ธรณีสูบยักษ์สูบ มหันตภัยล้างโลก–พยากรณ์โลก-กับหลักฐานสำคัญ-พระจักรพรรดิ 30 กย 53

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ออร์กะ, 2 มิถุนายน 2010.

  1. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    ขออนุโมทนา และขอบคุณน้อง Riyko มากครับ คำถามที่ถามมา เป็นประเด็นสำคัญมากครับ การเกิดสันติสุขที่แท้จริง เป็นไปไม่ได้ถ้าไม่มีคำถาม ไม่มีข้อแนะนำ ไม่มีการช่วยเหลือกันครับ

    1. จึงอยากรบกวน ถามพี่ออร์กะว่า เราจะมีวิธีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงนี้ได้อย่างไรคะ?

    2.
    และเราสามารถช่วยสนับสนุนให้เกิดการพิสูจน์ขึ้นได้อย่างไรบ้างคะ ?

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> เบื้องต้น

    ท่านคงเห็นแล้วว่า เรื่องราวของท้าวสักกะ ผู้มาจุติบนโลกมนุษย์มีมาก ที่ท่านเห็นในบทความนี้ เป็นเพียงข้อมูลส่วนหนึ่งเท่านั้นครับ ยังมีอีกมากที่ไม่ได้นำมาลง ข้อมูลต่อไปนี้ ออร์กะรวบรวมมาจาก metteya.org ซึ่งขอขอบพระคุณ และให้เกียรติไว้ ณ ที่นี้ครับ<o></o>
    <o></o>
    เมื่อพระจักรพรรดิเกิดขึ้น

    สิ่งความสำคัญที่สุดในเวลานี้ ที่จะนำประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และประชาชนไทยและชาวโลก เข้าสู่สันติสุขที่แท้จริงโดยสันติวิธี ไม่ต้องเสียเลือดเนื้อ ไม่ต้องใช้กำลัง ไม่ต้องใช้อาวุธ ไม่ต้องใช้การเมือง ไม่ต้องมีสงครามใดๆ ต่อไปโลกจะมีเงินทองเหลือเฟือ ผู้คนจะมีกินมีใช้ไม่อดยาก ทุกๆ คนมีที่อยู่อาศัย โจรผู้ร้ายไม่มี ศีลธรรมจริยธรรมจักเกิดขึ้นกับบุคคลทั่วไป ใครอยากเรียนอยากศึกษาอะไรก็ทำได้ โรคภัยก็ไม่ค่อยมี ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล พืชผลงอกงาม สัตว์ได้รับความเมตตา กรุณาจากมนุษย์ สิ่งดีมีมากจนโลกกลายเป็นเมืองสวรรค์ของทุกๆ คนตลอดไป<o></o>
    <o></o>
    1. จากคำถามของน้อง Riyko "จึงอยากรบกวน ถามพี่ออร์กะว่า เราจะมีวิธีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงนี้ได้อย่างไรคะ?"

    วิธีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเป็นสิ่งดีงามที่กล่าวมาจักเกิดขึ้นได้โดย

    ผู้คนทั้งหลาย จำเป็นต้องหาความจริงของพระจักรพรรดิ ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ โดยจัดตั้งคณะกรรมการนานาชาติขึ้น มีทั้งนักวิทยาศาสตร์ นักศาสนาศาสตร์และปรัชญา เป็นคณะทำงานที่จะหาข้อเท็จจริงว่าพระจักรพรรดิคือใคร
    <o></o>
    <o>คณะกรรมการนานาชาติ</o>
    <o></o>
    คณะกรรมการฯ เปิดโอกาสให้ทุกท่านที่ต้องการพิสูจน์ตนเองว่าเป็นพระจักรพรรดิ มาสมัครได้ครับ แต่จำเป็นต้องนำหลักฐานต่างๆ มาประกอบ ให้คณะกรรมการฯ พิจารณา และปิดประกาศให้คนทั้งหลายเข้าใจว่า ผ่านเข้าพิสูจน์ตนได้หรือไม่ประการใด แต่ออร์กะขอแนะนำว่า ถ้าคิดว่าตนเองไม่ใช่พระจักรพรรดิ โปรดอย่ามาสมัครครับ เพราะการลงโทษผู้ปลอมแปลงเป็นท้าวสักกะ นั้น ไม่ใช่ของที่ควรทดลองครับ<o></o>
    <o></o>
    <o>พระจักรพรรดิมีมากหน้าหลายตา</o>
    <o></o>
    สำหรับข้อมูลที่ออร์กะ และเพื่อนๆ พยายามศึกษารวบรวม เห็นได้ชัดว่า มีผู้แสดงตนเป็นพระศรีอารย์ หรือมีชื่อในทำนองพระจักพรรดิ มีมากหน้าหลายตาอยู่ในหลายประเทศครับ
    <o></o>
    ท่านใดที่มีหลักฐานหน้าเชื่อถือได้

    ออร์กะและเพื่อนๆ เห็นหลักฐานตามตำนานจริงๆ คือบุคคลที่อยู่ที่บ้านตามพยากรณ์อายุกว่า 2700 ปี ครับ ท่านเป็นคนไทยในพระพุทธศาสนา แต่ย้ายไปอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เรื่องราวของท่านผู้นี้ดูได้จากที่ ออร์กะนำมาสรุปลงไว้ในกระทู้บ้างแล้วครับ
    <o></o>
    ท่านผู้นี้ไม่มี อิทธิปาฏิหาริย์ แต่จากหลักฐานทั้งที่พระพุทธเจ้าทรงตรัส หลักฐานของศาสนาอิสลามและลัทธิขงจื้อ และคำทำนายที่สำคัญๆ บ่งไว้ชัดเจนว่าความรู้ของพระจักรพรรดิ เกิดจากตัวของพระจักรพรรดิเอง และการพิสูจน์ความจริง จะนำไปสู่สันติสุขไม่เฉพาะประเทศไทยแต่ทั่วโลกต่อไป ข้อมูลเรื่องนี้มีมาก แต่ขอสรุปมาเพียงแค่ที่้เห็นไปก่อน ซึ่งน่าจะเพียงพอในการพิจารณาขั้นต้นแล้ว และรายละเอียดจะต้องพิจารณากันต่อไป

    <o>การดำเนินการพิสูจน์พระจักรพรรดิพระองค์จริง
    </o>

    สิ่งที่รัฐบาล หรือหน่วยงานใดๆ หรือกลุ่มชนใด ควรต้องพิจารณาจัดทำด่วนที่สุด คือ

    1.1 หาข้อมูลเพิ่มเติมถ้ายังมีความสงสัยด้วยประการใดๆ

    2.2 สรรหาคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ถ้าต้องการข้อมูลใดๆ ทาง meteya.org ยินดีช่วยให้รายชื่อคณาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ จากมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง ถ้าต้องการ<o></o>

    1.3 ตั้งคณะกรรมการดำเนินการพิสูจน์และประสานงานในเรื่องนี้

    1.4 จัดสรรงบประมาณในการดำเนินการ การพิสูจน์หาข้อเท็จจริงทางทีวี<o></o>

    1.5 กำหนดวันเวลาในการดำเนินการการพิสูจน์ข้อเท็จจริงทางทีวีใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง เพื่อความเข้าใจไปทั่วโลก และแปลเป็นภาษาของชนชาตินั้นๆ (เพราะเรื่องนี้เป็นที่สนใจของชาวโลกในขณะนี้ เนื่องจากตามคำทำนายที่มีอยู่ในศาสนานั้นๆ และการผิดปกติของโลกที่เป็นอยู่ในขณะนี้) การพิสูจน์ทางทีวี เพื่อตัดปัญหาการหลอกลวง มีประชาชนเป็นสักขีพยาน

    1.6 เมื่อมีการหาข้อเท็จจริงโดยคณะกรรมการนานาชาติ ในเรื่องพระจักรพรรดิขึ้น ประชาชนจะหยุดในสิ่งไม่ดีงาม เพราะเห็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงตรัส คำทำนายของทุกศาสนาและคำทำนายของผู้มีญาณทิพย์เกิดเป็นจริงขึ้น จากนั้นทุกสิ่งทุกอย่างจะดำเนินไปในทางสันติวิธีเอง

    ที่กล่าวมาเป็นเพียงข้อเสนอในหลักการครับ คงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขตามความเหมาะสม แต่จุดประสงค์หลักคือ การหาพระจักรพรรดิพระองค์จริง

    2. จากคำถามของน้อง Riyko "และเราสามารถช่วยสนับสนุนให้เกิดการพิสูจน์ขึ้นได้อย่างไรบ้างคะ ? "

    สิ่งที่ทุกท่านสามารถช่วยกันได้ เช่น

    2.1 โปรดช่วยกันศีกษา ทำความเข้าใจ แล้วบอกต่อๆ กันไป จะใช้ วาจา email เป็นต้น หรือวิธีอื่นใด โดยเน้นว่าเรื่องนี้ไม่ได้ให้เชื่อ ไม่ใม่ใช่เรื่องงมงาย หลอกลวง ไร้สาระ แต่เป็นเรื่องมีเหตุมีผล มีหลักฐานความเป็นจริง มีที่มาที่ไป เป็นไปตามกาลามสูตรของพระพุทธเจ้า เพื่อประโยชน์สุขของทุกๆ คน ขอให้ท่านผู้สนใจ ผู้สงสัยเข้ามาดูข้อมูลเอาเองที่พลังจิต หรือโดยใช้ google.co.th แล้วใช้คำว่า "มหันตภัย พยากรณ์โลก หลักฐาน" อยู่ที่อันดับหนึ่ง คลิกเข้ามาดูได้ครับ

    2.2 โปรดช่วยกันใช้ ตอบกระทู้ ด้วยคำถามที่สงสัย หรือให้คำแนะนำ เป็นต้นครับ

    2.3 ถ้าพบว่าข้อมูลส่วนไหนในกระทู้ขาดความชัดเจน โปรดแจ้งให้ จขกท ทราบเพื่อพิจารณาหาทางแก้ไขครับ

    2.4 ถ้าท่านใดมีข้อแนะนำ โปรดอย่าเกรงใจ นำมาเล่าสู่กันฟังครับ บางทีที่ท่านคิดว่าไม่น่าจะจำเป็น อาจเป็นสิ่งดีมีค่ามากๆ ก็ได้ครับ

    2.5 ถ้าท่านมีข้อมูลใดที่เป็นประโยชน์ โปรดนำมาลง ช่วยกันคนละไม้ละมือ เพื่อสันติสุขที่แท้จริงของมนุษยชาติครับ

    2.6 ถ้าท่านมีข้อแนะนำว่า วิธีการใดจะทำให้เกิดการพิสูจน์ข้อเท็จจริงของพระจักรพรรดิขึ้นได้ โปรดบอกครับ นิดหน่อยก็ยังดี บางทีจุดประกายความคิดใหม่ๆ ขึ้นมาครับ

    โปรดอย่าลืมครับ เวลาเราเหลือน้อยเต็มที มหันตภัยโลกไม่ใช่เรื่องที่จะโกหกครับ

    โปรดเข้าใจว่า ท่านจะหนีการพิพากษาของสวรรค์อย่างไร ก็ไม่พ้นครับ ท่านยังมีเวลาทำดีครับ
    คนดีมีคุณธรรมเท่านั้นที่จะรอดพ้นการถูกลงโทษในวันพิพากษาโลกได้

    ถ้าท่านใดได้ศึกษา ท่านจะเข้าใจดีเหมือนออร์กะ คือไม่ประมาทในกุศลธรรมครับ

    สรุป กุศลปัญญาจักสร้างบุญแก่ตน การร่วมมือร่วมใจเพื่อผลักดันให้เกิดการพิสูจน์ข้อเท็จจริงในเรื่องพระจักรพรรดิพระองค์จริง จักเกิดขึ้นได้ครับ ทั้งนี้ทั้งนั้นเืพื่อประโยชน์สุขไม่เฉพาะในปัจจุบัน แต่ทุกสัตว์โลกทั้งหลาย ทั้งในชาตินี้และชาติต่อๆ ไปครับ

    ขอขอบคุณ ขอบพระคุณยิ่งมา ณ ที่นี้

    ออร์กะ จขกท


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 สิงหาคม 2010
  2. itou

    itou เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +1,196
    เรื่องแผ่นดินไหวกับดาวเรียงตัวผมศึกษาอยู่ มีความรู้นิดๆหน่อยๆ
    ศึกษาแรกๆนี่ งง มาก .... ตอนหลังอ่านเจอพุทธพจน์ 5555
    ข้อมูลในหัวก็ผสานเชื่อมโยง เข้าใจหมด ... พระพุทธเจ้า สุดยอด
    ผิดพลาดตรงไหนก็ขออภัยด้วย ใครสนใจลองศึกษาดูได้
    กระทู้ว่าด้วยภัยพิบัติ แผ่นดินไหว และความสัมพันธ์กับโลก | Truth4Thai.org
    แต่ก็ยังเป็นแค่สมมุติฐานนะ กำลังเตรียมพิสูจน์อยู่
    ไม่เชื่อผมก็ได้ แต่ขอให้เชื่อพระพุทธเจ้าเป็นพอ....
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 สิงหาคม 2010
  3. itou

    itou เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +1,196
    ผมขอแย้งในข้อ 2. พระท่านบอกว่าเทวดาไม่มีแบ่งภาคมาเกิด
    นั้นมันความเชื่อของ พราหมณ์-ฮินดู ถ้าจะมาเกิดก็ต้องมาเกิดเลย
    แต่แบ่งภาคขณะเป็นเทวดาทำได้

    แต่พระอินทร์ พระนารายณ์ พระ..อื่นๆอีกมากมาย เป็นเพียงชื่อตำแหน่ง
    เพราะยังไม่ถึงนิพพานเพียงใด ก็ยังต้องลงมาเกิดอยู่ดี ที่มาคือ มนุษย์บนกับพระนารายณ์
    ที่นี้บนสวรรค์ไม่มีเทวดาชื่อ พระนารายณ์ จึงต้องหาเทพสักองค์รับบนไป ประมาณนี้

    ในความคิดผมการที่เป็นเทวดาได้อย่างน้อยต้องมีเมตตา ยิ่งชั้นสูงขึ้นก็ยิ่งมีเมตตาสูงขึ้น
    คือไม่ใช่หน้าที่ของเทพในการลงโทษมนุษย์ ท่านมีแต่ความปรารถนาช่วยคนขึ้นสวรรค์
    อย่างพระเทวทัต พระพุทธเจ้าก็ยังทรงรักเหมือนลูกหลาน มันเป็นหน้าที่ของกฏแห่งกรรมมากกว่า

    เพิ่มเติม - จากคำทำนาย 10 รัชกาล ที่ทำให้คนมองว่า ไทยจะมีแค่ 10 รัชกาล
    พระท่านจึงเมตตาบอกให้อีก 2 รัชกาล โดยรัชกาลที่ 12 คือพระมหาจักรพรรดิ
    พระมหาจักรพรรดิท่านเกิดมาเพื่อเป็นผู้ปกครองโลก และตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม 10 ประการ...


    อ่านๆไปเจอเรื่องแย้งอีกแล้ว ขออนุญาตแย้งนะครับ 555

    พระพุทธเจ้าทรงบอกไว้ในสุริยสูตรแล้วว่าโลกจะไม่แตก แต่ดวงอาทิตย์จะเพิ่มทีละดวงๆ
    จนถึง 7 ดวง แต่ผมว่าอย่างมากสิ่งมีชีวิตตายหมดตั้งแต่ 3 ดวงแล้วมั้ง

    แล้วสมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ทำนายไว้ว่า ถิ่นกาขาว สำหรับผม ผมว่าน่าจะ
    หมายถึงถิ่นของกาซึ่งแท้จริงแล้วขนเป็นสีดำ แต่กลับทำตัวเป็นกาขาวมากกว่านะครับ

    และผมคิดว่า พระมหาจักรพรรดิ กับ พระศรีอารียะ เป็นคนละองค์กัน
    พระมหาจักรพรรดิมาจุติเป็นพระโพธิสัตว์นะ และที่พระศรีอารีย์ ทรงเครื่องจักรพรรดิ
    เพราะตอนนี้ท่านยังเป็นเทวดาอยู่ชั้นดาวดึงส์ ยังไม่เป็นพระพุทธเจ้าทีครับ

    ตรงนี้ผมอยากได้อ้างอิงว่าเอามาจากสูตรไหนอ่ะครับ พอดีหาไม่เจอ ... ขอบคุณครับ
    คือน่าจะบอกว่าเอามาจากพระสูตรไหนทุกครั้งนะครับ ไม่ใข่อะไรแต่ผมจะเอาไปหาอ่านตัวเต็มๆอ่ะครับ


    เพิ่มเติมอีกนิด ไปเปิดๆเจอ
    ถ้า ๖ ข้อแรกเหมือนกัน ข้อที่เพิ่มมา ๗ จะเป็นอะไรหวา ช่วยกันคิดหน่อยเร็ว <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 สิงหาคม 2010
  4. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} p {mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS";} span.style5 {mso-style-name:style5;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ขอขอบคุณมากครับ ที่คุณ Itou ได้กรุณาแสดงข้อคิดเห็นครับ

    เพื่อความเข้าใจ และเป็นประโยชน์ยิ่งต่อพระพุทธศาสนา ในเรื่องที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ เกี่ยวกับการเสื่อมในการสอนพระพุทธศาสนา 5 ประการ ที่เห็นได้จริงในทุกๆ วันนี้ ด้วยเหตุที่พระสงฆ์ไม่น้อย และผู้สอนพระพุทธศาสนาอื่นๆ อีกมากไม่ยึด กาลามสูตร ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้เป็นหลักการสอน แต่สอนให้เชื่อกัน

    ดังนั้น ความเชื่อ เป็นรากเง่าของความเสื่อมในการสอนพระพุทธศาสนาตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ จริงหรือไม่ ออร์กะคิดว่าเราพุทธศาสนิกชนควรได้ทบทวนเรื่องความเชื่อด้วยความเป็นธรรม

    ออร์กะขอนำเรื่องกาลามสูตร ที่เขียนเตือนใจของท่านผู้อ่านบทความไว้หลายๆ ครั้งแล้ว มาลงให้ท่านได้พิจารณาถึงความชัดเจน

    ดังนั้นจึงขอ ชี้ถึง "
    ขอให้เชื่อพระพุทธเจ้าเป็นพอ...." ใน ตอบกระทู้ที่ # 126 มาอ้างอิงก่อน เพราะมีความจำเป็นมากครับ เกี่ยวกับตอบ ตอบกระทู้ั # 127 ครับ<o></o>
    <o></o>
    พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ดีแล้ว ในเรื่องกาลามสูตร 10 สรุปได้คือ
    1. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามกันมา (มา อนุสฺสเวน)
    2. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสีบๆกันมา (มา ปรมฺปราย)
    3. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ (มา อิติกิราย)
    4. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตำรา หรือคัมภีร์ (มา ปิฏกสมฺปทาเนน)
    5. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะตรรก (มา ตกฺกเหตุ)
    6. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะอนุมาน (มา นยเหตุ)
    7. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล (มา อาการปริวิตกฺเกน)
    8. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้าได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว (มา ทิฏฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา)
    9. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้ (มา ภพฺพรูปตาย)
    10. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้เป็นครูของเรา (มา สมโณ โน ครูติ)

    ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสชัดเจนไม่ให้ใครๆ เชื่ออะไรๆ ทั้งสิ้นแม้แต่คำครัสสอนของพระพุทธองค์เองที่แสดงในข้อ 10 จนกระทั้งรู้แล้วเข้าใจแล้วด้วยตนว่า ธรรมเหล่านั้น เป็นอกุศล มีโทษ ก็ควรละเว้น ไม่นำมายึดถือไว้ หรือ ถ้าเป็นกุศล ไม่มีโทษ จึงค่อยนำมายึดถือเพื่อประพฤติปฏิบัติตามนั้น เรื่องนี้สำคัญยิ่ง เพราะออร์กะพยายามบอกไว้หลายๆ ครั้งใน กระทู้ครับ ขอโปรดพิจาราณากาลามสูตรดังนี้

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> เอวมฺ เม สุตํ
    ข้าพเจ้า(พระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้ว่า

    เอกํ สมยํ ภควา โกสเลสุ จาริกํ จรมาโน มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ เยน เกสปุตฺตํ นาม กาลามานํ นิคโม ตทวสริ.
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จจาริกไปในโกศลชนบท บรรลุถึงนิคมชื่อเกสปุตตะ แห่งหมู่ชนกาลามโคตร.

