ๓๒. ) พระญาณวีราคม วัดดอนเจดีย์
    ๓๓. ) ครูบาเมือง วัดท่าแหน
    ๓๔. ) ครูบาคำแสน วัดท่าแหน
    ๓๕. ) พระอินทวิชยาจารย์ วัดคะตึก
    ๓๖. ) ครูบาอินโต วัดบุญยืน
    ๓๗. )*หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี*
    ๓๘ . ) ครูบาหล้า วัดดอยคู่ค้าง
    ๓๙. ) พระราชรัตนมุนี วัดพระบาทมิ่งเมือง
    ๔๐. ) พระชยานันทมุนี วัดพญาภู
    ๔๑. ) พระญาณมงคล วัดมหาวัน
    ๔๒. ) หลวงพ่อแพ วัดพิกุทอง
    ๔๓. ) หลวงพ่อนอ วัดกลาง
    ๔๔. ) หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวัน
    ๔๕. ) หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี
    ๔๖. ) หลวงพ่อถีร วัดป่าเรไลย์
    ๔๗. )*พระอาจารย์ มหาวีระ *(หลวงพ่อฤษีลิงดำ) วัดท่าซุง
    ๔๘. )*พระอาจารย์ผั้นอาจาโร* วัดป่าอุดมพร
    ๔๙. ) พระอาจารย์สำราญ วัดเขาตะเครา


    ราคา 750 บาท สนใจเชิญได้เลยครับ 086-1936900

    Clip_12.jpg Clip_13.jpg Clip_14.jpg Clip_18.jpg Clip_19.jpg

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  18. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6621

    เหรียญหลวงปู่ครูบาคำแสน วัดสวนดอก ที่ระลึกเสด็จ เททอง พระบุพพาภิมงคล ปี19 สวยกล่องเดิ