    อสฺโสสุงฺ โข เกสปุตฺติยา กาลามา สมโณ ขลุ โภ โคตโม สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต เกสปุตฺตํ อนุปฺปตฺโต
    กาลามชนชาวเกสปุตตนิคมได้ยิน(เขาโจทย์กัน)ว่า ผู้เจริญ พระสมณโคดม ผู้เป็นศากยบุตร ออกผนวชจากศากยสกุล เสด็จมาถึงเกสปุตตนิคมแล้ว จึงดำริว่า

    ตํ โข ปน ภควนฺตํ โคตมํ เอวํ กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคโต อิติปี โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทโธ ภควาติ
    กิติศัพท์อันงาม ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้โคตมโคตรพระองค์นั้นแล ย่อมระบือไปอย่างนี้ว่า แม้เพราะอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ควรไหว้ ควรบูชา เป็นผู้รู้ชอบเอง เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปดีแล้ว เป็นผู้รู้จักโลก เป็นผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรม

    โส ธมฺมํ เทเสติ อาทิกลยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลยาณํ สาตฺถํ สพฺพยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสติ
    พระองค์ ย่อมแสดงธรรม ไพเราะในเบื้องต้น ไพเราะในท่ามกลาง ไพเราะในที่สุด ประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบูรณ์ สิ้นเชิง

    สาธุ โข ปน ตถา รูปานํ อรหตํ ทสฺสนํ โหตีติ.
    การได้เห็นท่านผู้ไกลจากกิเลส ควรไหว้ ควรบูชา อันทรงคุณเช่นนั้น เป็นคุณให้สำเร็จประโยชน์ได้.

    อถ โข เกสปุตฺติยา กาลามา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา
    ลำดับนั้นแล กาลามชนชาวเกสปุตตนิคม พากันไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า

    อปฺเปกจฺเจ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.
    ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว บางพวก นั่ง ณ ที่อันสมควร

    อปฺเปกจฺเจ ภควตา สทฺธึ สมฺโมทึสุ สมฺโมทนียํ กถํ สาราณียํ วิติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.
    บางพวกปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า กล่าวถ้อยคำปราศรัย แสดงความยินดีแล้ว นั่ง ณ ที่อันสมควร

    อปฺเปกจฺเจ เยน ภควา เตนญฺชลิมฺปณาเมตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.
    บางพวก ประคองอัญชลีตรงที่ประทับของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่อันสมควร.

    อปฺเปกจฺเจ นามโตตฺตํ สาเวตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.
    บางพวกประกาศชื่อและโคตรแล้ว นั่ง ณ ที่อันสมควร.

    อปฺเปกจฺเจ ตุณฺหีภูตา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.
    บางพวกนั่งนิ่ง ๆ อยู่ ณ ทีอันสมควร.

    ชาวกาลามทูลขอคำแนะนำจากพระพุทธเจ้า
    เอกมนฺตํ นิสินฺนา โข เกสปุตฺติยา กาลามา ภควนฺตํ เอตทโวจุงฺ
    ครั้นชาวกาลามชน ชาวเกสปุตตนิคม นั่งในที่อันสมควรแล้ว จึงทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า

    สนฺติ ภนฺเต เอเก สมณพฺราหฺมณา เกสปุตฺตํ อาคจฺฉนฺติ.
    พระเจ้าข้า มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาถึงเกสปุตตนิคม.

    เต สกํเยว วาทํ ทีเปนฺติ โชเตนฺติ ปรวาทํ ปน ขุงฺเสนฺติ วมฺเถนฺติ ปริภวนฺติ โอปปกฺขึ กโรนฺติ.
    สมณพราหมณ์เหล่านั้นแถลงคารมเชิดชูวาทะของตนถ่ายเดียว และคัดค้าน ดูหมิ่น ปรักปรำ คำของผู้อื่น ทำถ้อยคำของผู้อื่นให้กระเด็น

    อปเรปิ ภนฺเต เอเก สมณพฺราหฺมณา เกสปุตฺตํ อาคจฺฉนฺติ .
    พระเจ้าข้า ครั้นสมณพราหมณ์อีกพวกหนึ่งมาถึงเกสปุตตนิคม.

    เตปิ สกํเยว วาทํ ทีเปนฺติ โชเตนฺติ ปรวาทํ ปน ขุงฺเสนฺติ วมฺเภนฺติ ปริภวนฺติ โอปปกฺขึ กโรนฺติ.
    แม้สมณพราหมณ์พวกหลังนั้นก็แถลงคารมเชิดชูวาทะของตนถ่ายเดียว และคัดค้าน ดูหมิ่น ปรักปรำ คำของผู้อื่น ทำถ้อยคำของผู้อื่นให้กระเด็น

    เตสํ โน ภนฺเต อมฺหากํ โหเตว กงฺขา โหติ วิจิกิจฺฉา โกสุ นาม อิเมสํ ภวนฺตานํ สมณพฺราหฺมณานํ สจฺจํ อาห โก มุสาติ.
    พระเจ้าข้า พวกข้าพเจ้าทั้งหลาย มีความสนเท่ห์สงสัยว่า บรรดาสมณพราหมณ์ผู้เจริญทั้งหลายเหล่านั้น ใครเล่าพูดจริง ใครพูดเท็จ ดังนี้.

    บรรทัดฐานแห่งการปฏิเสธ
    อลํ หิ โว กาลามา กงฺจิตุงฺ อลํ วิจิกิจฺฉิตุงฺ. กงฺจนิเยว ปน โย ฐาเน วิจิกิจฺฉา อุปฺปนฺนา.
    กาลามชน ท่านควรสนเท่ห์ ควรสงสัย. ความสงสัยของท่านเกิดขึ้นแล้วในที่ควรสงสัย.
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    เอถ ตุมเห กาลามา มา อนุสฺสเวน
    กาลามชน ท่านอย่าได้ถือโดยฟังตามๆ กันมา

    มา ปรมฺปราย
    อย่าได้ถือโดยเข้าใจว่าเป็นของเก่าสืบๆ กันมา

    มา อิติกิราย
    อย่าได้ถือโดยตื่นข่าว

    มา ปิฏกสมฺปทาเนน
    อย่าได้ถือโดยอ้างตำรา

    มา ตกฺกเหตุ
    อย่าได้ถือโดยเหตุนึกเดาเอา

    มา นยเหตุ
    อย่าได้ถือโดยคาดคะเน

    มา อาการปริวิตกฺเกน
    อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ

    มา ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา
    อย่าได้ถือโดยชอบใจว่าต้องกันกับลิทธิของตน

    มา ภพฺพรูปตาย
    อย่าได้ถือโดยเชื่อว่า ผู้พูดควรเชื่อได้

    มา สมโณ โน ครูติ
    อย่าได้ถือโดยนับถือว่า สมณะผู้นี้เป็นครูของเรา

    ยทา ตุมเห กาลามา อตฺตนาว ชาเนยฺยาถ
    กาลามชน เมื่อใดท่านรู้ด้วยตัวเองว่า

    อิเม ธมฺมา อกุสลา
    ๑ ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล

    อิเม ธมฺมา สาวชฺชา
    ๒ ธรรมเหล่านี้มีโทษ

    อิเม ธมฺมาวิญฺญุครหิตา
    ๓ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้ติเตียน

    อิเม ธมฺมา สมตฺตา สมาทินฺนา อหิตาย ทุกฺขาย สํวตฺตนฺตีติ.
    ๔ ธรรมเหล่านี้ใครสมาทานให้เต็มที่แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์

    อถ ตุมฺเห กาลามา ปชเหยฺยาถ.
    กาลามชน ท่านพึงละเสียเมื่อนั้น.

    โลภะ โทสะ โมหะ ตํ กึ มญฺญถ กาลามา.
    กาลามชน ท่านจะสำคัญความข้อนั้น เป็นไฉน?

    โลโภ ปุริสสฺส อชฺฌตฺตํ อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ หิตาย วา อหิตาย วาติ.
    โลภะ เมื่อเกิดขึ้นในสันดานของบุรุษ ย่อมเกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ หรือเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์?

    อหิตาย ภนฺเต
    เพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ พระเจ้าข้า
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    ลุทฺโธ ปนายํ กาลามา ปุริสปุคฺคโล โลเภน อภิภูโต
    กาลามชน ก็บุรุษผู้โลภแล้ว อันความโลภครอบงำแล้ว ผู้มีจิตอันความโลภยึดไว้แล้ว

    ปาณมฺปิ หนติ
    ๑ ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง

    อทินฺนมฺปิ อาทิยติ
    ๒ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้บ้าง

    ปรทารมฺปิ คจฺฉติ
    ๓ ถึงภรรยาของชายอื่นบ้าง

    มุสาปิ ภณติ
    ๔ พูดเท็จบ้าง

    ยํส โหติ ทีฆรตฺตํ อหิตาย ทุกฺขายาติ.
    ๕ สิ่งใดเป็นไปเพื่อไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์สิ้นกาลนาน เขาย่อมชักชวนผู้อื่น เพื่อเป็นอย่างนั้นบ้างข้อนี้จริงหรือไม่?

    เอวํ ภนฺเต.
    ข้อนี้ จริงอย่างนั้น พระเจ้าข้า.

    ตํ กึ มญฺญถ กาลามา.
    กาลามชน ท่านจะสำคัญความข้อนั้น เป็นไฉน?

    โทโส ปุริสสฺส อชฺฌตฺตํ อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ หิตาย วา อหิตาย วาติ.
    โทสะ เกิดขึ้นในสันดานของบุรุษ ย่อมเกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ หรือเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์?

    อหิตาย ภนฺเต.
    เพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ พระเจ้าข้า.

    ทุฏฺโฐ ปนายํ กาลามา ปุริสปุคฺคโล โทเสน อภิภูโต โทเสนะ อภิภุโต ปริยาทินฺนจิตฺโต ปาณมฺปิ หนติ อทินฺนมฺปิ อาทิยติ
    ปรทารมฺปิ คจฺฉติ มุสาปิ ภณติ ปรมฺปิ ตถตฺตาย สมาทเปติ ยํส โหติทีฆรตฺตํ อหิตาย ทุกฺขายาติ.
    กา ลามชน ก็บุรุษบุคคลนี้ อันโทสะประทุษร้ายแล้ว อันโทสะคอบงำแล้ว มีผู้มีจิตอันโทสะยึดไว้แล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ถือเสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้บ้าง ถึงภรรยาชายอื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง สิ่งใดเป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์แก่ผู้อื่นนั้น สิ้นกาลนาน เขาย่อมชักชวนผู้อื่นเพื่อเป็นอย่างนั้นบ้าง ข้อนี้จริงหรือไม่?

    เอวํ ภนฺเต.
    ข้อนี้ จริงอย่างนั้น พระเจ้าข้า.

    ตํ กึ มญฺญถ กาลามา.
    กาลามชน ท่านจะสำคัญความข้อนั้น เป็นไฉน?

    โมโห ปุริสสฺส อชฺฌตฺตํ อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ หิตาย วา อหิตาย วาติ.
    โมหะ เมื่อเกิดขึ้นสันดานของบุรุษ ย่อมเกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ หรือเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์?

    อหิตาย ภนฺเต.
    เพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ พระเจ้าข้า.

    มุฬฺ โห ปานยํ กาลามา ปุริสปุคฺคโล โมเหน อภิภูโต ปริยาทินฺนจิตฺโต ปาณมฺปิ หนติ อทินฺนมิปิ อาทิยติ ปรทารมฺปิ คจฺฉติ มุสาปิ ภณติ ปรมฺปิ ตถตฺตาย สมาทเปติ ยํส โหติ ทีฆรตฺตํ อหิตาย ทุกฺขายาติ.
    กาลามชน ก็บุรุษผู้หลงแล้ว อันโมหะครอบงำแล้ว ผู้มีจิตอันโมหะยึดไว้แล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้บ้าง ถึงภรรยาชายอื่นบ้าง พุดเท็จบ้าง สิ่งใดเป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เป็นทุกข์แก่ผู้อื่นนั้นสิ้นกาลนาน เขาย่อมชักชวนผู้อื่นเพื่เป็นอย่างนั้นบ้าง ข้อนี้ จริงหรือไม่?

    เอวํ ภนฺเต.
    ข้อนี้ จริงอย่างนั้น พระเจ้าข้า.

    ตํ กึ มญฺญตฺถ กาลามา .
    กาลามชน ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน?

    อิเม ธมฺมา กุสลา วา อกุสลา วาติ.
    ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศลหรือ อกุศล?

    อกุสลา ภนฺเต.
    เป็นอกุศล พระเจ้าข้า.

    สาวชฺชา วา อนวชฺชา วาติ.
    มีโทษ หรือไม่มีโทษ?

    สาวชฺชา ภนฺเต.
    มีโทษ พระเจ้าข้า.

    วิญฺญุครหิตา วา วิญฺญุปฺปสตฺถา วาติ.
    ท่านผู้รู้ติตเตียน หรือท่านผู้รู้สรรเสริญ?

    วิญฺญุครหิตา ภนฺเต.
    ผู้รู้ติเตียน พระเจ้าข้า.

    สมตฺตา สมาทินฺนา อหิตาย ทุกฺขาย สํวตฺตนฺติ โน วา กถํ วา เอตฺถ โหตีติ.
    ใครสมาทานให้เต็มที่แล้ว ย่อมเป็นไป เพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์หรือไม่? หรือว่า ท่านมีความเห็นในข้อนี้อย่างไร?

    สมตฺตา ภนฺเต สมาทินฺนา อหิตาย ทุกฺขาย สํวตฺตนฺติ เอวํ โน เอตฺถ โหตีติ.
    พระเจ้าข้า ใครสมาทานให้เต็มที่แล้ว ย่อมเป้นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์ ใยข้อนี้ ข้าพระองค์ มีความเห็นอย่างนี้.

    อิติ โข กาลามา ยนฺตํ อโวจุมฺห เอถ ตุมฺเห กาลามา
    เพราะเหตุนั้นแล กาลามชน เราได้กล่าวคำใดกะท่านว่า

    มา อนุสฺสเวน
    กาลามชน ท่านอย่าได้ถือโดยฟังตามๆ กันมา

    มา ปรมฺปราย
    อย่าได้ถือโดยเข้าใจว่าเป็นของเก่าสืบๆ กันมา

    มา อิติกิราย
    อย่าได้ถือโดยตื่นข่าว

    มา ปิฏกสมฺปทาเนน
    อย่าได้ถือโดยอ้างตำรา

    มา ตกฺกเหตุ
    อย่าได้ถือโดยเหตุนึกเดาเอา

    มา นยเหตุ
    อย่าได้ถือโดยคาดคะเน

    มา อาการปริวิตกฺเกน
    อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ

    มา ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา
    อย่าได้ถือโดยชอบใจว่าต้องกันกับลิทธิของตน

    มา ภพฺพรูปตาย
    อย่าได้ถือโดยเชื่อว่า ผู้พูดควรเชื่อได้

    มา สมโณ โน ครูติ
    อย่าได้ถือโดยนับถือว่า สมณะผู้นี้เป็นครูของเรา

    ยทา ตุมฺเห กาลามา อตฺตนาว ชาเนยฺยาถ
    กาลามชน เมื่อใดท่านผู้ด้วยตนเองว่า

    อิเม ธมฺมา อกุสลา
    ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล

    อิเม ธมฺมา สาวชฺชา
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ

    อิเม ธมฺมา วิญฺญุครหิตา
    ธรรมเหล่านี้ ท่านผู้รู้ติเตียน

    อิเม ธมฺมา สมตฺตา สมาทินฺนา อหิตาย ทุกฺขาย สํวตฺตนฺตีติ.
    ธรรมเหล่านี้ใครสมาทานให้เต็มที่แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์ ดังนี้

    อถ ตุมฺเห กาลามา ปชเหยฺยาถาติ.
    กาลามชน ท่านพึงละเสียเมื่อนั้น

    บรรทัดฐานแห่งการยอมรับ
    อิติ ยนฺตํ วุตฺตํ อิทเมตํ ปฏิจฺจ วุตฺตํ.เอถ ตุมฺเห
    เพราะเหตุนั้น คำใดอันเราได้กล่าวกะท่าน คำนั้น เราอาศัยความข้อนี้กล่าวแล้วกะท่าน.

    กาลามา อานุสฺสเวน
    กาลามชน ท่านอย่าได้ถือโดยฟังตามๆ กันมา;

    มา ปรมฺปราย
    อย่าได้ถือโดยเข้าใจว่าเป็นของเก่าสืบๆ กันมา

    มา อิติกิราย
    อย่าได้ถือโดยตื่นข่าว

    มา ปิฏกสมฺปทาเนน
    อย่าได้ถือโดยอ้างตำรา

    มา ตกฺกเหตุ
    อย่าได้ถือโดยเหตุนึกเอา

    มา นยเหตุ
    อย่าได้ถือโดยใช้คาดคะเน

    มา อาการปริวิตกฺเกน
    อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ

    มา ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา
    อย่าได้ถือโดยชอบใจว่า ต้องกันกับลัทธิของตน

    มา ภพฺพรูปตาย
    อย่าได้ถือโดยเชื่อว่า ผู้พูดควรเชื่อได้

    มา สมโณ โน ครูติ.
    อย่าได้ถือโดยนับถือว่า สมณะผู้นี้เป็นครูของเรา.

    ยทา ตุมฺเห กาลามา อตฺตนาว ชาเนยฺยาถ
    กาลามชน เมื่อใดท่านรู้ด้วยตัวเองว่า

    อิเม ธมฺมา กุสลา
    ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล

    อิเม ธมฺมา อนวชฺชา
    ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ

    อิเม ธมฺมา วิญฺญูปฺปสตฺถา
    ธรรมเหล่านี้ ท่านผู้รู้สรรเสริญ

    อิเม ธมฺมา สมตฺตา สมาทินฺนา
    ธรรมเหล่านี้ ใครสมาทานให้เต็มที่แล้ว

    หิตาย สุขาย สํวตฺตนฺตีติ
    ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อสุข

    อถ ตุมฺเห กาลามา อุปสมฺปชฺช วิหเรยฺยาถ
    กาลามชน เมื่อนั้น ท่านพึงถึงพร้อมธรรมเหล่านั้นอยู่ ปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ <o></o>


    ตํ กึ มญฺญตฺถ กาลามา.
    กาลามชน ท่านจะสำคัญความข้อนั้น เป็นไฉน?
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    อโลโภ ปุริสสฺส อชฺฌตฺตํ อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ หิตาย วา อหิตาย วาติ.
    อโลภะ เมื่อเกิดขึ้นในสันดานของบุรุษ ย่อมเกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ หรือเพื่อสิ่งมิใช่ประโยชน์?

    หิตาย ภนฺเต
    เพื่อประโยชน์ พระเจ้าข้า

    อลุทฺโธ ปนายํ กาลามา ปุริสปุคฺคโล โลเภน อนภิภูโต อปริยาทินฺนจิตฺโต
    กาลามชน ก็บุรุษลบุคคลผู้ไม่โลภแล้วนี้ อันความโลภไม่ครอบงำแล้ว มีจิตจอันความโลภไม่ยึดไว้แล้ว

    เนว ปาณํ หนติ
    ย่อมไม่ฆ่าสัตว์เลย

    น อทินฺนํ อาทิยติ
    ไม่ถือเอาสิ่งของที่เข้าของไม่ให้

    น ปรทารํ คจฺฉติ
    ไม่ถึงภรรยาของชายอื่น

    น มุสา ภณติ
    ไม่พูดเท็จ

    ปรมฺปิ ตถตฺตาย สมาทเปติ ยํส โหติ ทีฆรตฺตํ หิตาย สุชายาติ
    สิ่งใดเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อสุข แก่ผู้อื่นนั้น สิ้นกาลนาน เขาย่อมชักชวนผู้อื่นเพื่อเป็นอย่างนั้นบ้าง ข้อนี้จริงหรือไม่?

    เอวํ ภนฺเต
    ข้อนี้ จริงอย่างนั้น พระเจ้าข้า

    ตํ กึ มญฺญถ กาลามา.
    กาลามชน ท่านจะสำคัญความข้อนั้น เป็นไฉน?

    อโทโส ปุริสสฺส อชฺฌตฺตํ อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ วา อหิตาย วาติ.
    ความไม่ประทุษร้าย เมื่อเกิดขึ้นในสันดานของบุรุษ ย่อมเกิดขึ้นเพื่อประโยชน์หรือเพื่อสิ่งมิใช่ประโยชน์?