    เหรียญ ครูบาคำแสน อินทจักโก (ทิม) พระครูบาแห่งล้านนาไทย อายุ ๘๙ ปี วัดสวนดอก จ.เชียงใหม่ ปี ๒๕๑๙ เนื้อทองแดง รุ่นพิเศษ ตอกโค๊ตด้านหน้า สร้างเป็นที่ระลึกโดยในหลวงเสด็จพระราชดำเนินเททอง และมหาพุทธาภิเษก ณ วัดบุพพาราม จ.เชียงใหม่ ท่านเป็นศิษย์ครูบาศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนา พระดี และมีประสบการณ์ในพื้นที่ (ชาวบ้านมักเรียกท่านว่าครูบาคำแสนใหญ่ เพื่อไม่ให้สับสนกับครูบาคำแสน คุณาลังกาโร วัดป่าดอนมูล) เหรียญ พระครูสุคันธศีล (ครูบาคำแสน อินทจักโก) วัดสวนดอก จ.เชียงใหม่ ด้านหน้าของเหรียญ ระบุ ชื่อท่าน ครูบาคำแสนฯ อายุ 89 ปี เหรียญนี้ ได้สมญานามว่าเหรียญ "อรหันต์ยิ้ม" ใบหน้าท่านเมตตาดีแท้ สร้างขึ้นเพื่อฉลองโดยเสด็จเททองของในหลวงในวันที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๙ โดยในปีนี้หลังงานไม่นานท่านก็มรณภาพ ประสบการณ์เหรียญ เหรียญรุ่นนี้ เคยมีผู้นำไปเลี่ยมกรอบพลาสติกกันน้ำอย่างดี แต่เนื่องเพราะเขามีพฤติกรรม "ไม่ค่อยดี" มีอยู่วัน เหรียญที่ห้อยคอก็หายไปโดยเหลือแต่กรอบเปล่า ที่ปิดสนิทอย่างดีไม่มีร่องรอยที่จะตกหล่นหายได้อย่างไรเป็นที่ฮือฮาในสมัยนั้น พระของครูบาคำแสนนี้ ส่วนมากมักมีประสบการณ์เด่นด้านเมตตา แคล้วคลาดและที่สำคัญ คือ "กันผี" เพราะในสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่นั้น หากบ้านใดนิมนต์ท่านไปไล่ผีที่สิงลูกหลาน แค่ท่านก้าวเท้าเหยียบบันได้บ้าน ผีก็มีอันหนีไปแล้วเป็นที่เรียบร้อย พระครูสุคันธศีล (ครูบาคำแสน อินทจักโก) (หลวงปู่คำแสน-ใหญ่) วัดสวนดอก จ.เชียงใหม่ หลวงปู่คำแสน กำเนิดวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2431 ตรงกับเดือน 3 เหนือ แรม 9 ค่ำ เวลา 06.00 น. ปีชวด ณ บ้านป่าพร้าวใน ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ บิดาชื่อท้าวภูมินทร์พิทักษ์ มารดาชื่อคำป้อ รังสี มีนามเดิมว่า ทิม เมื่อครั้งเยาว์วัย หลวงปู่เป็นเด็กว่านอนสอนง่าย อารมณ์แจ่มใส รู้จักคุณบิดามารดา ช่วยบิดามารดาทำนา ชีวิตสมณะ การแสวงหาธรรม และปฏิปทา เมื่ออายุ 10 ขวบได้เข้าวัด พออายุ 12 ปี จึงได้ขอบวชเป็นสามเณร ได้ตั้งใจเล่าเรียนค้นคว้าพระธรรมวินัย และวิปัสสนากรรมฐานกับครูบาอริยะ วัดดับภัย จนถึงอายุครบบวช 20 ปีบริบูรณ์ ได้รับฉายาว่า "อินฺทจกฺโก" แปลว่าผู้มีพลังดุจจักรพระอินทร์ ท่านเป็นพระที่ยึดมั่นอยู่ในสัมมาปฏิบัติ เมื่อบวชได้ 1 พรรษา ได้มีผู้นิมนต์ไปรักษาการเจ้าอาวาสวัดอื่นๆ เกือบ 10 ปี หลวงปู่ได้ออกจาริกอบรมเผยแพร่ไปในท้องที่ต่าง ๆ เช่น อำเภอสะเมิง และตามป่าดอยของภาคเหนือ ต่อมาภายหลังท่านหลวงปู่คำแสน หรืออีกนามหนึ่งคือ "พระครูสุคันธศีล" ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดสวนดอก ซึ่งเป็นวัดหลวงของจังหวัด เชียงใหม่ ท่านได้ทำนุบำรุง และอนุรักษ์วัดสวนดอกเป็นเวลา 30 ปี ท่านเป็นปูชนียบุคคลที่ควรยกย่อง ท่านได้อุทิศชีวิตบำรุงพระพุทธศาสนา มั่นคงดำรงตนในพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด ประพฤติธรรมสมถะ มีดวงจิตเหนืออิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ จนได้รับสมญานามว่า "รอยยิ้มแห่งพระอรหันต์" หลวงปู่ครูบาคำแสนได้มรณภาพด้วยความสงบ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2519 เวลา 24.00 น. รวมอายุได้ 88 ปี 3 เดือน

    พิธีพระกริ่งพุทธบุพพาภิมงคล ภปร. ปี2519

    จัดสร้างโดยพระครูมงคลศีลวงศ์ (ตำแหน่งในขณะนั้น ปัจจุบันท่านคือ เจ้าอาวาส วัดบุพพาราม จ.เชียงใหม่ และ ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่) ในปี 2519 ทางวัดมีความต้องการจัดหาทุนในการจัดสร้างหอมณเฑียรธรรม ของวัดบุพพารามโดยในวันทำพิธีมหาพุทธาภิเศก ทางวัดได้กราบบังคมทูลเชิญองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชดำเนินเททองหล่อ พระประธานประจำหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม โดยได้รับการประทานชื่อพระพุทธบุพพาภิมงคล โดย พระองค์ท่านได้พระราชทานพระนามของพระพุทธรูปว่า " พระพุทธบุพพาภิมงคล