    หิตาย ภนฺเต.
    เพื่อประโยชน์ พระเจ้าข้า

    อทุฏฺโฐ ปนายํ กาลามา ปุริสปุคฺคโล โทเสน อนภิภูโต อปริยาทินฺตจิตฺโต
    กาลามชน ก็บุรุษบุคคล อันโทสะไม่ประทุษร้ายแล้วนี้ มีจิตอันโทสะไม่ครอบงำแล้ว
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    เนว ปาณํ หนติ
    ย่อมไม่ฆ่าสัตว์เลย

    น อทินฺนํ อาทิยติ
    ไม่ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของบไม่ได้ให้

    น ปรทารํ คจฺฉติ
    ไม่ถึงภรรยาของชายอื่น

    น มุสา ภณติ
    ไม่พุดเท็จ

    ปรมฺปิ ตถตฺตาย สมาทเปติ ยํส โหติ ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขายาติ.
    สิ่งใดเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อสุขแก่ผู้อื่นนั้น สิ้นกาลนาน เขาย่อมชักชวนผู้อื่น เพื่อเป็นอย่างนั้นบ้าง ข้อนี้จริงหรือไม่?

    เอวํ ภนฺเต
    ข้อนี้ จริงอย่างนั้น พระเจ้าข้า

    ตํ กึ มญฺญถ กาลามา.
    กาลามชน ท่านจะสำคัญความข้อนั้น เป็นไฉน?

    อโมโห ปุริสสฺส อชฺฌตฺตํ อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ หิตาย วา อหิตาย วาติ.
    ความไม่หลง เมื่อเกิดขึ้นในสันดานของบุรุษ ย่อมเกิดขึ่นเพื่อประโยชน์ หรือเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์?
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    หิตาย ภนฺเต
    เพื่อประโยชน์ พระเจ้าข้า

    อมุฬฺโห ปนายํ กาลามา ปุริสปุคฺคโล โมเหน อนภิภูโต อปริยาทินฺนจิตฺโต
    กาลามชน ก็บุรุษผู้ไม่หลงแล้วนี้ อันความหลงไม่ครอบงำแล้ว มีจิตอันความหลงไม่ยึดไว้แล้ว
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    เนว ปาณํ หนติ
    ย่อมไม่ฆ่าสัตว์เลย

    น อทินฺนํ อาทิยติ
    ไม่ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้

    น ปรทารํ คจฺฉติ
    ไม่ถึงภรรยาชายอื่น

    น มุสา ภณติ
    ไม่พูดเท็จ

    ปรมฺปิ ตถตฺตาย สมาทเปติ ยัส โหติ ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขายาติ
    สิ่งใดเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อสุข แก่ผู้อื่นนั้น สิ้นกาลนาน เขาย่อมชักชวนผู้อื่น เพื่อเป็นอย่างนั้นบ้าง ข้อนี้จริงหรือไม่?

    เอวํ ภนฺเต
    ข้อนี้ จริงอย่างนั้น พระเจ้าข้า

    ตํ กึ มญฺญถ กาลามา.
    กาลามชน ท่านจะสำคัญความข้อนั้น เป็นไฉน?

    อิเม ธมฺมา กุสลา วา อกุสลา วาติ
    ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล หรือ เป็นอกุศล?

    กุสลา ภนฺเต
    เป็นกุศล พระเจ้าข้า

    สาวชฺชา วา อนวชฺชา วาติ.
    มีโทษ หรือไม่มีโทษ?

    อนวชฺชา ภนฺเต
    ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า

    วิญฺญูครหาติ วา วิญฺญูปฺปสตฺถา วาติ.
    ท่านผู้รู้ติเตียน หรือท่านผู้รู้สรรเสริญ?

    วิญฺญูปฺปสตฺถา ภนฺเต
    ท่านผู้รู้สรรเสริญ พระเจ้าข้า

    สมตฺตา สมาทินฺนา หินาย สุขาย สํวตฺตนฺติ โน วา
    ใครสมาทานให้เต็มที่แล้ว ย่อมเป็นไป เพื่อประโยชน์ เพื่อสุขหรือไม่?

    กถํ วา เอตฺถ โหตีติ
    หรือว่า ท่านมีความเห็นอย่างไรในข้อนี้?
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    สมตฺตา ภนฺเต สมาทินฺนา หิตาย สุขาย สํวตฺตนฺติ เอวํ โน เอตฺถ โหตีติ.
    พระเจ้าข้า ใครสมาทานให้เต็มที่แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อสุข ในข้อนี้ ข้าพระองค์ มีความเห็นอย่างนี้.

    อิติ โข กาลามา ยนฺตํ อโวจุมฺห
    เพราะเหตุนั้นแล กาลามชน เราได้กล่าวคำใดกะท่านว่า
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    เอถ ตุมฺเห กาลามา มา อนุสฺสเวน
    กาลามชน ท่านอย่าได้ถือโดยฟังตามๆ กันมา

    มา ปรมฺปราย
    อย่าได้ถือโดยเข้าใจว่าเป็นของเก่าสืบๆ กันมา

    มา อิติกิราย
    อย่าได้ถือโดยตื่นข่าว

    มา ปิฏกสมฺปทาเนน
    อย่างได้ถือโดยอ้างตำรา

    มา ตกฺตกเหตุ
    อย่าได้ถือโดยนึกเดาเอา

    มา นยเหตุ
    อย่างได้ถือโดยใช้คาดคะเน

    มา อาการปริวิตกฺเกน
    อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ

    มา ทิฏฺฐินิชฺเนกฺขนฺติยา
    อย่าได้ถือโดยชอบใจว่าต้องกันกับลัทธิของตน

    มา ภพฺพรุปตาย
    อย่าได้ถือโดยเชื่อว่า ผู้พูดควรเชื่อถือได้

    มา สมโณ โน ครูติ
    อย่าได้ถือโดยนับถือว่า สมณะผู้นี้เป็นครูของเรา

    ยทา ตุมฺเห กาลามา อตฺตนาว ชาเนยฺยาถ
    กาลามชน เมื่อใดท่านรู้ด้วนตนเองว่า:

    อิเม ธมฺมา กุสลา
    ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล

    อิเม ธมฺมา อนวชฺชา
    ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ

    อิเม ธมฺมา วิญฺญุปฺปสตฺถา
    ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้สรรเสริญ

    อิเม ธมฺมา สมตฺตา สมาทินฺนา หิตาย สุขาย สํวตฺตนฺตีตี
    ธรรมเหล่านี้ ใครสมาทานให้เต็มที่แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อสุข

    อถ ตุมฺเห กาลามา อุปสมฺปชฺช วิหเรยฺยาถาติ
    กาลามชน เมื่อนั้น ท่านพึงถึงพร้อมธรรมเหล่านั้นอยู่

    อิติ ยนฺตํ วุตฺตํ
    เพราะเหตุนั้น คำใดที่เราได้กล่าวกะท่าน

    อิทเมตํ ปฏิจฺจ วุตฺตํ
    คำนั้น เราอาศัยความข้อนี้กล่าวแล้ว

    พรหมวิหาร 4 :
    ส โข โส กาลามา อริยสาวโก เอวํ วิคตาภิชฺโฌ วิคตพฺยาปาโท
    กาลามชน อริยสาวกนั้นๆ แล เป็นผู้ปราศจากความละโมบ ปราศจากพยาบาท

    อสมฺมูฬฺโห
    เป็นผู้ไม่หลงอย่างนี้

    สมฺปชาโน ปติสฺสโต
    มีสติมั่นคง รู้ตัวอยู่
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    เมตตา
    เมตฺตาสหคเตน เจตสา เอกํทิสํ ผริตฺวา วิหรติ
    มีใจประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปตลอดทิศที่ 1 อยู่

    ตถา ทุติยํ
    ทิศที่ 2

    ตถา ตติยํ
    ทิศที่ 3

    ตถา จตุตฺถํ
    ทิศที่ 4 ก็อย่างนั้น

    อิติ อุทฺธมโธ ติริยํ สพฺพธิ สพฺพตฺตตาย สพฺพาวนฺตํ โลกํ เมตฺตาสหคเตน เจตสา วิปุเลน มหคฺคเตน อปฺปมาเณน อเวเรน อพฺยาปชฺเชน ผริตฺวา วิหรติ.
    มี ใจประกอบด้วยเมตตา ไพบูลย์เต็มที่ เป็นจิตใหญ่ มีสัตว์หาปริมาณมิได้เป็นอารมณ์ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปในที่ทั้งปวง ทั้งในทิศเบื้องบน ทิศเบื้องต่ำ ทิศเบื้องขวาง ตลอดโลกอันมีสรรพสัตว์ ด้วยความเป็นผู้มีใจในสัตว์ทั้งปวง ดังนี้อยู่
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    กรุณา
    กรุณาสหคเตน เจตสา เอกํทิสํ ผริตฺวา วิหรติ
    มีใจประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปตลอดทิศที่ 1 อยู่

    ตถา ทุติยํ
    ทิศที่ 2

    ตถา ตติยํ
    ทิศที่ 3

    ตถา จตุตฺถํ
    ทิศที่ 4 ก็อย่างนั้น

    อิติ อุทฺธมโธ ติริยํ สพฺพธิ สพฺพตฺตตาย สพฺพาวนฺตํ โลกํ เมตฺตาสหคเตน เจตสา วิปุเลน มหคฺคเตน อปฺปมาเณน อเวเรน อพฺยาปชฺเชน ผริตฺวา วิหรติ.
    มี ใจประกอบด้วยกรุณา ไพบูลย์เต็มที่ เป็นจิตใหญ่ มีสัตว์หาปริมาณมิได้เป็นอารมณ์ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปในที่ทั้งปวง ทั้งในทิศเบื้องบน ทิศเบื้องต่ำ ทิศเบื้องขวาง ตลอดโลกอันมีสรรพสัตว์ ด้วยความเป็นผู้มีใจในสัตว์ทั้งปวง ดังนี้อยู่
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    มุทิตา
    มุทิตาสหคเตน เจตสา เอกํทิสํ ผริตฺวา วิหรติ
    มีใจประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปตลอดทิศที่ 1 อยู่

    ตถา ทุติยํ
    ทิศที่ 2

    ตถา ตติยํ
    ทิศที่ 3

    ตถา จตุตฺถํ
    ทิศที่ 4 ก็อย่างนั้น
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    อิติ อุทฺธมโธ ติริยํ สพฺพธิ สพฺพตฺตตาย สพฺพาวนฺตํ โลกํ เมตฺตาสหคเตน เจตสา วิปุเลน มหคฺคเตน อปฺปมาเณน อเวเรน อพฺยาปชฺเชน ผริตฺวา วิหรติ.
    มี ใจประกอบด้วยมุทิตา ไพบูลย์เต็มที่ เป็นจิตใหญ่ มีสัตว์หาปริมาณมิได้เป็นอารมณ์ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปในที่ทั้งปวง ทั้งในทิศเบื้องบน ทิศเบื้องต่ำ ทิศเบื้องขวาง ตลอดโลกอันมีสรรพสัตว์ ด้วยความเป็นผู้มีใจในสัตว์ทั้งปวง ดังนี้อยู่

    อุเบกขา
    อุเปกฺขาสหคเตน เจตสา เอกํทิสํ ผริตฺวา วิหรติ
    มีใจประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปตลอดทิศที่ 1 อยู่

    ตถา ทุติยํ
    ทิศที่ 2

    ตถา ตติยํ
    ทิศที่ 3

    ตถา จตุตฺถํ
    ทิศที่ 4 ก็อย่างนั้น

    อิติ อุทฺธมโธ ติริยํ สพฺพธิ สพฺพตฺตตาย สพฺพาวนฺตํ โลกํ เมตฺตาสหคเตน เจตสา วิปุเลน มหคฺคเตน อปฺปมาเณน อเวเรน อพฺยาปชฺเชน ผริตฺวา วิหรติ.
    มี ใจประกอบด้วยอุเบกขา ไพบูลย์เต็มที่ เป็นจิตใหญ่ มีสัตว์หาปริมาณมิได้เป็นอารมณ์ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปในที่ทั้งปวง ทั้งในทิศเบื้องบน ทิศเบื้องต่ำ ทิศเบื้องขวาง ตลอดโลกอันมีสรรพสัตว์ ด้วยความเป็นผู้มีใจในสัตว์ทั้งปวง ดังนี้อยู่<o></o>


    ความอุ่นใจ 4 อย่าง
    ส โข กาลามา อริยสาวโก
    กาลามชน อริยสาวกนั้นๆ แล

    เอวํ อเวรจิตฺโต
    มีจิตหาเวรมิได้อย่างนี้

    เอวํ อพฺพยาปชฺฌจิตฺโต
    มีจิตหาความเบียดเบียนมิได้อย่างนี้

    เอวํ อสงฺกิลิฏฺฐจิตฺโต
    มีจิตไม่เศร้าหมองแล้วอย่างนี้
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    เอวํ วิสุทฺธจิตฺโต
    มีจิตหมดจดแล้วอย่างนี้

    ตสฺส ทิฏฺเฐ ธมฺเม จิตฺตาโร อสฺสาสา อธิคตา โหนฺติ
    ท่านย่อมได้เป็นผู้มีความอุ่นใจ 4 ประการในทิฏฐธรรม

    สเจ โข ปน อตฺถิ ปโร โลโก อตฺถิ สุกตทุกฺกฏานํ กมฺมานํ ผลวิปาโก
    (ความอุ่นใจข้อหนึ่งที่ว่า ) ก็แลถ้าว่า โลกหน้ามีอยู่ไซร้ วิบาก คือผลของกรรมที่สัตว์ทำดีและทำชั่วมีอยู่

    ฐานเมตํ เยนาหํ กายสฺส เภทา ปรมฺมรณา สุคตึ สคฺคํ โลกํ อุปปชฺชิสฺสามีติ
    ข้อนี้เป็นฐานะทีตั้งซึ่งจะเป็นได้ เบื้องหน้าแต่กายแตกตายไป เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดังนี้

    อยมสฺส ปฐโม อสฺสาโส อธิคโต โหติ
    นี้เป็นความอุ่นใจข้อที่ 1 ที่อริยสาวกได้รับ.

    สเจ โข ปน นตฺถิ ปโร โลโก นตฺถิ สุกตทุกฺกฏานํ กมฺมานํ ผลวิปาโก
    (ความอุ่นใจข้อที่ 2 ว่า) ก็แลถ้าว่าโลกหน้าไม่มีไซร้ วิบากคือผลของกรรมที่สัตว์ทำดีและทำชั่วก็ไม่มี

    อิธาหํ ทิฏฺเฐว ธมฺเม อเวรํ อพฺพยาปชฺฌํ อณีฆํ สุขี อตฺตานํ ปริหรามีติ
    ในทิฏฐธรรมนี้ เราก็จะรักษาตนให้เป็นคนไม่มีเวร ไม่เบียดเบียน ไม่มีทุกข์ มีแต่ความสุข ดังนนี้

    อยมสฺส ทุติโย อสฺสาโน อธิคโต โหติ
    นี้เป็นความอุ่นใจข้อที่ 2 ที่อริยสาวกได้รับ

    สเจ โข ปน กโรโต กรียติ ปาปํ
    (ความอุ่นใจข้อที่ 3 ว่า) ก็แลถ้าเมื่อบาปที่บุคคลทำ ชื่อว่าเป็นอันทำไซร้

    น โข ปนาหํ กสฺสจิ ปาปํ เจเตมิ
    และเราก็ไม่ได้คิดบาปให้แก่ใคร ๆ

    อกโรนฺตํ โข ปน มํ ปาปกมฺมํ กุโต ทุกฺขํ ผุสิสฺสตีติ
    ไหนเลย ทุกข์จักมาพ้องพานเรา ผู้ไม่ได้ทำบาปกรรมไว้ ดังนี้

    อยมสฺส ตติโย อสฺสาโส อธิคโต โหติ.
    นี่เป็นความอุ่นใจข้อที่ 3 ที่อริยสาวกได้รับ
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    สเจ โข ปน กโรติ น กรียติ ปาปํ
    (ความอุ่นใจข้อที่ 4 ว่า ) ก็แลถ้าเมื่อบาปที่บุคคลทำ ไม่ชื่อว่าเป็นอันทำไซร้

    อิธาหํ ภุภเยเนว วิสุทฺธํ อตฺตานํ สมนุปสฺสามีติ
    บัดนี้ เราก็ได้พิจารณาเห็นตนเป็นคนบริสุทธิ์แล้ว ทั้ง 2 ทาง ดังนี้

    อยมสฺส จตุตฺโถ อสฺสาโส อธิคโต โหติ
    นี้เป็นความอุ่นใจข้อที่ 4 ที่อริยสาวกได้รัรบ.

    ส โข โส กาลามา อริยสาวโก
    กาลามชน อริยสาวกนั้นๆ แล

    เอวํ อเวรจิตฺโต
    มีจิตหาเวรมิได้อย่างนี้

    เอวํ อพฺพยาปชฺฌจิตฺโต
    มีจิตหาความเบียดเบียนมิได้อย่างนี้

    เอวํ อสงฺกิลิฏฺฐจิตฺโต
    มีจิตไม่เศร้าหมองแล้วอย่างนี้
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]--><o></o>

    เอวํ วิสุทฺธจิตฺโต
    มีจิตหมดจดแล้วอย่างนี้,

    ตสฺส ทิฏฺเฐว ธมเม อิเม จตฺตาโร อสฺสาสา อธิคตา โหนฺติตี
    ในทิฏฐธรรม ท่านย่อมได้ความอุ่นใจ 4 ประการ เหล่านี้ ดังนี้

    เอวเมตํ ภควา
    ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเข้า ข้อนี้ จริงอย่างนั้น

    เอวเมตํ สุคต
    ข้าแต่พระสุคตเจ้า ข้อนี้จริงอย่างนั้น

    ส โข โส ภนฺเต อริยสาวโก
    พระเจ้าข้า พระอริยสาวกนั้นๆ แล<o></o>


    เอวํ อเวรจิตฺโต
    มีจิตหาเวรมิได้อย่างนี้

    เอวํ อพฺพยาปชฺฌจิตฺโต
    มีจิตหาความเบียดเบียนมิได้อย่างนี้

    เอวํ อสงฺกิลิฏฺฐจิตฺโต
    มีจิตไม่เศร้าหมองแล้วอย่างนี้

    เอวํ วิสุทฺธจิตฺโต
    มีจิตหมดจดแล้วอย่างนี้

    ตสฺส ทิฏฺเฐ ธมฺเม จิตฺตาโร อสฺสาสา อธิคตา โหนฺติ
    ท่านย่อมได้เป็นผู้มีความอุ่นใจ 4 ประการในทิฏฐธรรม

    สเจ โข ปน อตฺถิ ปโร โลโก อตฺถิ สุกตทุกฺกฏานํ กมฺมานํ ผลวิปาโก
    (ความอุ่นใจข้อ 1 ที่ว่า ) ก็แลถ้าว่า โลกหน้ามีอยู่ไซร้ วิบาก คือผลของกรรมที่สัตว์ทำดีและทำชั่วมีอยู่

    ฐานเมตํ เยนาหํ กายสฺส เภทา ปรมฺมรณา สุคตึ สคฺคํ โลกํ อุปปชฺชิสฺสามีติ
    ข้อนี้เป็นฐานะทีตั้งซึ่งจะเป็นได้ เบื้องหน้าแต่กายแตกตายไป เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดังนี้

    อยมสฺส ปฐโม อสฺสาโส อธิคโต โหติ
    นี้เป็นความอุ่นใจข้อที่ 1 ที่อริยสาวกได้รับ.

    สเจ โข ปน นตฺถิ ปโร โลโก นตฺถิ สุกตทุกฺกฏานํ กมฺมานํ ผลวิปาโก
    (ความอุ่นใจข้อที่ 2 ว่า) ก็แลถ้าว่าโลกหน้าไม่มีไซร้ วิบากคือผลของกรรมที่สัตว์ทำดีและทำชั่วก็ไม่มี

    อิธาหํ ทิฏฺเฐว ธมฺเม อเวรํ อพฺพยาปชฺฌํ อณีฆํ สุขี อตฺตานํ ปริหรามีติ
    ในทิฏฐธรรมนี้ เราก็จะรักษาตนให้เป็นคนไม่มีเวร ไม่เบียดเบียน ไม่มีทุกข์ มีแต่ความสุข ดังนี้

    อยมสฺส ทุติโย อสฺสาโน อธิคโต โหติ นี้เป็นความอุ่นใจข้อที่ 2 ที่อริยสาวกได้รับ สเจ โข ปน กโรโต กรียติ ปาปํ
    (ความอุ่นใจข้อที่ 3 ว่า) ก็แลถ้าเมื่อบาปที่บุคคลทำ ชื่อว่าเป็นอันทำไซร้

    น โข ปนาหํ กสฺสจิ ปาปํ เจเตมิ
    และเราก็ไม่ได้คิดบาปให้แก่ใคร ๆ

    อกโรนฺตํ โข ปน มํ ปาปกมฺมํ กุโต ทุกฺขํ ผุสิสฺสตีติ
    ไหนเลย ทุกข์จักมาพ้องพานเรา ผู้ไม่ได้ทำบาปกรรมไว้ ดังนี้

    อยมสฺส ตติโย อสฺสาโส อธิคโต โหติ.
    นี่เป็นความอุ่นใจข้อที่ 3 ที่อริยสาวกได้รับ

    สเจ โข ปน กโรติ น กรียติ ปาปํ
    (ความอุ่นใจข้อที่ 4 ว่า ) ก็แลถ้าเมื่อบาปที่บุคคลทำ ไม่ชื่อว่าเป็นอันทำไซร้

    อิธาหํ ภุภเยเนว วิสุทฺธํ อตฺตานํ สมนุปสฺสามีติ
    บัดนี้ เราก็ได้พิจารณาเห็นตนเป็นคนบริสุทธิ์แล้ว ทั้ง 2 ทาง ดังนี้

    อยมสฺส จตุตฺโถ อสฺสาโส อธิคโต โหติ
    นี้เป็นความอุ่นใจข้อที่ 4 ที่อริยสาวกได้รับ.

    ส โข โส กาลามา อริยสาวโก
    กาลามชน อริยสาวกนั้นๆ แล

    เอวํ อเวรจิตฺโต
    มีจิตหาเวรมิได้อย่างนี้

    เอวํ อพฺพยาปชฺฌจิตฺโต
    มีจิตหาความเบียดเบียนมิได้อย่างนี้

    เอวํ อสงฺกิลิฏฺฐจิตฺโต
    มีจิตไม่เศร้าหมองแล้วอย่างนี้

    เอวํ วิสุทฺธจิตฺโต
    มีจิตหมดจดแล้วอย่างนี้

    ตสฺส ทิฏฺเฐว ธมเม อิเม จตฺตาโร อสฺสาสา อธิคตา โหนฺติตี
    ในทิฏฐธรรม ท่านย่อมได้ความอุ่นใจ 4 ประการ นี้

    อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต
    ไพเราะยิ่งนัก พระเจ้าข้า

    อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต
    ไพเราะยิ่งนัก พระเจ้าข้า

    เสยฺยถาปิ ภนฺเต นิกฺกุชฺชิตํ วา อุกฺกุชฺเชยฺย ปฏิจฺฉนฺนํ วา
    พระเจ้าข้า บุคคลที่หงายของที่คว่ำ หรือเปิดของที่ปิด

    วิวเรยฺย มูฬฺหสฺส วา มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย อนฺธกาเร วา เตลปฺปชฺโชตํ ธาเรยฺย จกฺขุมนฺโต รูปานิ ทกฺขนฺตีติ
    หรือบอกทางแก่คนหลงทาง หรือตามประทีปไว้ในที่มืด โดยตั้งใจว่า บุคคลผู้มีจักษุจะได้เห็นรูป แม้ฉันใด

    เอวเมวํ ภควตา อเนกปริยาเยน ธมฺโม ปาสิโต
    พระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคก็ฉันนั้น ทรงประกาศธรรมโดยหลายกระบวนอย่างนี้

    เอเต มยํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม ธมฺมญฺจ ภิกฺขูสงฺฆญฺจ
    พระเจ้าข้า ข้าพระองค์เหล่านี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้า ทั้งพระธรรม ทั้งพระภิกษุสงฆ์เป็นสรณะ

    อุปาสเก โน ภนฺเต ภควา ธาเรตุ อชฺชคตฺเค ปาณุเปเต สรณํ คเตติ
    พระเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า จงทรงจำพวกข้าพระองค์ไว้ว่าเป็นอุบาสก
    ถึงพระรัตนตรัย เป็นสรณะตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป


    จบ
    สมลักษณ์ วันโย น.ธ.เอก เปรียญ B.A. สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ M.A.เศรษฐศาสตร์
    24 มกราคม 2553
    กาลามสูตร บาลี-ไทย-อังกฤษ

    สรุป
    ถ้าเราเข้าใจการใช้กาลามสูตร อันเป็นปรัชญา(
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 11"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 11"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->Philosophy) ของพระพุทธเจ้า ย่อมเกิดปัญญาในความเข้าใจพระพุทธสาสนา ซึ่งหมายถึงคำสอนของพุทธ ปัญญานี้ย่อมทำให้พระพุทธสาสนาเจริญงอกงาม
    แต่การที่เราใช้พระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นความเชื่อ (Religion) ตือเชื่อในพุทธ แบบศาสนาอื่นๆ ที่เชื่อในพระเจ้า
    พระพุทธศาสนาจึงมิได้เป็นปรัชญาดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสสอนไว้ดีแล้วครับ


    ด้วยความขอบคุณ ขอบพระคุณครับ
    ออร์กะ


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 สิงหาคม 2010
  5. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ขอขอบคุณมากครับ ที่คุณ Itou ได้กรุณาแสดงข้อคิดเห็นครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> เรื่องแผ่นดินไหวกับดาวเรียงตัว ที่คุณ Itou ยกขึ้นมากล่าว ออร์กะ เห็นว่าควรจะนำเรื่องที่มีอยู่แล้ว มาขยายความเพิ่มขึ้น เพราะน่าจะเกิดประโยชน์กับผู้อื่นที่ยังไม่เข้าใจถึงความสำคัญนี้ แต่ที่ล่าช้าในการนำข้อมูลมาลงเพิ่ม เพราะต้องใช้เวลาในการค้นคว้า ด้วยว่า เรื่องแผ่นดินไหวและดาวเรียงตัวเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ที่มีความสำคัญยิ่งครับ บางท่านอาจไม่ได้สนใจ แต่ถ้าได้ศึกษาข้อมูลเพียงพอ จะทราบว่า เราทั้งหลายไม่ควรประมาท หรือลบหลู่ ดังนั้นเรื่องแผ่นดินไหวกับดาวเรียงตัว จะขอแยกเป็นข้อ ๆ ว่า

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" http:="" palungjit.org="" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype><o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" http:="" palungjit.org="" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if !mso]><object classid="clsid:38481807-CA0E-42D2-BF39-B33AF135CC4D" id=ieooui></object> <style> st1\:*{behavior:url(#ieooui) } </style> <![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} span.shorttext {mso-style-name:short_text;} span.longtext {mso-style-name:long_text;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:2.0cm 2.0cm 2.0cm 2.0cm; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> 1. เรื่องแผ่นดินไหว
    <o></o>
    ขยายความ ตอบกระทู้แผ่นดินไหว # 48, # 59, # 70, # 105, # 106, # 121
    เรื่องแผ่นดินไหวนี้มีความสำคัญมาก เพราะเป็นการบอกเหตุของพยากรณ์ของพระพุทธเจ้า และผู้มีญาณวิเศษ สำหรับพยากรณ์เหล่านี้มีข้อสังเกตว่ามีอายุมากว่า 2000 กว่าปีแล้ว โดยผู้พยากรณ์อยู่ต่างสถานที่กัน และการพยากรณ์ต่างเวลากัน แค่ผลชองพยากรณ์เป็นไปเหมือนกัน ด้วยหลักฐาน เหตุผล และมีที่มาที่ไป
    สรุปได้คือการมาปรากฏของ ท้าวสักกะเทวราช เทพผู้สร้าง ตลอดจนเป็นจอมเทพผู้ให้ทำให้มีการสืบเผ่าพันธุ์สืบเนื่องอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ โดยให้น้ำอันเป็นสิ่งจำเป็นของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายโดยไม่ขาดหาย

    <o></o>
    ถ้าเราศึกษาข้อมูลที่พระพุทธเจ้าทรงตรัส และศาสนาโลก อื่นๆ ที่มีบ่งไว้ ท้าวสักกะฯ คือพระจักรพรรดิโลก เพื่อนำมนุษยโลกเข้าสู่กฤดายุค หรือยุคทอง ซึ่งเรื่องยุคเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป โดยสังเกตง่ายๆ ของการมีศัพท์ของภาษาต่างๆ เรียกชื่อของแต่ละยุคมาแต่โบราณกาล
    <o></o>
    เรื่องแผ่นดินไหว ในปัจจุบันเป็นที่ทราบสำหรับผู้ที่ติดตามข่าวว่า แผ่นดินไหวเกิดบ่อยมากขึ้น จะเห็นได้ว่าแม้นักข่าวอังกฤษ เยอร์มันและที่อื่นๆ ที่ไม่เคยสนใจในเรื่องการพยากรณ์ ในขณะนี้นักข่างเองได้หันมาสนใจ เนื่องจากภัยพิบัติและแผ่นดินไหวที่บ่งอยู่ในศาสนาที่เขารู้จัก น่าจะมีเค้าของความเป็นไปได้
    <o></o>
    โปรดพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวกับแผ่นดินไหวดังนี้<o></o>
    <o></o>
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค

    ๓. มหาปรินิพพานสูตร (๑๖)<o></o>
    <o></o>
    [๙๘] พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรพระอานนท์ เหตุ ๘ ประการ<o></o>
    ปัจจัย ๘ ประการเหล่านี้แล เพื่อให้แผ่นดินไหวใหญ่ปรากฏ ๘ ประการเป็นไฉน ฯ<o></o>
    1 ดูกรอานนท์ มหาปฐพีนี้ตั้งอยู่บนน้ำ น้ำตั้งอยู่บนลม ลมตั้งอยู่บนอากาศ<o></o>
    สมัยที่ลมใหญ่พัด เมื่อลมใหญ่พัดอยู่ย่อมยังน้ำให้ไหว น้ำไหวแล้ว ย่อมยัง<o></o>

    แผ่นดินให้ไหว อันนี้เป็นเหตุ เป็นปัจจัยข้อที่หนึ่ง เพื่อให้แผ่นดินไหวใหญ่<o></o>
    ปรากฏ ฯ <o></o>
    เรื่องนี้ แม้นาซ่า (์NASA) เองตอบว่า ยังไม่ทราบสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ผิดแปลกธรรมชาติไป เรื่องนี้ถ้าเราได้ศึกษา วิทยาศาสตร์อวกาศ (Space Science) เราจะเห็นได้ว่ามีความเกี่ยวเนื่องของ บรรยากาศและอวกาศกับการเกิดแผ่นดินไหว ดังนั้นน่าจะคล้ายๆที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้แล้ว<o></o>

    2 อีกประการหนึ่ง สมณะหรือพราหมณ์ผู้มีฤทธิ์ ถึงความเป็นผู้ชำนาญใน<o></o>
    ทางจิต หรือว่าเทวดาผู้มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก เขาเจริญปฐวีสัญญาเพียง<o></o>เล็กน้อย
    เจริญอาโปสัญญาอย่างแรงกล้า เขาย่อมยังแผ่นดินนี้ให้สะเทือนสะท้าน<o></o>

    หวั่นไหวได้ อันนี้เป็นปัจจัยข้อที่สอง เพื่อให้แผ่นดินไหวใหญ่ปรากฏ ฯ
    เรื่องนี้คงกล่าวได้ยาก แต่ถ้าพิจารณาความคล้ายๆ กันในเรื่องศรัทธาโบราณ และศาสนาโลกอื่นๆ ได้แสดงถึงเทพเจ้ามีความสามารถที่กำหนดแผ่นดินไหวได้<o></o>

    5 อีกประการหนึ่ง เมื่อใด พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ<o></o>
    เมื่อนั้น แผ่นดินนี้ย่อมสะเทือนสะท้านหวั่นไหว อันนี้เป็นเหตุเป็นปัจจัยข้อที่ห้า<o></o>
    เพื่อให้แผ่นดินไหวใหญ่ปรากฏ ฯ <o></o>
    เรื่องนี้น่าจะเป็นไปได้ถ้าพิจารณาตามข้อ 2 และ โดยการพิจารณาการรู้ด้วยตนเองของท้าวสักกะฯ ผู้จุติบนโลกในเรื่อง “อมตธรรม” และ “พระสูตร หรือ พระธรรม 7 ประการ” เมื่อเดือนมาราคม 2535 โดยที่เราสามารถหาหลักฐานได้ว่าเป็นปีที่ภูมิอากาศเริ่มผิดปกติธรรมชาติ มาจนถึงทุกวันนี้ โปรดดูตอบกระทู้
    # <o></o>
    121 และ # 123

    6 อีกประการหนึ่ง เมื่อใด พระตถาคตให้อนุตรธรรมจักรเป็นไป เมื่อนั้น<o></o>
    แผ่นดินนี้ย่อมสะเทือนสะท้านหวั่นไหว อันนี้เป็นเหตุเป็นปัจจัยข้อที่หก เพื่อให้<o></o>
    แผ่นดินไหวใหญ่ปรากฏ ฯ <o></o>
    เรื่องนี้ควรเกี่ยวข้องกับข้อ 5 สำหรับหลักฐานอยู่ในหนังสือที่ ท้าวสักกะฯ ส่งให้สื่อชั้นนำของโลก และบุคคลสำคัญๆ เมื่อเดือน 4 มิถุนายน 2535 (ตอบกระทู้ # 121) ว่าถ้าไม่มีการหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการพยากรณ์ของนอสตราดามุส และการมาของพระจักรพรรดิ เหตุการณ์เลวร้ายต่างๆ จะเกิดขึ้นไม่หยุด และจะรุนแรงจนกว่าจะมีการพิสูจน์หาข้อเท็จจริง<o></o>
    <o></o>
    สำหรับผู้มีญาณวิเศษ จะขอยกเป็นตัวอย่างเช่น <o></o>
    <o></o>
    Nahum Nah.1<o></o>
    [3] The LORD is slow to anger, and great in power, and will not at all acquit the wicked: the LORD hath his way in the whirlwind and in the storm, and the clouds are the dust of his feet.
    [4] He rebuketh the sea, and maketh it dry, and drieth up all the rivers: Bashan languisheth, and <st1:city w:st="on">Carmel</st1:city>, and the flower of <st1><st1:country-region w:st="on">Lebanon</st1:country-region></st1> languisheth.
    [5] The mountains quake at him, and the hills melt, and the earth is burned at his presence, yea, the world, and all that dwell therein.
    [6] Who can stand before his indignation? and who can abide in the fierceness of his anger? his fury is poured out like fire, and the rocks are thrown down by him.
    [7] The LORD is good, a strong hold in the day of trouble; and he knoweth them that trust in him.
    [8] But with an overrunning flood he will make an utter end of the place thereof, and darkness shall pursue his enemies.<o></o>

    ไทย
    [3] พระเจ้าจะทรงอดทนอดกลั้นไม่โกรธง่าย และทรงไว้ด้วยอำนาจ และจะไม่ปล่อยตัวพวกชั่วร้ายลอยนวล : พระเจ้าทรงอำนาจในกำหนดลมบ้าหมู หรือ ทอร์นาโดขึ้น ดูตอบกระทู้ # 109 และกำหนดพายุและเมฆฝน สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงฝุ่นเกาะอยู่ที่พระบาทของพระองค์
    [4] พระองค์ทรงกระทำพลิกทะเลและทรงทำให้แม่น้ำทั้งหมดแห้งได้ เมืองบาซาม และคาราเมลและดอกไม้ของเลบานอนจะแห้งเหี่ยวอิดโรย
    [5] ภูเขาทั้งหลายสั่นสะเทือนเพราะแผ่นดินไหว และพังทลาย และแผ่นดินถูกแผดเผา รวมถึงโลกและสิ่งที่อาศัยอยู่ในนั้นด้วย

    [6] ใครล่ะที่สามารถยืนอยู่ต่อหน้าความไม่พอใจของพระเจ้าได้? และผู้ใดที่สามารถโต้ตอบการปฏิบัติด้วยความรุนแรง ความโกรธของพระเจ้าได้ล่ะ ความโกรธของพระองค์ ออกมาเช่นไฟและหินที่ล่วงหล่นลงมาจากฟ้า
    [7] พระเจ้าเป็นสิ่งที่ดีในวันที่มีปัญหา และพระองค์ทรงรอบรู้พวกมนุษย์ ถ้าไว้วางใจในพระองค์
    [8] แต่ด้วยพลังน้ำท่วมที่เกิดขึ้น พระองค์จะทำให้ทุกอย่างสิ้นที่สุดลง และความมืดจะติดตามศัตรูของพระองค์ไป<o></o>

    <o></o>
    2 Esdras 4Ezra.16<o></o>
    [8] The mighty Lord sendeth the plagues and who is he that can drive them away?
    [9] A fire shall go forth from his wrath, and who is he that may quench it?<o></o>

    [10] He shall cast lightnings, and who shall not fear? he shall thunder, and who shall not be afraid?
    [11] The Lord shall threaten, and who shall not be utterly beaten to powder at his presence?
    [12] The earth quaketh, and the foundations thereof; the sea ariseth up with waves from the deep, and the waves of it are troubled, and the fishes thereof also, before the Lord, and before the glory of his power:
    [13] For strong is his right hand that bendeth the bow, his arrows that he shooteth are sharp, and shall not miss, when they begin to be shot into the ends of the world.
    [14] Behold, the plagues are sent, and shall not return again, until they come upon the earth.
    [15] The fire is kindled, and shall not be put out, till it consume the foundation of the earth.<o></o>

    ไทย
    [8] พระเจ้าทรงให้ภัยพิบัติอันยิ่งใหญ่เกิดขึ้น และใครเล่าที่สามารถขับพวกมนุษย์ที่ไม่ถูกต้องการออกไป?
    [9] พระองค์จะกำหนดไฟเผาผลานเป็นการลงโทษ และจะมีใครที่อาจจะดับได้อย่างไร
    กัน
    [10] พระองค์ทรงกำหนดฟ้าผ่า และใครเล่าที่ไม่กลัว? พระองค์ทรงกำหนดฟ้าร้องและใครจะไม่กลัว?

    [11] พระเจ้าจะกำหนดโทษและที่จะไม่ถูกทำโทษอย่างรุนแรง เพียงแค่คล้ายแป้งฝุ่นเท่านั้นใช่ไหม?