    รายชื่อพระคณาจารย์ที่มาร่วมพิธีพระราชพิธีมหาพุทธาภิเษก ๔๙ องค์
    .
    ๑ . ) สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) วัดราชบพิธฯ(สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18)
    ๒ . ) สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ (สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19)
    ๓ . ) สมเด็จพระธีรญาณ วัดจักรวรรดิ์ฯ
    ๔ . ) พระวิสุทธิวงศาจารย์ วัดสุทัศน์ฯ
    ๕ . ) พระวิสุทธาธิบดี วัดไตรมิตร
    ๖ . ) พระธรรมวโรดม วัดประทุมคงคา
    ๗ . ) พระพุทธวงศ์มุนี วัดเบญจมบพิตร
    ๘ . ) พระธรรมโมลี วัดพระธาตุหริภุญชัย
    ๙ . ) พระเทพวิสุทธิโสภณ วัดเชียงราย
    ๑๐. ) พระเทพวิสุทธิ์ วัดเจดีหลวง
    ๑๒. )*ครูบาคำแสน อินฺทจกฺโก* วัดสวนดอก(บุปผาราม)
    ๑๓. )*ครูบาคำแสนเล็ก คุณาลงฺกาโล* วัดบ๊าดอนมูล
    ๑๓. ) ครูบาอินทจักร วัดน้ำบ่อหลวง
    ๑๔. ) ครูบาพรหมจักรสังวร วัดพระพุทธบาทตากผ้า
    ๑๕. ) หลวงพ่อสิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาบ่อง
    ๑๖. ) พรอาจารย์หนู วัดแม่ปั่ง
    ๑๗. ) ครูบาอินถา วัดเชียงมั่น
    ๑๘. ) ครูบาจันทร์แก้ว วัดดอกเอื้อง
    ๑๙. ) พระครูสิงหวิชัย วัดฟ้าฮ่าม
    ๒๐. ) ครูบาบุญมี(พระครูธรรมธร) วัดท่าส๋อย
    ๒๑. ) ครูบาคำบัน(พระครูมงคลคุณาทร) วัดหม้อคำดวง
    ๒๒. ) ครูบาปั๋น วัดกู่คำ
    ๒๓. ) ครูบาแก้ว วัดวิเวกวนาราม
    ๒๔. ) ครูบาธรรมชัย วัดทุ่งหลวง
    ๒๕. ) ครูบาจินา วัดท่าข้าม
    ๒๖. ) ครูบาคำตันดินจืน วัดดอนจืน
    ๒๗. ) พระอาจารย์ทองบัว วัดโรงธรรม
    ๒๘. ) ครูบาดวงดี สุภัทโท วัดทุ่งจำปี
    ๒๙. ) พระประสาท สุตาคม วัดจามเทวี
    ๓๐. ) พระราชสุมนต์มุนี วัดราชบพิธ
    ๓๑. ) ครูบาจุ่ม โพธิโต วัดวังมุย
    ๓๒. ) พระญาณวีราคม วัดดอนเจดีย์
    ๓๓. ) ครูบาเมือง วัดท่าแหน
    ๓๔. ) ครูบาคำแสน วัดท่าแหน
    ๓๕. ) พระอินทวิชยาจารย์ วัดคะตึก
    ๓๖. ) ครูบาอินโต วัดบุญยืน
    ๓๗. )*หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี*
    ๓๘ . ) ครูบาหล้า วัดดอยคู่ค้าง
    ๓๙. ) พระราชรัตนมุนี วัดพระบาทมิ่งเมือง
    ๔๐. ) พระชยานันทมุนี วัดพญาภู
    ๔๑. ) พระญาณมงคล วัดมหาวัน
    ๔๒. ) หลวงพ่อแพ วัดพิกุทอง
    ๔๓. ) หลวงพ่อนอ วัดกลาง
    ๔๔. ) หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวัน
    ๔๕. ) หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี
    ๔๖. ) หลวงพ่อถีร วัดป่าเรไลย์
    ๔๗. )*พระอาจารย์ มหาวีระ *(หลวงพ่อฤษีลิงดำ) วัดท่าซุง
    ๔๘. )*พระอาจารย์ผั้นอาจาโร* วัดป่าอุดมพร
    ๔๙. ) พระอาจารย์สำราญ วัดเขาตะเครา