    [12] โลกจะสั่นสะเทือนโลกด้วยแผ่นดินไหว และเป็นการขยับพื้นฐานของโลก; น้ำทะเลท่วมขึ้น กับคลื่นยักษ์จากห้วงลึก (สึนามิ) และคลื่นจะปั่นป่วนทำความเดือดร้อนแม้กระทั้งปลา จะเกิดขึ้นก่อนที่พระองค์จะแสดงความยิ่งใหญ่ของพระองค์ ที่จะให้ทราบถึงพระอำนาจที่น่าเกรงขาม :
    [13] สำหรับพระหัตขวาที่ทรงอำนาจ หัวลูกศรของพระองค์ทรงพลัง คมและจะไม่พลาดเมื่อเหล่าเทพเทวดาทำศึกในวาระสุดท้ายของโลกมนุษย์
    [14] ขณะที่ภัยพิบัติจะถูกส่งและจะไม่กลับมาอีกครั้งจนกว่าจะเผาผลาญสำเร็จกิจบนแผ่นดิน
    [15] ไฟจะจุดขึ้น และจะไม่ดับจนล้าผลาญไปทั่วพื้นปฐพี

    <o></o>
    นอสตราดามุุส กล่าวถึงการที่มนุษย์จะถูกลงโทษอย่างรุนแรงเช่นกัน โปรดพึงอย่าคิดว่า การที่มนุษย์มีความเป็นอยู่ทุกวันนี้ จอมเทพจะไม่รู้เห็น พระองค์ทรงทราบถึงความเห็นแก่ตน ความมีมิจฉาทิฐิ การไม่ประพฤติปฏิบัติในสิ่งดีมีศีลธรรม สิ่งเหล่านี้มีบ่งอยู่ในพยากรณ์ต่างๆ แม้ในพระพุทธศาสนาก็มีบ่งอยู่หลายแห่ง

    2. ดาวเรียงตัวหรือดาวพระเคราะห์เรียงแถว
    <o></o>
    ขยายความของ คำตอบกระทู้ # 108

    [​IMG]
    (ดาว 7 ดวง วันที่ 5 เดือนที่ 5)

    จาก Vishnu Purana "โดย พลังของกาลกี (Kalki "อัศวินม้าขาว") พวกไร้ศีลธรรม หัวขโมยและพวกจิตใจที่มีความชั่วร้าย พวกผู้คนเหล่านี้ไม่สามารถต้านทานการทำลายจากพระองค์ได้ กาลกีจะ สร้างความชอบธรรมขึ้นบนแผ่นดินและจิตใจของบรรดาผู้ที่อยู่ถึงแม้ปลายของยุคของกาลกีจะเป็นผู้ตื่นแล้ว ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ผู้รู้ในธรรมอันดี และจะ เป็นผู้บริสุทธิ์ดังความใสสะอาดของแก้วคริสตัล คนที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นเช่นนี้ ต้องรอในสมัยยุคของพระองค์ที่จะเกิดในเวลาที่กำหนดไว้ และจะสืบเชื้อสายที่ดีของมนุษยชาติและจะปฏิบัติตามกฎของยุคใหม่ของกฤดายุคของกาลกี ที่มีแต่ความบริสุทธิ์ผุดผ่อง ตามที่กล่าวว่าจะเกิดขึ้นเมื่อความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์และหลังของกลียุค เมื่อดวงจันทร์และดาวเคราะห์ดาวพฤหัสบดีที่อยู่ในแถวเดียวกันที่ยุคกฤดายุคจักกลับมา”<o></o>
    <o></o>
    สรุป ไม่ว่าพยากรณ์การเกิดแผ่นดินไหว และ การเรียงตัวของดาวพระเคราะห์และดวงอาทิตย์ มิใช่เป็นเพียงสองปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงหลัง พ.ศ. 2535 ที่ท้าวสักกะฯ ได้รู้ อมตธรรมและพระสูตร หรือ ธรรม 7 ประการยังมีพยากรณ์ อื่นๆ ตามที่ ตอบกระทู้ # 108 ได้แสดงไว้แล้ว ดังนั้น เราอย่าพึงประมาทในสิ่งที่พยากรณ์ต่างๆ เป็นความจริง ตามหลักฐานที่เป็นที่ยอมรับได้โดยทั่วไปครับ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 สิงหาคม 2010
  6. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    ขอขอบคุณมากครับ ที่คุณ Itou ได้กรุณาแสดงข้อคิดเห็นครับ

    ออร์กะ จะขอแยกตอบเป็นประเด็นครับ เพราะมีหลายเรื่องมากครับ

    อ้างอิง:<o></o>

    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> สรุป โปรดพิจารณา 2 สิ่งที่ท้าวสักกะตรัสไว้คือ
    1.
    ความตรัสรู้จักมีแก่เราในภายหน้า คำว่าตรัสรู้จะใชกับพระพุทธเจ้าครับ
    2. เราจุติจากกายมนุษย์แล้ว ละอายุอันเป็นของ มนุษย์แล้ว จักกลับเป็นเทวดาอีกจักเป็นผู้สูงสุดในเทวโลก แสดงว่าท้าวท้าวสักกะจอมเทพ สามารถจุติแบ่งภาคมาป็นมนุษย์ได้ <o></o>
    </td> </tr> </tbody></table>
    ตามที่คุณ Itou เขียนว่า "ผมขอแย้งในข้อ 2. พระท่านบอกว่าเทวดาไม่มีแบ่งภาคมาเกิด นั้นมันความเชื่อของ พราหมณ์-ฮินดู ถ้าจะมาเกิดก็ต้องมาเกิดเลย แต่แบ่งภาคขณะเป็นเทวดาทำได้

    แต่พระอินทร์ พระนารายณ์ พระ..อื่นๆอีกมากมาย เป็นเพียงชื่อตำแหน่ง
    เพราะยังไม่ถึงนิพพานเพียงใด ก็ยังต้องลงมาเกิดอยู่ดี ที่มาคือ มนุษย์บนกับพระนารายณ์ ที่นี้บนสวรรค์ไม่มีเทวดาชื่อ พระนารายณ์ จึงต้องหาเทพสักองค์รับบนไป ประมาณนี้"

    ออร์กะ มีคำถามขอเรียนถาม คุณ Itou ที่เขียนว่า "พระท่านบอกว่า" โดยไม่มีข้ออ้างอิงว่าใครคือ พระท่าน ออร์กะไม่สามารถหยิบยกขึ้นมาชี้แจงใครๆ ได้ เพราะเป็นการกล่าวลอยๆ เป็นความเชื่อเฉพาะบุคคล ไม่เป็นไปตาม กาลามสูตร ของพระพุทธเจ้าตรัสสอน อาจทำให้ผู้อื่นโต้แย้งดังนี้

    1. ใครคือพระท่าน มีตัวตน มีนามอย่างไร อยู่ที่ไหน ติดต่อได้อย่างไรครับ

    2. พระท่านทราบได้อย่างไรว่า "
    พระท่านบอกว่าเทวดาไม่มีแบ่งภาคมาเกิด นั้นมันความเชื่อของ พราหมณ์-ฮินดู ถ้าจะมาเกิดก็ต้องมาเกิดเลย แต่แบ่งภาคขณะเป็นเทวดาทำได้

    แต่พระอินทร์ พระนารายณ์ พระ..อื่นๆอีกมากมาย เป็นเพียงชื่อตำแหน่ง
    เพราะยังไม่ถึงนิพพานเพียงใด ก็ยังต้องลงมาเกิดอยู่ดี ที่มาคือ มนุษย์บนกับพระนารายณ์ ที่นี้บนสวรรค์ไม่มีเทวดาชื่อ พระนารายณ์ จึงต้องหาเทพสักองค์รับบนไป ประมาณนี้"

    สิ่งที่พระท่านกล่าวมานี้ มีอะไรที่สามารถทำให้เป็นเรื่องที่เชื่อถือได้ เป็นกุศล เป็นประโยชน์ ไม่มีโทษครับ

    3. พระท่านมีอะไรเป็นหลักฐาน ที่ออร์กะสามารถนำไปเป็นข้ออ้างอิง ชี้แจงให้ท่านผู้ที่สนใจเข้าใจได้ตามหลักการ "กาลามสูตร" ครับ

    ขอความกรุณาคุณ Itou โปรดให้ข้อมูลเพื่อเป็นประโยชน์แด่ท่านทั้งหลาย ที่สนใจที่พระท่านกล่าว ออร์กะขอขอบคุณมากมาล่วงหน้าครับ

    สำหรับข้อ 2 ที่คุณ Itou มีความสงสัย ออร์กะขอชี้แจงตามหลักฐานดังนี้ครับ

    1. ตามหลักพระพุทธศาสนาทุกนิกาย มีความเข้าใจใน สังสารวัฏ โดยมีกรรมเป็นเครื่องปรุงแต่ง จนกว่าจะสิ้นสุดที่นิพพาน
    2. พุทธศาสนากล่าวถึง 3 โลกคือ สวรรค์ โลกมนุษย์ และ นรกภูมิ
    ทั้งสองข้อที่กล่าวมาคือสิ่งที่พุทธศาสนิกชนยอมรับโดยศรัทธา

    วัชรยาน
    (Vajrayana) เป็นชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งอธิบายสังวารวัฏง่ายๆ ด้วยรูปภาพที่เข้าใจได้สำหรับผู้สนใจ

    [​IMG]

    อาจมีบางท่านสงสัยว่า ทำไมออร์กะนำรูปสังวารวัฏมาอ้าง เพื่อประโยชน์อันใด

    เนื่องจากศรัทธาโบราณและศาสนาอื่นๆ ยอมรับในเรื่องของ 3 โลก คือ สวรรค์ โลก และนรกซึ่งมีบ่งอยู่แล้วในรูป คือโลกของคน สวรรค์ และนรก ดังนั้นการพูดถึง 3 โลกจึงเป็นที่รับทราบได้ทั่วไป

    ประเด็นของการภาคแบ่งแยกอย่างไรนั้น ออร์กะไม่ทราบครับ แต่ที่ทราบในเรื่องของท้าวสักกะเทวราช เนื่องจากผลการศึกษาวิเคราะห์ตามหลักฐาน ที่มีมากเพียงพอสามารถสรุปได้ว่า ท้าวสักกะฯ สามารแบ่งภาคมาจุติบนโลกได้ โดยขอยกหลักฐานอายุ 2700 ปีมาแสดงดังนี้ครับ

    Isaiah 53<o></o>
    [1] Who hath believed our report? and to whom is the arm of the LORD revealed?
    [2] For he shall grow up before him as a tender plant, and as a root out of a dry ground: he hath no form nor comeliness; and when we shall see him, there is no beauty that we should desire him.
    [3] He is despised and rejected of men; a man of sorrows, and acquainted with grief: and we hid as it were our faces from him; he was despised, and we esteemed him not.

    [4] Surely he hath borne our griefs, and carried our sorrows: yet we did esteem him stricken, smitten of God, and afflicted.
    [5] But he was wounded for our transgressions, he was bruised for our iniquities: the chastisement of our peace was upon him; and with his stripes we are healed.

    <o></o>
    Isaiah 53 อายุ 2700 ปี ที่เป็นที่ยอมรับของคนไม่น้อยกว่า 38% ทั่วโลก บ่งในเรื่องพระจักรพรรดิไว้ว่า
    [1] มีใคร (ผู้คนทั้งหลาย) บ้างที่เชื่อถือรายงานของเรา และใคร (พระจักรพรรดิ) คือผู้ที่แขนของพระเจ้าจะโอบอุ้ม?
    [2] สำหรับเขา (ผู้จะเป็นพระจักรพรรดิ) จะเติบโตขึ้นก่อนที่ เขา (พระจักรพรรดิ) นั้น พระองค์เป็นเสมือนต้นไม้ที่ไม่แข็งแกร่ง มีรากออกมาจากพื้นดินที่แห้งแร้ง (เสมือนต้นไม้ใกล้ตาย) พระองค์ไม่มีรูปแบบที่น่าสนใจ และเมื่อเราเห็นพระองค์ไม่มีความสง่างามและไม่ได้ประสงค์ที่ต้องการพระองค์
    [3] พระองค์ถูกดูหมิ่นและถูกปฏิเสธจากผู้คนทั้งหลาย พระองค์เป็นผู้ที่มีแต่ความเจ็บปวดรวดร้าว และคุ้นเคยกับความเสียใจ มนุษย์ทั้งหลายหลบหน้าไปจากพระองค์ พระองค์ถูกดูหมิ่นและเราทั้งหลายไม่นับถือพระองค์
    [4] แท้จริงพระองค์ทรงทรงเกิดมาเพื่อขจัดความเศร้าโศกของเราทั้งหลาย แต่เราไม่เห็นคุณค่าพระองค์เลย เหมือนกับเป็นการลงโทษของพระเจ้าที่มีต่อพระองค์ เพื่อให้พระองค์ได้รับความทนทุกข์ทรมาน <o></o>

    [5] แต่พระองค์ทีต้องทนทุกข์ทรมานก็เนื่องจากความชั่วของเราๆ ทั้งหลาย เพื่อความสันติสุขของเราทั้งหลายเกิดขึ้นได้ก็เพราะพระเจ้าได้ลงโทษพระองค์นี่เอง รอยจารึกแห่งตราบาปทีเกิดกับพระองค์นั้นเพื่อทำให้เราทั้งหลายพ้นจากมลทิน
    <o></o>
    ออร์กะ อ่านแล้วนึกถึงพระพุทธเจ้าของเรา ที่ทรงทนทุกข์ทรมานในการบำเพ็ญทุกขกริยาจนพระชนชีพเกือบไปไม่รอด <o></o>

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ ชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ๒. มหาสีหนาทสูตร<o></o>

    ดูกรสารีบุตร เรานั้นแลเคยคลานเข้าไปในคอกที่เหล่าโคออกไปแล้ว และปราศจากคนเลี้ยงโค กินโคมัยของลูกโคอ่อนที่ยังไม่ทิ้งแม่ มูตรและกรีสของเรายังไม่หมดสิ้นไป เพียงไร เราก็กินมูตร และกรีส (อุจจาระ) ของตนเองเป็นอาหาร ดูกรสารีบุตร นี้แหละเป็นวัตรในโภชนะ มหาวิกัฏของเรา …”<o></o><o></o>

    ดูกรสารีบุตร เราย่อมสำเร็จการนอนแอบอิงกระดูกศพในป่าช้า พวกเด็กเลี้ยง<o></o>โคเข้ามาใกล้เราแล้ว ถ่มน้ำลายรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะรดแล้ว โปรยฝุ่นรดบ้าง เอาไม้ยอนที่ช่อง หูบ้าง เราไม่รู้สึกว่า ยังจิตอันลามกให้เกิดขึ้นในพวกเด็กเหล่านั้นเลย ดูกรสารีบุตร นี้แหละเป็น วัตรในการอยู่ด้วยอุเบกขาของเรา ...”<o></o>
    <o></o>
    ดูกรสารีบุตร เมื่อเรากิน [อาหารเท่า] ผลพุทราผลเดียวเท่านั้น ร่างกายก็ถึงความซูบผอมยิ่งนัก … ตะโพกของเราเปรียบเหมือนรอยเท้าอูฐ … กระดูกซี่โครงของเราเหลื่อมขึ้น เหลื่อมลงเห็นปรากฏ … ดวงตาของเราลึกเข้าไปใน เบ้าตา เหมือนเงาดวงดาวปรากฏในบ่อน้ำอันลึกฉะนั้น … ดูกรสารีบุตร เรานั้นแลคิดว่า จะลูบคลำผิวหนังท้อง ก็คลำถูกกระดูกสันหลังทีเดียว
    <o></o>
    ออร์กะศรัทธาในความทุกข์ของพระพุทธเจ้า ที่ทรงพยายามเพื่อช่วยเราทั้งหลายให้พ้นจากทุกข์ ความพยายามของพระโพธิสัตว์ที่ทรงกระทำใน 6 ปี กว่าที่พระองค์จักทรงตรัสรู้ได้นั้น มีความลำบากยากแค้นแสนสาหัสยิ่งนักเพียงใด ออร์กะเห็นคุณค่าของพระพุทธศาสนายิ่งนัก เห็นคำตรัสสอนของพระพุทธองค์เป็นปาฏิหาริย์ (คือเป็นคำตรัสสอนที่เป็นอัศจรรย์) มีหลักฐาน เป็นวิชาการที่แท้จริง ออร์กะจึงมีศรัทธาในสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายิ่งนัก<o></o>

    เรื่องพระจักรพรรดิก็คงดำเนินรอยตามเช่นเดียวกัน แต่ความทุกข์ของพระจักรพรรดิ ถูกกำหนดขึ้นโดยพระเจ้า หรือท้าวสักกะเทวราช ซึ่งจากข้อมูลอีกมาก ชี้ให้เห็นว่าพระจักรพรรดิก็คือท้าวสักกะฯ ที่แบ่งภาคมาจุตินั่นเอง
    จากหลักฐานนี้ซึ่งเป๋นหนึ่งในหลายหลักฐาน ทำให้เข้าใจว่าท้าวสักกะเทวราชทรงกดดันท้าวสักกะฯ ผู้จุติบนโลกให้ได้รับทุกข์เพื่อช่วยมนุษยโลกพ้นจากมลทิน
    <o></o>
    หลักฐาน ตอบกระทู้ #107 ในเรื่องแบ่งภาคของท้าวสักกะเทวราชมาจุติที่กรุงเทพฯ และการกำหนดโดยท้าวสักกะเทวราช ผู้อยู่เบื้องบน ได้กำหนดในสิ่งที่มนุษย์ธรรมดาไม่สามารถจักกระทำได้ ยกเป็นตัวอย่าง เช่น
    <o></o>
    1. หน้าร้อน กลายเป็นหนาว หน้าหนาว กลายเป็นร้อน ในปี '92 (พ.ศ. 2535) ที่ท้าวสักกะ ผู้จุติบนโลกรู้ "อมตธรรม"
    <o></o>
    2. ในปี พ.ศ. 2535 ฟ้าฝ่าแรงมาก ในฝรั่งเศษ ฟ้าฝ่า 30,000 ครั้งในวันจันทร์ และ 18,000 ในวันอังคาร เรื่องสายฟ้าเกี่ยวข้องกับท้าวสักกะเทวราช)<o></o>
    <o></o>
    3. แต่ที่เมืองที่ท้าวสักกะ ผู้จุติบนโลกอยู่นั้น การ์ตูนเขียนภาพล้อว่า เมืองนี้แปลกปลาด ไม่ร้อนไม่หนาว และหนังสือพิมพ์ลงข่าวว่า เมืองอื่นๆ ประสบภัยพิบัติรุนแรง แต่เมืองนี้อยู่อย่างไร้ปัญหา เพราะโชคดี
    <o></o>
    ท้าวสักกะ ที่มีหลักฐานหน้าเชื่อถือได้ เป็นผู้มาจุติบนโลก “ท่านผู้นี้ไม่มี อิทธิปาฏิหาริย์” ดังที่บ่งไว้ว่า<o></o> ดังนั้น ผู้ที่ทำให้สิ่งผิดปกติธรรมชาติเกิดขึ้น ควรที่จะเป็นท้าวสักกะเทวราชผู้อยู่เบื้องบนสวรรค์เป็นผู้กำหนดครับ โดยการวิเคราะห์ยึกหลักหน้าที่และอำนาจของท้าวสักกะ เป็นเกณฑ์ครับ
    <o></o>
    ออร์กะและเพื่อนๆ เห็นหลักฐานตามตำนานจริงๆ คือบุคคลที่อยู่ที่บ้านตามพยากรณ์อายุกว่า 2700 ปี ครับ ท่านเป็นคนไทยในพระพุทธศาสนา แต่ย้ายไปอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เรื่องราวของท่านผู้นี้ดูได้จากที่ ออร์กะนำมาสรุปลงไว้ในกระทู้บ้างแล้วครับ<o></o>
    <o></o>
    ท่านผู้นี้ (ท้าวสักกะฯ) ไม่มี อิทธิปาฏิหาริย์ แต่จากหลักฐานทั้งที่พระพุทธเจ้าทรงตรัส หลักฐานของศาสนาอิสลามและลัทธิขงจื้อ และคำทำนายที่สำคัญๆ บ่งไว้ชัดเจนว่าความรู้ของพระจักรพรรดิ เกิดจากตัวของพระจักรพรรดิเอง<o></o>

    สรุป
    ศีล สมาธิ ปัญญา บังเกิดแด่ผู้ใช้ปรัชญาของพระพุทธเจ้าอย่างถูกวิธี และการที่เราทั้งหลายจักช่วยให้พระพุทธศาสนา มีคุณค่าแก่ทุกผู้คนพุทธศาสนิกชนเองย่อมกระทำตนเป็นตัวอย่าง ให้ผู้อื่นเห็นได้ รับรู้ได้ครับ

    ขอขอบคุณ ขอบพระคุณ

    ออร์กะ


    <o></o>

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 สิงหาคม 2010
  7. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    ขออนุญาติร่วมสนทนาออกความเห็นเรื่องพระจักรพรรดิ์ นะคะ

    สมเด็จพระจักรพรรดิ์ ไม่อาจเกิดจากมนุษย์แต่งตั้งกันเองได้
    แต่เกิดจากบุญบารมีของผู้กำเนิดเป็นพระจักรพรรดิ์เอง และต้องเป็นยุคสมัยที่จะได้บังเกิดด้วย

    จักรแก้วอันเป็นทิพย์นั้นตามทที่มีบันทึกไว้ในพระไตรปิฎกเกิดจาก มนุษย์ผู้ประเสริฐบำเพ็ญ
    จักกวัตติวัตร ผู้สระพระเศียร แล้วรักษาอุโบสถอยู่ ณ ปราสาทอันประเสริฐชั้นบน
    ในวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ ฯ

    ถ้าหากจักรแก้วอันเป็นทิพย์ไม่ปรากฏ ก็ย่อมไม่บังเกิดสมเด็จพระจักรพรรดิ์ เมื่อเป็นดังนี้
    การค้นหาสมเด็จพระจักพรรดิ์ ย่อมไม่มีทางสำเร็จ อาจพบแต่พระจักรพรรดิ์อุปโลกน์
    จากมนุษย์แต่งตั้งกันเองหรือเป็น แอนตี้ไครส์ ได้เท่านั้น