    สวยกล่องเดิมพระดีน่าชใช่มากครับ


    ราคา 550 บาท สนใจสอบถามได้ครับ 086-1936900

    Clip_17.jpg Clip_15.jpg Clip_16.jpg Clip_18.jpg Clip_19.jpg Clip_20.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  19. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6622

    รูปหล่อลอยองค์ เจ้าแม่ทับทิมลำปาง ปี2534 หลวงพ่อเกษมปลุกเสก

    พิมพ์ใหญ่ สร้างน้อยมากครับไม่ค่อยเจอครับกล่องเดิมครับ

    ราคา 1200 บาท พร้อมจัดส่ง EMS ครับ

    Clip_8.jpg Clip_9.jpg Clip_10.jpg Clip_11.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020
  20. ศิวิไล

    ศิวิไล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16,175
    ค่าพลัง:
    +1,341
    รายการที่ 6623

    พระรอด โรงพยาบาลสงฆ์ ปี2500 เนื้อดำ


    ในปี 2500 คณะกรรมการแพทย์ โรงพยาบาลสงฆ์ ได้มีมติให้ดำเนินการสร้างพระเครื่อง โดยเงินที่ได้จากการดำเนินการดังกล่าว ทางคณะแพทย์จะใช้เพื่อการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ การประกอบพิธีถูกต้องตามตำราทั้งทางพุทธเวทย์ และ ไสยเวทย์ พระที่สร้างมีสองประเภท คือ เนื้อโลหะ และ เนื้อดินเผาผสมผงศักดิ์สิทธิ์ โดยเนื้อดินเผามีสามพิมพ์ ได้แก่ พิมพ์พระรอด พิมพ์นางพญา และ พิมพ์ชินราช มวลสาร - ดินจากสังเวชณียสถาน ผงว่านและ เกษรต่างๆ ผงอิทธิเจ ปถมัง มหาราช ตรีนิสิงเห ที่ได้จากพระอาจารย์มีชื่อในสมัยนั้นกว่า 700 รูป โดยให้นายแพทย์ผู้อำนวยการโรงพยาบาลประจำจังหวัดในสมัยนั้นเป็นผู้ประสานงาน ผสมผงพระกรุเก่า อาทิเช่น พระสมเด็จวัดระฆัง สมเด็จวัดสระเกศ ผงพระกรุลำพูน ฯลฯ ทำพิธีพุทธาภิเศกสองครั้ง ครั้งที่หนึ่ง สามวันสามคืน ระหว่างวันที 7 – 9 มีนาคม 2500 ครั้งที่สอง สามวันสามคืน ระหว่างวันที่ 1 – 2 พฤษภาคม 2500 รายนามคณาจารย์ สมเด็จพระวันรัต เป็นองค์ประธาน พร้อมพระสงฆ์ 108 รูป อาทิ สมเด็จพุทธโฆษาจารย์ (อยู่) ลป นาค วัดระฆัง ลพ เมี้ยน วัดพระเชตุพน ลพ เหรียญ วัดหนองบัว ลพ เงิน วัดดอนยายหอม ลป โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ลพ ถิร วัดป่าเลไลย์ ลพ หลาย วัดราษฎร์บำรุง ลพ ฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิต พระครูกัลยาวิสุทธิ วัดดอน ลพ บุญธรรม วัดพระปฐมเจดีย์ ลพ จง วัดหน้าต่างนอก ลพ เต๋ คงทอง วัดสามง่าม ลพ แฉ่ง วัดบางพัง องค์นี้ เป็นพระรอด ครับ สภาพมีราน ตรงไหล่ ครับ พระเก่าๆปี 2500 ครับ นับมาจนถึงวันนี้ เกือบ 60 ปีแล้วครับ อีกหน่อยคงเป็นพระในตำนานครับ พระดี พิธีดี เจตนาการสร้างดี เกจิอาจารย์ ยุคเก่าทีมีชื่อเสียง ปลุกเสกไว้ครับ


    บูชาแล้วครับ

    พระรอดพญา รพ.สงฆ์ a.jpg พระรอดพญา รพ.สงฆ์ b.jpg พระรอดพญา รพ.สงฆ์ c.jpg พระรอดพญา รพ.สงฆ์ d.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2020

แชร์หน้านี้

Loading...