    คัดมาบางส่วนจากพระไตรปิฎก
    ดูกรพ่อ ด้วยว่าจักรแก้วอันเป็นทิพย์หาใช่สมบัติสืบมาจาก
    บิดาของพ่อไม่ ดูกรพ่อ เชิญพ่อประพฤติในจักกวัตติวัตรอันประเสริฐเถิด ข้อนี้
    เป็นฐานะที่จะมีได้แล เมื่อพ่อประพฤติในจักกวัตติวัตรอันประเสริฐ จักรแก้ว
    อันเป็นทิพย์ซึ่งมีกำพันหนึ่ง มีกง มีดุม บริบูรณ์ด้วยอาการทุกอย่าง จักปรากฏมี
    แก่พ่อผู้สระพระเศียร แล้วรักษาอุโบสถอยู่ ณ ปราสาทอันประเสริฐชั้นบน ใน
    วันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ ฯ
    ร. พระพุทธเจ้าข้า ก็จักกวัตติวัตรอันประเสริฐนั้น เป็นไฉน ฯ
    ราช. ดูกรพ่อ ถ้าเช่นนั้น พ่อจงอาศัยธรรมเท่านั้น สักการะธรรม
    ทำความเคารพธรรม นับถือธรรม บูชาธรรม ยำเกรงธรรม มีธรรมเป็นธงชัย
    มีธรรมเป็นยอด มีธรรมเป็นใหญ่ จงจัดการรักษาป้องกันและคุ้มครองอันเป็นธรรม
    ในชนภายใน ในหมู่พล ในพวกกษัตริย์ผู้เป็นอนุยนต์ ในพวกพราหมณ์และ
    คฤหบดี ในชาวนิคมและชาวชนบททั้งหลาย ในพวกสมณพราหมณ์ ในเหล่าเนื้อ
    และนก ดูกรพ่อ การอธรรมอย่าให้มีได้ในแว่นแคว้นของพ่อเลย ดูกรพ่อ อนึ่ง
    บุคคลเหล่าใดในแว่นแคว้นของพ่อ ไม่มีทรัพย์ พ่อพึงให้ทรัพย์แก่บุคคลเหล่านั้น
    ด้วย ดูกรพ่อ อนึ่ง สมณพราหมณ์เหล่าใด ในแว่นแคว้นของพ่อ งดเว้นจาก
    ความเมาและความประมาท ตั้งมั่นอยู่ในขันติและโสรัจจะ ฝึกตนแต่ผู้เดียว สงบ
    ตนแต่ผู้เดียว ให้ตนดับกิเลสอยู่แต่ผู้เดียว พึงเข้าไปหาสมณพราหมณ์เหล่านั้น
    โดยกาลอันควร แล้วไต่ถามสอบถามว่า ท่านขอรับ กุศลคืออะไร ท่านขอรับ
    อกุศลคืออะไร กรรมมีโทษคืออะไร กรรมไม่มีโทษคืออะไร กรรมอะไรควรเสพ
    กรรมอะไรไม่ควรเสพ กรรมอะไรอันข้าพเจ้ากระทำอยู่ พึงมีเพื่อไม่เป็นประโยชน์
    เพื่อทุกข์ สิ้นกาลนาน หรือว่ากรรมอะไรที่ข้าพเจ้ากระทำอยู่ พึงมีเพื่อประโยชน์
    เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน พ่อได้ฟังคำของสมณพราหมณ์เหล่านั้นแล้ว สิ่งใด
    เป็นอกุศล พึงละเว้นสิ่งนั้นเสีย สิ่งใดเป็นกุศลพึงถือมั่นสิ่งนั้นประพฤติ ดูกรพ่อ
    นี้แล คือจักกวัตติวัตรอันประเสริฐนั้น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท้าวเธอรับสนองพระดำรัสพระราชฤาษีแล้ว ทรง
    ประพฤติในจักกวัตติวัตรอันประเสริฐ เมื่อท้าวเธอทรงประพฤติจักกวัตติวัตรอัน
    ประเสริฐอยู่ จักรแก้วอันเป็นทิพย์ซึ่งมีกำพันหนึ่ง มีกง มีดุม บริบูรณ์ด้วย
    อาการทุกอย่าง ปรากฏมีแก่ท้าวเธอผู้สระพระเศียร ทรงรักษาอุโบสถอยู่ ณ
    ปราสาทอันประเสริฐชั้นบน ในวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ ท้าวเธอทอดพระเนตรเห็นแล้ว
    มีพระดำริว่า ก็เราได้สดับมาว่า จักรแก้วอันเป็นทิพย์ มีกำพันหนึ่ง มีกง มีดุม
    บริบูรณ์ด้วยอาการทุกอย่าง ปรากฏมีแก่พระราชาผู้เป็นกษัตริย์พระองค์ใด ผู้ได้
    มูรธาภิเษก สระพระเศียร ทรงรักษาอุโบสถอยู่ ณ ปราสาทอันประเสริฐชั้นบน
    ในวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ พระราชาพระองค์นั้น เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ เราได้เป็น
    พระเจ้าจักรพรรดิ์หรือหนอ ฯ
    [๓๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ลำดับนั้น ท้าวเธอเสด็จลุกจากพระที่แล้ว
    ทรงทำผ้าอุตตราสงค์เฉวียงพระอังสาข้างหนึ่ง จับพระเต้าด้วยพระหัตถ์ซ้าย ทรง
    ประคองจักรแก้วด้วยพระหัตถ์ขวา แล้วตรัสว่า ขอจักรแก้วอันประเสริฐ จงเป็น
    ไปเถิด ขอจักรแก้วอันประเสริฐ จงชนะโลกทั้งปวงเถิด ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ขณะนั้น จักรแก้วนั้นก็เป็นไปทางทิศบูรพา พระเจ้า
    จักรพรรดิ์พร้อมด้วยจตุรงคินีเสนา ก็เสด็จติดตามไป ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฝ่ายพระเจ้าแผ่นดินที่อยู่ ณ ทิศบูรพาพากันเสด็จ
    เข้าไปเฝ้าพระเจ้าจักรพรรดิ์ ได้กราบทูลอย่างนี้ว่า ขอเชิญเสด็จมาเถิด มหาราช-
    *เจ้า พระองค์เสด็จมาดีแล้ว ราชอาณาจักรเหล่านี้ เป็นของพระองค์ทั้งสิ้น ขอ
    พระองค์พระราชทานพระบรมราโชวาทเถิด มหาราชเจ้า ท้าวเธอจึงตรัสอย่างนี้ว่า
    พวกท่านไม่พึงฆ่าสัตว์
    ไม่พึงถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    ไม่พึงประพฤติผิดในกามทั้งหลาย
    ไม่พึงกล่าวคำเท็จ
    ไม่พึงดื่มน้ำเมา
    จงบริโภคตามเดิมเถิด
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกพระเจ้าแผ่นดินที่อยู่ ณ ทิศบูรพาได้พากันตาม
    เสด็จท้าวเธอไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย ลำดับนั้น จักรแก้วนั้น ก็ลงไปสู่สมุทร
    ด้านบูรพา แล้วโผล่ขึ้นไปลงที่สมุทรด้านทักษิณ แล้วโผล่ขึ้นไปสู่ทิศปัจฉิม
    ท้าวเธอพร้อมด้วยจตุรงคินีเสนาก็เสด็จติดตามไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักรแก้ว
    ประดิษฐานอยู่ ณ ประเทศใด ท้าวเธอก็เสด็จเข้าไปพักอยู่ ณ ประเทศนั้น
    พร้อมด้วยจตุรงคินีเสนา ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฝ่ายพระเจ้าแผ่นดินที่อยู่ ณ ทิศปัจฉิมก็พากันเสด็จ
    เข้าไปเฝ้าท้าวเธอ ได้กราบทูลอย่างนี้ว่า ขอเชิญเสด็จมาเถิด มหาราชเจ้า
    พระองค์เสด็จมาดีแล้ว มหาราชเจ้า อาณาจักรเหล่านี้เป็นของพระองค์ทั้งสิ้น
    มหาราชเจ้า ขอพระองค์พระราชทานพระบรมราโชวาทเถิด ท้าวเธอจึงตรัสอย่างนี้ว่า
    พวกท่านไม่พึงฆ่าสัตว์
    ไม่พึงเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    ไม่พึงประพฤติผิดในกามทั้งหลาย
    ไม่พึงกล่าวคำเท็จ
    ไม่พึงดื่มน้ำเมา
    จงบริโภคตามเดิมเถิด
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกพระเจ้าแผ่นดินที่อยู่ ณ ทิศอุดร ได้พากันตาม
    เสด็จท้าวเธอไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย ลำดับนั้น จักรแก้วนั้นได้ชนะวิเศษยิ่งซึ่ง
    แผ่นดินมีสมุทรเป็นขอบเขตได้แล้ว จึงกลับคืนสู่ราชธานีนั้น ได้หยุดอยู่ที่ประตู
    พระราชวังของท้าวเธอ ปรากฏเหมือนเครื่องประดับ ณ มุขสำหรับทำเรื่องราว
    สว่างไสวอยู่ทั่วภายในพระราชวังของท้าวเธอ ฯ

    จักกวัตติสูตร ที่ ๓
    http://www.84000.org/tipitaka/pitaka...3_%28%F2%F6%29<!-- google_ad_section_end -->
     
  8. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ขอขอบคุณมากครับ ที่คุณ k.kwan ได้กรุณาแสดงข้อคิดเห็นครับ และขอขอบคุณยิ่งที่กรุณาแสดงพระสูตรอ้างอิงดังเช่นนักวิชาการที่ให้ความกรุณาต่อผู้อื่นได้ค้นคว้าหาหลักฐานประกอบครับ

    <o></o>ในเรื่องพระสุตตันตปิฎก เล่ม ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค ๙. พาลบัณฑิตสูตร ที่คุณ k.kwan ยกมานั้น ออร์กะมีความสนใจมาก และคงไม่เฉพาะออร์กะ แต่คงรวมถึงท่านอื่น ที่สนใจศึกษาข้อมูลในพระไตรปิฎกครับ ทั้งนี้เพื่อเพื่อประโยชน์ เป็นความรู้ในการศึกษาพุทธศาสนาครับ ออร์กะ จะยกประเด็นขึ้นมาปรึกษากันในแต่ละรายการครับ เมื่อถึงข้อเกี่ยวข้องในเรื่องนั้นๆ <o></o>

    เริ่มแรก "ขออนุญาติร่วมสนทนาออกความเห็นเรื่องพระจักรพรรดิ์ นะคะ
    สมเด็จพระจักรพรรดิ์ ไม่อาจเกิดจากมนุษย์แต่งตั้งกันเองได้
    แต่เกิดจากบุญบารมีของผู้กำเนิดเป็นพระจักรพรรดิ์เอง และต้องเป็นยุคสมัยที่จะได้บังเกิดด้วย"

    ออร์กะและเพื่อนๆ มีความเข้าใจในลักษณะของตัวหนังสือเหมือนกันกับคุณ k.kwan ครับ

    การที่ออร์กะและเพื่อนๆ ให้ความสนใจในเรื่องพระจักรพรรดิคือ คือการปรากฏของพระจักรพรรดิเพื่อการนำผู้คนทั้งหลายบนโลก สร้างสันติสุขที่แท้จริงขึ้นบนโลก ตามการพยากรณ์ของแต่ละศรัทธาและศาสนาโลกนั้นๆ ได้กล่าวไว้คล้ายๆ กันและสนับสนุนกัน โดยพระจักรพรรดิมีชื่อเรียกต่างๆ กัน ตามภาษาและศาสนาของชนชาตินั้นๆ เช่น

    [​IMG]

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> <o></o>[​IMG]

    เท่าที่ได้ศึกษามา ออร์กะและเพื่อนๆ มีความสงสัยว่า ทำไมยังมีผู้คนที่มองไปว่า พระจักรพรรดิเป็นของตน เป็นของศาสนาตน ของกลุ่มชน ทำไมไม่เห็นเหมือนพระพุทธเจ้าโคตม ที่ทุกๆ คนบนโลกมีสิทธิ์ทัดเทียมกันในการมีศรัทธา กราบไหว้ ไม่ใช่ของกลุ่มชนในประเทศใดๆ ไม่ใช่ของชนชาติใดชาติหนึ่ง แต่พระพุทธองค์เป็นที่ยึดเหนี่ยวด้านจิตใจของทุกๆ คนได้ทัดเทียมกัน
    <o></o>
    ที่ออร์กะยกประเด็นนี้ขึ้นมา เพราะมีความสำคัญในการเขียนข้อมูลในเรื่องพระจักรพรรดิ ที่เราควรเปิดกว้างให้เป็นที่ยอมรับได้ทั่วไป รวมถึงพวกที่ไม่นับถือเรื่องพระเจ้าหรือศาสนาใดๆ ดังนั้นออร์กะจะขอกล่าวในการปรึกษาว่า ตวรให้เป็นไปในรูปการทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถพิสูจน์ความเป็นไปได้ มีหลักฐานประกอบในการพิจารณาด้วยเหตุผลได้ ว่าควรหรือไม่ควรมีความจริงอย่างไรครับ
    <o></o>
    ตามที่ออร์กะเข้าใจ สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนนั้น เป็นปรัชญา ไม่ใช่เป็นศาสนาแบบศาสนาที่มีพระเจ้าเป็นที่ยึดเหนี่ยวของผู้มีศรัทธาในศาสนานั้นๆ แต่พุทธศาสนาเป็นสาสนาคือสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนเป็นความจริงที่พิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้ ดังที่นักวิชาการที่ศึกษาและเข้าใจถึงแก่นแท้ในพระพุทธศาสนาให้การยอมรับ

    ดัวนั้นได้โปรดพิจารณาตามข้อต่างๆ เรื่องสำคัญนี้ ผู้สนใจในปรัชญาของพระผู้มีพระภาคควรได้พิจารณาดังนี้
    <o></o>
    1. ตถาคต แสดงอยู่ใน พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ๖. ปาสาทิกสูตร
    <o></o>
    [๑๑๙] ดูกรจุนทะ แม้หากว่าสิ่งที่เป็นอดีต ไม่เป็นจริง ไม่แท้ ไม่ประกอบ ด้วยประโยชน์ ตถาคตก็ไม่พยากรณ์สิ่งนั้น ดูกรจุนทะ แม้หากว่าสิ่งที่เป็นอดีต เป็นของจริง เป็นของแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตก็ไม่พยากรณ์ แม้สิ่งนั้น ดูกรจุนทะ แม้หากว่าสิ่งที่เป็นอดีต เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตย่อมเป็นผู้รู้กาลในสิ่งนั้น เพื่อพยากรณ์ปัญหานั้น ดูกรจุนทะ แม้หากว่าสิ่งที่เป็นอนาคตไม่เป็นจริง ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตก็ไม่พยากรณ์สิ่งนั้น ดูกรจุนทะ แม้หากว่าสิ่งที่เป็นอนาคต เป็นของจริง เป็นของแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตก็ไม่พยากรณ์แม้สิ่งนั้น ดูกรจุนทะ แม้หากว่าสิ่งที่เป็นอนาคต เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตย่อมเป็นผู้รู้กาลในสิ่งนั้น เพื่อพยากรณ์ปัญหานั้น ดูกรจุนทะ แม้หากว่า สิ่งที่เป็นปัจจุบัน ไม่เป็นจริง ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตย่อมไม่ พยากรณ์สิ่งนั้น ดูกรจุนทะ แม้หากว่าสิ่งที่เป็นปัจจุบัน เป็นของจริง เป็นของแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตก็ไม่พยากรณ์แม้สิ่งนั้น ดูกรจุนทะ แม้หากว่า สิ่งที่เป็นปัจจุบัน เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตย่อม เป็นผู้รู้กาลในสิ่งนั้น เพื่อพยากรณ์ปัญหานั้น ด้วยเหตุดังนี้แล จุนทะ ตถาคต เป็นกาลวาที เป็นสัจจวาที เป็นภูตวาที เป็นอัตถวาที เป็นธรรมวาที เป็นวินัยวาที ในธรรมทั้งหลายทั้งที่เป็นอดีต อนาคตและปัจจุบัน เพราะฉะนั้น ชาวโลก จึงเรียกว่าตถาคโต ด้วยประการดังนี้แล ฯ
    [๑๒๐] ดูกรจุนทะ ก็สิ่งใดแล อันโลกพร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก อันหมู่สัตว์พร้อมสมณพราหมณ์ เทพดามนุษย์ เห็นแล้ว ฟังแล้ว ทราบแล้ว รู้แจ้งแล้ว บรรลุแล้ว แสวงหาแล้ว ตรองตามแล้วด้วยใจ สิ่งนั้น ตถาคตได้ตรัสรู้ยิ่งแล้วโดยชอบ เพราะฉะนั้น ชาวโลกจึงเรียกว่า ตถาคโต ดูกรจุนทะ ตถาคตย่อมตรัสรู้อนุตรสัมโพธิญาณ ในราตรีใดก็ดี ย่อมปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสส นิพพานธาตุในราตรีใดก็ดี ตถาคตย่อมกล่าว ย่อมร้องเรียก ย่อมแสดงซึ่งสิ่งใด ในระหว่างนี้ สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมเป็นอย่างนั้นทีเดียว ย่อมไม่เป็นโดยประการอื่น เพราะฉะนั้น ชาวโลกจึงเรียกว่า ตถาคโต

    สรุปว่า
    ศรัทธาต่อพระตถาคต คือ ที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า แม้หากว่าสิ่งที่เป็นอดีต หรืออนาค หรือปัจจุบัน เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตย่อมเป็นผู้รู้กาลในสิ่งนั้น เพื่อพยากรณ์ปัญหานั้นถ้าสิ่งใดๆ ไม่ว่าเกิดขึ้นในเวลาใดๆ ถ้าไม่เป็นจริง ไม่แท้ ไม่ประกอบ ด้วยประโยชน์ ตถาคตก็ไม่พยากรณ์สิ่งนั้น

    2. พระพุทธเจ้าตรัสสัทธรรมของพระองค์จักตั้งอยู่ได้เพียง ๕๐๐ ปี เท่านั้น

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->พระ ไตรปิฎกเล่ม ที่ 7 วินัยปิฎกที่ 7 จุลวรรค ภาค 2 เรื่องพระนางมหาปชาบดีโคตรมี สรุปว่า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ ก็ถ้าสตรีจักไม่ได้ออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิต ในธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว พรหมจรรย์จักตั้งอยู่ได้นาน สัทธรรมจะพึงตั้งอยู่ได้ตลอดพันปี ก็เพราะสตรีออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ในธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว บัดนี้ พรหมจรรย์จักไม่ตั้งอยู่ได้นาน สัทธรรมจักตั้งอยู่ได้เพียง ๕๐๐ ปีเท่านั้น

    ซึ่งถ้าศึกษา เรื่องนี้ จะเห็นว่าเป็นจริง คือ เริ่มจากการผิดเพี้ยนของพระไตรปิฎกที่มีมาแต่สมัยโบราณก่อนแล้ว ดังมีข้อแสดงเช่น เอกสารเกี่ยวกับการชำระและการจารึก พระไตรปิฎก ในรัชกาลที่ ๑ (จากหนังสือพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา) ".... พระไตรปิฎกธรรมทุกวันนี้ ยังถูกต้องบริบูรณ์อยู่หรือพิรุธผิดเพี้ยนประการใด จึ่งสมเด็จพระสังฆราช และพระราชาคณะทั้งปวง พร้อมกันถวายพระพรว่า พระบาลี และ
    อรรถกถาฎีกาพระไตรปิฎกทุกวันนี้มีพิรุธมากมาช้านานแล้ว ...." (อ้างอิง: พระไตรปิฏก และ พระไตรปิฏกฉบับประชาชน โดยคุณสุชีพ ปุญญานุภาพ)

    สรุป สิ่งที่สำคัญที่สุด พระพุทธเจ้าไม่ได้ตรวจสอบพระไตรปิฎก เพราะเกิดขึ้นหลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด๊จนิพพานไปแล้ว แต่อย่างไรก็ตามพระพุทธองค์ได้ให้"กาลามสูตร"เป็นหลักในการพิจารณาการเรียนการสอนไว้ดีแล้ว และพระผู้มีพระภาคยังให้ "เกวัฏฏสูตร"<o> เป็นแนวทางแก่ผู้สนใจ แต่ใครจะมีศรัทธาอย่างไร ย่อมเป็นกุศลผลบุญของแต่ละบุคคลใช่ไหมครับ ออร์กะไม่ขอออกความเห็นในเรื่องเช่นนี้ แต่จะยกเรื่องที่กล่าวอ้างมาเพื่อท่านผู้สนใจจะได้พิจารณา เพื่อประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาครับ</o>

    3. อิทธิปาฏิหาริย์อาเทสนาปาฏิหาริย์อนุสาสนีปาฏิหาริย์

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} pre {margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค<o></o>
    <o></o>
    ๑๑. เกวัฏฏสูตร<o></o>
    เรื่องนายเกวัฏฏ (ชาวประมง) [๓๓๘] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาค ประทับอยู่ ณ สวนมะม่วงของปาวาริกเศรษฐี เขตเมือง
    นาลันทา. ครั้งนั้น เกวัฏฏ์ คฤหบดีบุตร เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาท
    แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. ครั้นนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่
    พระองค์ผู้เจริญ เมืองนาลันทานี้ เป็นเมืองมั่งคั่งสมบูรณ์ มีผู้คนมาก คับคั่งไปด้วยมนุษย์
    ล้วนแต่เลื่อมใสในพระผู้มีพระภาคเป็นอย่างยิ่ง ขอประทานโอกาสเถิดพระเจ้าข้า ขอพระผู้มี-
    *พระภาคทรงชี้ภิกษุสักรูปหนึ่งที่จักกระทำอิทธิปาฏิหาริย์อันเป็นธรรมที่ยิ่งยวดของมนุษย์ได้ เมื่อ
    เป็นเช่นนี้ ชาวเมืองนาลันทานี้จักเลื่อมใสในพระผู้มีพระภาคเป็นอย่างยิ่ง สุดที่จะประมาณ เมื่อ
    เกวัฏฏ์ คฤหบดีบุตรกราบทูลดังนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า ดูกรเกวัฏฏ์ เรามิได้แสดง
    ธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายอย่างนี้ว่า มาเถิดภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงกระทำอิทธิปาฏิหาริย์อันเป็น
    ธรรมที่ยิ่งยวดของมนุษย์ แก่คฤหัสถ์ ผู้นุ่งขาวห่มขาวดังนี้. เกวัฏฏ์ คฤหบดีบุตร ได้กราบทูล
    เป็นคำรบสองว่า พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์มิได้จำกัด พระผู้มีพระภาค
    เพียงแต่กราบทูลอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมืองนาลันทานี้ เป็นเมืองมั่งคั่งสมบูรณ์ มีผู้
    คนมาก คับคั่งไปด้วยมนุษย์ ล้วนแต่เลื่อมใสในพระผู้มีพระภาคเป็นอย่างยิ่ง ขอประทานโอกาส
    เถิดพระเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคทรงชี้ภิกษุสักรูปหนึ่ง ที่จักกระทำอิทธิปาฏิหาริย์อันเป็นธรรมที่ยิ่งยวดของมนุษย์ได้ เมื่อเป็นเช่นนี้ ชาวเมืองนาลันทานี้จักเลื่อมใสในพระผู้มีพระภาคเป็นอย่างยิ่งสุดที่จะประมาณ แม้ครั้งที่ ๓ เกวัฏฏ์ คฤหบดีบุตรก็ได้กราบทูลอย่างนั้น.

    ปาฏิหาริย์ ๓ ประการ-อิทธิปฏิหาริย์

    [๓๓๙] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรเกวัฏฏ์ ปาฏิหาริย์ ๓ อย่างนี้ เราทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองแล้ว จึงได้ประกาศให้รู้ ปาฏิหาริย์ ๓ อย่างเป็นไฉน? คือ อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์อนุสาสนีปาฏิหาริย์

    ก็อิทธิปาฏิหาริย์เป็นไฉน? ดูกรเกวัฏฏ์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือคนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียว
    ก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝา กำแพง ภูเขาไปได้ ไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงแม้ในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจด้วยกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้ เพราะเหตุดังนี้นั้น บุคคลผู้ใดผู้หนึ่งที่มีศรัทธาเลื่อมใส เห็นภิกษุนั้นแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง ... ครั้นแล้วเขาจะบอกแก่คนผู้ไม่มีศรัทธาไม่เลื่อมใส คนใดคนหนึ่งว่า อัศจรรย์จริงหนอ ท่านไม่เคยมีมาเลยท่าน ความที่สมณะมีฤทธิ์มาก ความที่สมณะมีอานุภาพมาก ข้าพเจ้าได้เห็นภิกษุรูปนี้แสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง ... เมื่อเป็นเช่นนี้ คนผู้ไม่มีศรัทธา ไม่เลื่อมใสนั้น จะพึงกล่าวกะคนผู้มีศรัทธาเลื่อมใสอย่างนี้ว่าท่าน มีวิชาอยู่อย่างหนึ่งชื่อว่า คันธารี ภิกษุรูปนั้นแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง ... ได้ด้วยวิชาชื่อว่า คันธารีนั้น ดูกรเกวัฏฏ์ ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน? คนผู้ไม่มีศรัทธา ไม่เลื่อมใสนั้น จะพึงกล่าวอย่างนั้นกะคนผู้มีศรัทธาเลื่อมใสนั้นบ้างไหม พึงกล่าวพระเจ้าข้ ดูกรเกวัฏฏ์ เราเล็งเห็นโทษในอิทธิปาฏิหาริย์อย่างนี้แล จึงอึดอัด ระอา เกลียดอิทธิปาฏิหาริย์.

    อาเทสนาปฏิหาริย์
    [๓๔๐] ดูกรเกวัฏฏ์ ก็อาเทสนาปาฏิหาริย์เป็นไฉน? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทายใจ ทายความรู้สึกในใจ ทายความนึกคิด ทายความตรองของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นได้ว่า ใจของท่านเป็นอย่างนี้ ใจของท่านเป็นไปโดยอาการนี้ จิตของท่านเป็นดังนี้ เพราะเหตุดังนี้นั้น บุคคลผู้ใดผู้หนึ่งมีศรัทธาเลื่อมใสเห็นภิกษุนั้นทายใจ ทายความรู้สึกในใจ ทายความนึกคิด ทายความตรองของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นได้ว่า ใจของท่านเป็นอย่างนี้ ใจของท่านเป็นไปโดยอาการนี้ จิตของท่านเป็นดังนี้. ครั้นแล้วเขาบอกแก่คนที่ยังไม่มีศรัทธา ไม่เลื่อมใส คนใดคนหนึ่งว่า อัศจรรย์จริงหนอ ท่าน ไม่เคยมีมาเลย ท่าน ความที่สมณะมีฤทธิ์มาก ความที่สมณะมีอานุภาพมาก ข้าพเจ้าได้เห็นภิกษุรูปนี้ทายใจ ทายความรู้สึกนึกในใจ ทายความนึกคิด ทายความตรองของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นได้ ... เมื่อเป็นเช่นนี้ คนผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น พึงกล่าวกะเขาว่าท่าน มีวิชาอย่างหนึ่งชื่อว่า มณิกา ภิกษุรูปนั้นทายใจ ทายความรู้สึกในใจ ทายความนึกคิดทายความตรองของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นก็ได้ ... ด้วยวิชาชื่อว่า มาณิกานั้น ดูกรเกวัฏฏ์ ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน? คนผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น พึงกล่าวอย่างนั้นกะคนผู้มีศรัทธาเลื่อมใสกันบ้างไหม? พึงกล่าวพระเจ้าข้า ดูกรเกวัฏฏ์ เราเล็งเห็นโทษในอาเทสนาปาฏิหาริย์ อย่างนี้แล จึงอึดอัด ระอา เกลียดอาเทสนาปาฏิหาริย์.

    อนุสาสนีปาฏิหาริย์
    [๓๔๑] ดูกรเกวัฏฏ์ ก็อนุสาสนีปาฏิหาริย์เป็นไฉน? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพร่ำสอนอย่างนี้ว่า ท่านจงตรึกอย่างนี้ อย่าตรึกอย่างนั้น จงทำในใจอย่างนี้ อย่าทำในใจอย่างนั้น จงละสิ่งนี้ จงเข้าถึงสิ่งนี้อยู่เถิด นี้เรียกอนุสาสนีปาฏิหาริย์.
    [๓๔๒] ดูกรเกวัฏฏ์ อีกข้อหนึ่ง พระตถาคตเสด็จอุบัติในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกพระธรรม พระองค์นั้นทรงทำโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลกให้แจ้งชัด ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เองแล้ว ทรงสอนหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์เทวดาและมนุษย์ให้รู้ตาม ทรงแสดงธรรม งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง คฤหบดี บุตรคฤหบดี หรือผู้เกิดเฉพาะในตระกูลใดตระกูลหนึ่ง ย่อมฟังธรรมนั้น ครั้นฟังแล้ว ได้ศรัทธาในพระตถาคต เมื่อได้ศรัทธาแล้ว ย่อมเห็นตระหนักว่า ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี บรรพชาเป็นทางปลอดโปร่ง การที่บุคคลผู้ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียวดุจสังข์ขัด ไม่ใช่ทำได้ง่าย ถ้ากระไร เราพึงปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ ออกบวชเป็นบรรพชิต สมัยต่อมา เขาละกองโภคสมบัติน้อยใหญ่ ละเครือญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและ<o></o>หนวด นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ ออกบวชเป็นบรรพชิต เมื่อบวชแล้ว สำรวมระวังในพระปาติ- *โมกข์อยู่ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปรกติเห็นภัยในโทษเพียงเล็กน้อย สมาทานศึกษา อยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ประกอบด้วยกายกรรม วจีกรรมที่เป็นกุศล มีอาชีพบริสุทธิ์ ถึงพร้อม ด้วยศีล คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ เป็นผู้สันโดษ. <o></o>

    สรุป พระพุทธเจ้าทรงอึดอัด ระอา เกลียดอิทธิปาฏิหาริย์ พระองค์ทรงอึดอัด ระอา เกลียดอาเทสนาปาฏิหาริย์ แต่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพร่ำสอนอย่างนี้ว่า ท่านจงตรึกอย่างนี้ อย่าตรึกอย่างนั้น จงทำในใจอย่างนี้ อย่าทำในใจอย่างนั้น จงละสิ่งนี้ จงเข้าถึงสิ่งนี้อยู่เถิด นี้เรียกอนุสาสนีปาฏิหาริย์

    การสนทนาเรื่องที่ คุณ k.kwan ได้กรุณาหยิบยกขึ้นมานับว่ามีประโยชน์มากสำหรับท่านผู้สนใจทั้งหลาย และมีความจำเป็นมากในการพิจารณาเรื่องพระจักรพรรดิในเวลาปัจจุบันนี้การทำความเข้าใจในการสนทนา จำเป็นต้องอ้างถึงเรื่องเกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงควรแบ่งการสนทนาเป็นตอนๆ ไปครับ

    สรุป
    เรื่องพระจักรพรรดิ ควรเปิดกว้างให้เป็นที่ยอมรับได้ทั่วไป ในทางที่เหมาะสมควรตือ ตวรยึดหลักการทางวิทยาศาสตร์ ด้วยเหตุผล และหลักฐาน

    เรื่องพระจักรพรรดิ ถ้าจะนำเอาเรื่องที่ต้องเชื่อใน พระพุทธศาสนา หรือ ในศรัทธา หรือศาสนาโลกอื่นๆ ก็คงเป็นการยากที่จะให้ผู้ไม่ยอมรับเข้าใจได้ ดังความจริงที่เป็นอยู่ในทุกๆ วันนี้ แต่ละความเชื่อเป็นที่ยอมรับในหมู่ชนหนึ่ง แต่ไม่เป็นที่ยอมรับในหมู่ชนอื่น เรื่องเช่่นนี้อาจมีข้อยกเว้นที่แต่ละหมู่ชนนั้นๆ มีความเชื่อเหมือนกันในเรื่องเดียวกัน

    จากการพยากรณ์ที่คล้ายๆ ของศรัทธาและศาสนาต่างๆ รวมทั้งผู้มีญาณวิเศษ บ่งไว้ชัดเจนว่า พระจักรพรรดิมีความสำคัญกับการสร้างสันติสุขของมนุษยโลกที่คาดว่าควรเกิดขึ้นในปัจจุบัน คือปลายกลียุค และต้นกฤดยุค ดังนั้นออร์กะจะขออนุญาติกล่าวการสนทนาให้เป็นไปในรูปการทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถพิสูจน์ความเป็นไปได้ ว่าควรหรือไม่ควรมีความจริงเพียงใด อันเป็นหนทางที่พระพุทธเจ้ากำหนดไว้ดีแล้วใน "กาลามสูตร" และ "
    เกวัฏฏสูตร<o></o>"

    เรื่องที่จะนำมาสนทนาในตอนต่อไปของ คุณ k.kwan คือ "สมเด็จพระจักรพรรดิ์ ไม่อาจเกิดจากมนุษย์แต่งตั้งกันเองได้ แต่เกิดจากบุญบารมีของผู้กำเนิดเป็นพระจักรพรรดิ์เอง และต้องเป็นยุคสมัยที่จะได้บังเกิดด้วย"

    ขอขอบคุณ ขอบพระคุณครับ

    ออร์กะ


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 สิงหาคม 2010
  9. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    ขออนุโมทนา และขอบคุณคุณ k.kwan เป็นอย่างยิ่งที่กรุณารวมข้อมูลมาให้พวกเราได้ดูได้ศึกษาครับ

    พระพุทธเจ้าตรัสให้เราใช้ "กาลามสูตร" ในการพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นประโยชน์ ไม่เป็นโทษ ควรพึงศึกษาไว้ "รู้ไว้ใช่ว่า ใสบ่าแบกหาม"

    เรื่องการพิจารณาในทางวิทยาศาสตร์ อาจไม่สดวกนักสำหรับผู้ที่ไม่ได้ศึกษามา ดังนั้นการเชื่อถืออะไร นับว่าเป็นเรื่องน่าลำบากใจครับ นี่เป็นสิ่งหนึ่งที่เราส่วนมากมักเชื่อถือฝรั่ง เชื่อถือผู้มีความรู้ โดยเฉพาะ ดร. หรือ Dr. ซึ่งออร์กะไม่คิดว่าเป็นเรื่องจำเป็น คนไทยมีความรู้จริงๆ ก็มีมาก

    ออร์กะใช้เวลาหาข้อเท็จจริงในเรื่องต่างๆ มีอะไรที่พอจะหาข้อมูลมาชี้แจงข้อเท็จจริงให้น้องๆ เพื่อนๆ และท่านทั้งหลายที่เคารพได้ทราบ ก็พยายามทำครับ อะไรเป็นประโยชน์ควรศึกษาไว้ ในขณะนี้ได้คำตอบที่มีเหตุผล มีหลักฐานสำหรับเรื่องตามหัวข้อข้างบนที่คุณ K.Kwan กรุณาหามาให้เราได้ศึกษา ขอได้โปรดใช้ "กาลามสูตร" พิจารณามีอยู่ 2 เรื่องครับ


    1. ทฤษฏี Galactic Super Wave | Truth4Thai.org
    งานทางวิทยาศาสตร์แล้ว ทฤษฎีไม่ใช่ปรัชญาหรือความจริง แต่เป็นการพิสูจน์ว่า สมมติฐานที่ตั้งไว้แต่แรก มีความจำเป็นที่จะต้องมีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์รับรองเพียงไร และทฤษฎีที่ตั้งไว้อาจไม่เป็นจริง เพราะข้อมูลผิดพลาด หรือมีข้อมูลไม่เพียงพอ หรือเมื่อมีวิธีการใหม่ หรือมีเครื่องมือที่ดีกว่าทำให้ทฤษฎีเดิมต้องล้มเลิกไปครับ และที่สำคัญของการตั้งทฤษฎี ใครจะตั้งทฤษฎีอะไรๆ สามารถทำได้ แต่จะมีใครรับรองหรือไม่ครับ นี่เป็นประเด็นที่สำคัญที่สุด

    เรื่องเดิม

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> "ทฤษฏีนี้คิดค้นโดย ดร. Paul LaViolette ซี่งเป็นการศีกษาเกี่ยวกับการระเบิดจากจุดศูนย์กลางของแกเล็คซี่ ทฤษฏีนี้ได้อธิบายถีงความเชื่อมโยงระหว่างแรงระเบิดกับปรากฏการณ์ที่เกิดขี้นบนโลกเมื่อหลายพันปีก่อน รวมถีงช่วง ICE Age ซี่งมีสัตว์หลายชนิดสูญพันธุ์ พลังงานและคลื่นที่ส่งออกมาจากจุดศูนย์กลางของทางช้่างเผือกนั้นส่วนใหญ่จะ ประกอบด้วยรังสี คอสมิก และ แกมมา และคลื่นอย่างอืน"

    ก่อนที่จะสนทนาในเรื่องทฤษฎีของ ดร. Paul LaViolette นี้ ออร์กะอยากให้ท่านมีความคุ้นเคยกับ แกเล็คซี่ทางช้างเผือก (<link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-fareast-language:EN-US;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]Milky Way Galaxy [/FONT]) และศูนย์กลางของแกเล็คซี่ (Galactic center) ข้อมูลจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานดิีเอโก USA

    [​IMG]

    สรุป ไม่มีใครที่สามารถเห็น ศูนย์กลางของแกเล็คซี่เนื่องจากเมฆฝุ่นอวกาศที่หนาทึบ K. Kassim ที่ศูนย์วิจัยของกองทัพเรือ สหรัฐ ได้พัฒนาการใช้คลื่นวิทยุขนาดช่วงคลื่นประมาณ 1 เมตร เพื่อดูลักษณะของแกนแกเล็คซี่ แต่คงบอกอะไรมากไม่ได้ครับ

    สำหรับทฤษฎีที่
    คิดค้นของ ดร. Paul LaViolette นั้น เท่าที่ศึกษาแล้วถึงการยอมรับ คงไม่เป็นที่ยอมรับของนักวิทยาศาสตร์ผู้อื่น หลักฐานขัดแย้ง ที่ออร์กะขอนำมาให้ท่านพิจารณาคือ ออร์กะได้เข้าไปดูและฟังวิดิโอของ ดร. Paul LaViolette เกี่ยวกับทฤษฎีของสุริยจักรวาล เข้าไปสู่แกนของศูนย์กลางของแกเล็คซี่ จะเกิดเรื่องน่ากลัวเกิดมหันตภัยขึ้น ออร์กะจึงได้ศึกษาในเรื่องที่นักดาราศาสตร์ได้แสดงว่า สุริยจักรวาลเข้าออกระหว่างแกนของศูนย์กลางของแกเล็คซี่ เช่น ในช่วง 21 ธันวาคมของปี พ.ศ. 2546, 2549, 2552, และ 2555 (ค.ศ. 2012) เป็นต้น (โปรดดูภาพข้างล่าง) ฉะนั้นทฤษฎีที่ ดร. Paul LaViolette ตั้งไว้นั้น คงต้องหาเหตุผลมาอธิบายในเรื่องปีที่ผ่านๆ มาแล้วว่า ที่ดวงอาทิตย์ ผ่านเข้าออกผ่านศูนย์กลางของแกเล็คซี่ ทำไมถึงไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงเกิดขึ้นครับ

    [​IMG]
    เส้นสีม่วง (เห็นได้ยากสักนิด) ตัดกับแกนสีเขียว คือเหนือ x นั้นเป็นแกนของศูนย์กลางของแกเล็คซี่ครับ ดังนั้นถ้าเห็นจุดสว่างเพียงจุดเดียว นั่นแสดงถึงดวงอาทิตย์อยู่ในแนวแกนของศูนย์กลางของแกเล็คซี่ครับ

    จากรูปด้ายซ้ายล่างสุด เป็นการแสดงตัวอย่าง เมื่อวันที่ 21 Dec. 1870 ดวงอาทิตย์ไม่ได้อยู่ในแกน
    ของศูนย์กลางของแกเล็คซี่ครับ

    สรุป
    ทฤษฎี Galactic Super Wave ตามหลักฐานการขัดแย้งแล้วถือว่า ทฤษฎีนี้ควรที่จะเป็นแค่สมมติฐาน น่าจะมีความเหมาะสมกว่าครับ

    2.
    พี้นมหาสมุทรบริเวณออสเตรเลียสูงขี้น 13 ฟุตต่อวัน ! | Truth4Thai.org

    เรื่องเดิม

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> "พี้นมหาสมุทรบริเวณออสเตรเลียสูงขี้น 13 ฟุตต่อวัน !
    รายงานข่าวจากประเทศออสเตรเลียแจ้งว่า ขณะนี้ระดับพี้นมหาสมุทรใต้ทะเล ปรับตัวสูงขี้นอย่างรวดเร็ว ขนาด 12 ฟุตต่อวันตั้งแต่ช่วงมีนาคม ถีง ช่วงเมษายน คศ 2010 ที่ผ่านมาและยังมีแนวโน้มสูงขี้นเรื่อยๆ ซี่งยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง รายละเอียดของข่าวสามารถอ่านต่อได้จากลิงค์ข้างล่าง"
    http://reinep.wordpress.com/2010/05/16/ocean-floor-rising-by-13-feet-per-day-in-australia/

    ออร์กะได้เข้าฟังรายการวิทยุตาม URL ที่บ่งไว้ ได้ทราบว่าต้นเหตุเกิดจากการรายงานของทุ่นตรวจจับคลื่นสึนามิ ที่รายงานการเปลี่ยนแปลงของพื้นใต้มหาสมทรว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นไปแบบไม่น่าเป็นไปได้

    ก่อนที่จะสนทนาในเรื่องนี้ อยากให้ท่านได้ทราบเกี่ยวกับเครื่องตรวจจับคลื่นสึนามิก่อนครับ โดย

    1. ส่วนที่อยู่่บนพื้นน้ำเรียกว่าทุนลอย (ฺีBuoy) รับข้อมูลการเปลี่ยนแปลงไปของความดันใต้พื้นมหาสมุทร ถ้าการปลี่ยนแปลงตรงกับค่าการเกิดสึนามิ ส่วนที่อยู่เหนือพื้นน้ำ จะส่งข้อมูลผ่านดาวเทียม Iridium ไปยังสถานีรับแจ้งเหตุสึนามิภาคพื้นดิน เพื่อดำเนินการเตือนประชาชนต่อไป

    2 ส่วนที่อยู่บนพื้นใต้มหาสมุทร เป็นตัวจับแรงกดดันของน้ำ ที่มีการเปลี่ยนแปลงด้วยคลื่นสึนามิ

    [​IMG]

    สาเหตุที่เกิดขึ้นตามข่าว เนื่องจากตัวตรวจจับแรงกดดันของน้ำที่อยู่บนพื้นใต้มหาสมุทรเสีย หลังจากที่ได้เปลี่ยนตัวตรวจจับแรงกดดันใหม่แล้ว ทุ่นลอยไม่ได้แจ้งการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติ และทำงานเป็นปกติอยู่ทุกวันนี้ครับ
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> 09/07/2010 at 08:06
    Station 55023 was faulty. It has since been repaired and was put back into service in late may. The sea floor is now back to where it was before the station went on the blink.

    สรุป เป็นการดีที่ไม่ควรประมาท แต่ควรที่จะมีการวิเคราะห์ถึงเหตุผล ความเป็นไปได้ว่า สิ่งที่รับทราบนั้นเป็นประโยชน์หรือไ่ม่อย่างไร ดังนั้นจึงควรเป็นไปตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้วในเรื่อง "กาลามสูตร" ครับ


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 สิงหาคม 2010
  10. itou

    itou เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +1,196
    พระท่านที่กล่าวถึงหลวงพ่อเล็ก เกสโรครับ
    คือผมกลัวว่าไม่เชื่อแล้วจะไปปรามาส ผมคงคิดมากไปเอง


    ก็มีความเป็นไปได้ที่พระอินทร์ จะมาเกิดเป็นพระจักรพรรดิ
    แต่แหม สายฟ้ามันก็เกี่ยวกับเทพหลายองค์อยู่นา
    เรื่องภัยธรรมชาติช่วงนี้ คงเกี่ยวกับการล้างแผ่นดิน(ที่เริ่มไปแล้ว)ละมั้งครับ
    อืม พระอินทร์ท่านอาจเป็นคนสั่ง(จัดการคนชั่ว)ก็ได้ ก็ท่านเป็นหัวหน้าเทวดานี่

    </o>
    อ้างอิง:<o></o>
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> ดูกรอานนท์ ตถาคตสงสารสัตว์ เวลานั้นพลโลกยัง เหลือน้อยเต็มที" <o></o>
    </td> </tr> </tbody></table>
    คือหลักๆ ผมอยากรู้ว่าอันนี้เอามาจากสูตรไหนมากกว่าอ่ะครับ
    เห็นคนเอามาอ้างกันบ่อยเหลือเกิน

     
  11. Army56

    Army56 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,098
    ค่าพลัง:
    +1,862
    ทำไมเราต้องพูดกันให้ยืดยาวครับ

    คุณ ออร์กะ ก็แค่บอกว่าใครเป็นพระศรีอารย์

    แล้วหาเหตุผลมาสนับสนุน

    แค่นั้นล่ะครับ

    ผมจะได้นำไปพิจารณา

    นี่พาผมอ้อมโลกจนไม่อยากรู้ละ

    เพราะผมก็มีคนที่ผมเชื่อเหมือนกันว่าเป็นพระศรีอารย์
     
  12. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    <table class="MsoNormalTable" style="width: 97.82%;" width="97%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr style=""></tr><tr style=""><td style="border-width: medium 1pt medium medium; border-style: none solid none none; border-color: -moz-use-text-color white -moz-use-text-color -moz-use-text-color; padding: 4.5pt;" valign="top"> อ้างอิง:<o></o>
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> สรุป โปรดพิจารณา 2 สิ่งที่ท้าวสักกะตรัสไว้คือ
    1.
    ความตรัสรู้จักมีแก่เราในภายหน้า คำว่าตรัสรู้จะใชกับพระพุทธเจ้าครับ
    2.
    เราจุติจากกายมนุษย์แล้ว ละอายุอันเป็นของ มนุษย์แล้ว จักกลับเป็นเทวดาอีกจักเป็นผู้สูงสุดในเทวโลก แสดงว่าท้าวท้าวสักกะจอมเทพ สามารถจุติแบ่งภาคมาป็นมนุษย์ได้<o></o>
    </td> </tr> </tbody></table> คุณ Itou "ผมขอแย้งในข้อ 2. พระท่านบอกว่าเทวดาไม่มีแบ่งภาคมาเกิด นั้นมันความเชื่อของ พราหมณ์-ฮินดู ถ้าจะมาเกิดก็ต้องมาเกิดเลย แต่แบ่งภาคขณะเป็นเทวดาทำได้"

    เรื่องพระท่าน ออร์กะ ได้หมายเหตุไว้ ตามตอบกระทู้ # 130 แล้วครับ
    (ออร์กะ มีคำถามขอเรียนถาม คุณ Itou ที่เขียนว่า "พระท่านบอกว่า" โดยไม่มีข้ออ้างอิงว่าใครคือ พระท่าน ออร์กะไม่สามารถหยิบยกขึ้นมาชี้แจงใครๆ ได้ เพราะเป็นการกล่าวลอยๆ เป็นความเชื่อเฉพาะบุคคล ไม่เป็นไปตาม กาลามสูตร ของพระพุทธเจ้าตรัสสอน อาจทำให้ผู้อื่นโต้แย้งดัง 3 ข้อที่กล่าวไว้ตามตอบกระทู้ # 130 ครับ)

    ออร์กะ อนุโมทนา คุณ Itou ขอแย้งในข้อ 2. ในเรื่อง "ถ้าจะมาเกิดก็ต้องมาเกิดเลย" และออร์กะชี้แจงที่คุณ Itou แล้วตาม ตอบตามกระทู้ # 130 ครับ

    คุณ Itou "แต่พระอินทร์ พระนารายณ์ พระ..อื่นๆอีกมากมาย เป็นเพียงชื่อตำแหน่ง เพราะยังไม่ถึงนิพพานเพียงใด ก็ยังต้องลงมาเกิดอยู่ดี ที่มาคือ มนุษย์บนกับพระนารายณ์ ที่นี้บนสวรรค์ไม่มีเทวดาชื่อ พระนารายณ์ จึงต้องหาเทพสักองค์รับบนไป ประมาณนี้"

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ออร์กะ เห็นมีผู้เขียนลงบนเน็ต เกี่ยวกับ “พระอินทร์เป็นตำแหน่งของพระราชาแห่งเทพทั้งปวง ในสรวงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ตำแหน่งนี้จะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียน ไปตามผลแห่งบุญกรรมที่ได้กระทำไว้ พระอินทร์องค์ใดสิ้นบุญ ก็จะมีองค์ใหม่ขึ้นมาแทนที่ กล่าวได้ว่า พระอินทร์นั้นมีหลายองค์ แต่ละองค์ก็มีอายุขัยเป็นไปตามบุญกุศลที่ตนได้กระทำมา”<o></o>

    ออร์กะขอถาม เรารู้ได้อย่างไร เอาอะไรมาเป็นหลักฐาน เอาอะไรที่สามารถใช้เป็นเครื่องพิสูจน์ให้คนทั่วไปยอมรับได้ครับ และถ้ามีใครถามว่า ที่พระพุทธเจ้าตรัสเรื่องของ “มฆมาณพ” ตามตอบกระทู้ที่ # 98, # 99 จะหมดบุญอย่างไรครับ หมดเมื่อไร ผู้สนใจในทางเดียวกันก็ฟังกัน ผู้ไม่เชื่อก็มีคำถามหาที่สิ้นสุดไม่ได้ แล้วเมื่อเราจะเอา"กาลามสูตร"มาใช้พิจารณาว่า จะเกิดเป็นประโยชน์อะไร เกิดกุศลธรรมอย่างไรครับ <o></o>

    มูลนิธิสยามรวมใจปู่อินทร์” เขียนว่า “เรื่องราวของพระอินทร์น่าจะเป็นบทเรียนที่ช่วยให้รู้และเข้าใจ ถึงการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ว่าท่านคิดอะไรถึงได้ทำเช่นนั้น นอกจากนี้การได้เรียนรู้วิธีคิดและการกระทำของพระอินทร์ เป็นสิ่งที่เราสามารถกระทำตามได้ไม่ยากถ้าอย่างนี้การทำดีย่อมเป็นประโยชน์ เป็นกุศลธรรม ก็น่านำมาเป็นตัวอย่างการยึดถือปฏิบััติ ใช่ไหมครับ ซึ่งยกตัวอย่างความดีในเรื่องราวพระอินทร์ เช่น ตอบกระทู้ # 98<o></o>
    ๑. เลี้ยงมารดาบิดาตลอดชีวิต
    ๒. ประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ในตระกูลตลอดชีวิต<o></o>
    ๓. มีวาจานุ่มนวลสุภาพตลอดชีวิต<o></o>
    ๔. มีวาจาไม่ส่อเสียดตลอดชีวิต<o></o>
    ๕. มีใจปราศจากความตระหนี่ ยินดีในการแจกทาน ครองเรือนตลอดชีวิต<o></o>
    ๖. มีวาจาสัตย์จริงตลอดชีวิต<o></o>
    ๗. ไม่โกรธ แม้ว่าถ้าโกรธก็ระงับได้ทันทีตลอดชีวิต<o></o>

    ที่ออร์กะ นำเรื่องการพิสูจน์ความจริงของท้าวสักกะ ตาม ตอบกระทู้ # 103, # 107, # 109, # 110, # 111, # 112, # 114, # 118, # 119, # 121, # 122, # 125, # 132, <o></o>
    ดังเช่น “การสรุปทบทวนเรื่องของท้าวสักกะ ที่ทุกหลักฐานจากศรัทธาโบราณ และศาสนาโลกที่สำคัญๆ โดยเฉพาะการตรัสสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ตรัสไว้ในเรื่องของท้าวสักกะ ต่างมีหลักฐานความเป็นมาเหมือนๆ กัน มีเหตุผล และมีที่มาที่ไปเช่นกัน สิ่งที่ท่านควรได้คิดพิจารณาว่า ทำไมการกล่าวเช่นนี้เกิดขึ้นมานับเป็นพันๆ ปี โดยผู้คนที่ไม่รู้จักกัน ต่างทั้งเวลา และสถานที่กัน แต่ทำไมเรื่องของท้าวสักกะ ที่จะมาปรากฏในปัจจุบัน ถึงตรงกัน
    <o></o>
    โปรดพิจารณา โฆษณาให้มีการพิสูจน์พระจักรพรรดิ ลงในหนังสือพิมพ์ที่สหรัฐอเมริกา เมื่อ 7 มีนาคม 2540 โปรดสังเกตุว่า ทุกศาสนากล่าวสนับสนุนซึ่งกันและกัน ตามตอบกระทู้ที่ # 109 ท่านคิดสักนิดไหมว่า ทำไมถึงเป็นไปเช่นนั้นได้ (โปรดอย่าบอกว่าก็เพราะทุกศาสนานัดแนะกัน นั่นมันเป็นเรื่องที่ไม่ควรจะกล่าวเช่นนั้นครับ)<o></o>

    [​IMG]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->แปล "น้ำท่วมที่เกิดขึ้นในทุกๆ วันนี้ และภัยพิบัติต่างๆ ที่ผิดปกติไปจากธรรมชาติ ทั้งนี้เพราะเป็นการกระทำโดยเทพเทวดา ผู้ที่มีชื่อว่าจอมเทพแห่งสรวงสวรรค์ ได้จุติขึ้นเพื่อมาสร้างกฎเกณฑ์ของมนุษยโลกใหม่ (ศาสนาฮินดูกล่าว) และพระองค์จะทรงนำผู้คนทั้งหลายให้ทราบเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทั้งหมด (ศาสนาคริสเตียนกล่าว) พระองค์ทรงเป็นผู้สอนทั้งมนุษย์และเทพเทวดา (ศาสนาพุทธกล่าว) พระองค์ทรงป้องกันพระองค์เองด้วยความรู้ยวดยิ่งที่ไม่มีใครมี (ศาสนาอิสลามกล่าว) ซึ่งความรู้เหล่านี้เกิดขึ้นจากพระองค์เอง (ลัทธิขงจื้อกล่าว) พระองค์จะให้ผลประโยชน์มนุษยโลก (โซโรสเทรียนนิซึ่มกล่าว) และสันติสุขสันติภาพจะเกิดขึ้นบนโลกโดยไม่มีที่สิ้นสุด (ยูดายกล่าว) พระองค์ไม่ต้องการสิ่งตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น พระองค์ทรงอยู่ที่เมืองซินซินนาติ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ชื่อของพระองค์คือ จอมเทพแห่งสรวงสวรรค์ สื่อควรที่จะช่วยกระจายข่าวนี้ไปทั่วโลก เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงของพระองค์ จะได้หยุดภัยพิบัติอันเกิดจากเทพบัลดาล"

    จะมีใครสักกี่คน ที่จะมีเมตตา กรุณาต่อผู้ตกทุกข์ได้ยากทั้งหลาย หาทางช่วยกันผลัดดันให้มีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงของท้าวสักกะ พระองค์จริงขึ้นตาม “กาลามสูตร” เพื่อหยุดน้ำท่วมไปทั่วโลก หยุดภัยพิบัติสารพัดทิศ เราทุกคนไม่รู้ว่าข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร แต่หลักฐานที่ออร์กะนำมาลง มีมากพอที่เป็นเหตุผลนำไปสู่การหาความจริงได้ครับ ถ้าไม่ลองหาความจริงกันขึ้นมาก่อน แล้วจะไปรู้ความจริงได้อย่างไรครับ การหาความจริงมันผิดตรงไหนครับ<o></o>

    สำหรับออร์กะและเพื่อนๆ ใช้เวลาศึกษาหาข้อมูลมา มิได้ละเลย ก็เพื่อให้ทุกๆ ท่านได้เห็นเหตุผล ที่มีที่ไป ไม่ใช่ให้เชื่อตามกันไป ทุกอย่างก็เพื่อประโยชน์สุขแก่ผู้คนทั่วไป รวมทั้งตัวเราเองด้วยครับ <o></o>

    สรุป พระพุทธเจ้าตรัสถึงการเรียนการสอนทางพระพุทธศาสนาเสื่อม ก็เพราะความเชื่อ โดยขาดการวิเคราะห์พิจารณาหาเหตุผล จะมีสักกี่คนที่ให้"กาลามสูตร"เป็นหลักในการเรียนการสอนในพระพุทธศาสนา เพื่อให้เห็นว่าสิ่งใดเป็นประโยชน์ เป็นกุศลธรรม <o></o>

    อ้างอิง:
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> เหล่า เทพเทวดาผู้คุ้มครองรักษาเหล่า มนุษย์ได้กราบทูลพระอินทร์ (ท้าวสักกะ) ว่า มนุษยโลกในกาละเวลานี้ได้ทำบุญเพียง 3 ส่วน แต่ทำความชั่วถึง 10 ส่วน เมื่อเป็นเช่นนี้พระอินทร์จึงลงโทษมนุษย์ไว้ 9 ข้อคือ
    </td> </tr> </tbody></table> คุณ Itou "ในความคิดผมการที่เป็นเทวดาได้อย่างน้อยต้องมีเมตตา ยิ่งชั้นสูงขึ้นก็ยิ่งมีเมตตาสูงขึ้น คือไม่ใช่หน้าที่ของเทพในการลงโทษมนุษย์ ท่านมีแต่ความปรารถนาช่วยคนขึ้นสวรรค์ อย่างพระเทวทัต พระพุทธเจ้าก็ยังทรงรักเหมือนลูกหลาน มันเป็นหน้าที่ของกฏแห่งกรรมมากกว่า"

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ความเห็นส่วนตัวของออร์กะ หลังจากค้นหาเรื่องสวรรค์ลงโทษมนุษย์นั้น ตามหลักฐาน ไม่เฉพาะพุทธศาสนา ศรัทธาโบราณและศาสนาอื่นได้บ่งไว้ชัดเจนเช่นเดียวกันว่า ผู้ลงโทษมนุษย์นั้น คือ พระเจ้าหรือท้าวสักกะเทวราช หรือกษัตริย์แห่งเทวดา ทรงลงโทษผู้กระทำผิด เพื่อให้มนุษย์รู้สึกตัวกลับตัวกลับใจเป็นมนุษย์ที่ดี ดีกว่าปล่อยให้มนุษย์ผู้หลงผิดไปลงนรก แม้แต่คำสุภาษิตโบราณก็บ่งไว้ “รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี” ซึ่งแม่ตีลูกไม่ได้หมายถึงแม่ไม่มีเมตตากับลูก แต่ต้องทำโทษเมื่อลูกทำผิด

    <o></o> จะสังกตุได้ว่า มีหลักฐานมากพอที่ชี้ว่า สวรรค์เขาชี้ให้เห็นล่วงหน้าแล้วว่า พุทธทำนาย พยากรณ์จากศรัทธาโบราณ ศาสนาโลกอื่นๆ รวมทั้งผู้มีญาณวิเศษได้บ่งบอกไว้ น่าจะเป็นจริง คือมนุษย์จะได้รับมหันตภัยล้างโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะความทีมิจฉาทิฐิของมนุษย์ ที่ไม่สนใจในการเตือนของสวรรค์ และยังคงบ่อนทำลายโลกและสิ่งมีชีวิตกันต่อไป ด้วยการขาดศีลธรรม จริยธรรม ถ้าพิจารณาข้อ 10 ในตอบกระทู้ # 69 คือพระเจ้าบ่งว่ามนุษย์ก็คือเชื้อโรคร้ายเช่นมะเร็ง ที่บ่อนทำลายโลกและธรรมชาติ ทั้งนี้เพราะความเห็นแก่ตนของมนุษย์เป็นปัจจัยใช่หรือไม่ครับ<o></o>
    <o></o>
    พระพุทธเจ้าถึงตรัสพุทธทำนายไว้ว่า “พวกอธรรม คือพวกที่ไม่ตั้งอยู่ในศีลในสัตย์ ไร้ซึ่งศีลธรรมนั้นจะหมดสิ้นไปเพราะพวกมิจฉาทิฐิจะดับสูญไปจากโลก .... ดูกรอานนท์ ตถาคตสงสารสัตว์ เวลานั้นพลโลกยังเหลือน้อยเต็มที คำทำนายของตถาคตนี้ยังให้สัตว์ตั้งอยู่ใน ความไม่ประมาท ผู้ใดรู้แล้วเชื่อ หรือไม่เชื่อ ไม่บอกเล่าให้ผู้ใดรู้กันต่อ ๆ ไป นับว่าเป็นกรรมแห่งสัตว์ต่างสิ้นสุดกันตามกาลเวลา

    แล้วพวกที่ถูกทำลายไปไหน ออร์กะค้นคว้าต่อไป ทราบว่า พวกถูกทำลายถูกส่งไปสู่ นรก ภูมิครับ
    <o></o>
    <o></o>
    สรุป ออร์กะไม่ทราบข้อเท็จจริง เพราะไม่เคยเห้นท้าวสักกะ ไม่เคยเห็นสวรรค์ ไม่เคยเห็นนรก แต่พิจารณาตามตำนานแล้ว เทพ เทวดา เป็นกัลยาณมิตร มีเมตตา เมื่อไรมีมนุษย์ผู้หลงผิด เทวดาจำเป็นต้องทูลให้
    ท้าวสักกะ ทรงทราบเพื่อลงโทษมนุษย์ ตาม ตอบกระทู้ # 94 <o></o>เพื่อสั่งสอนให้กลับตนเป็นมนุษย์ที่ดี
    ไว้ 9 ข้อคือ <o></o>
    1. จะให้เกิดพายุรุนแรงแผ่นดินก็ไหวรุนแรง <o></o>
    2. จะให้เกิดสารพิษต่างๆ (เช่นอากาศในน้ำในอาหารเป็นพิษ) <o></o>
    3. จะเกิดไฟไหม้ <o></o>
    4. จะเกิดโรคร้ายต่างๆ <o></o>
    5. จะเกิดน้ำท่วม
    6. จะเกิดอดข้าว ปลาอาหาร (วิกฤติเศรษฐกิจ)
    7. จะเกิดฟ้าผ่ารุนแรง (นาซ่า และนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง คาดว่าอาจมีโอกาสเกิดขึ้นรุนแรงในปี ค.ศ. 2012) <o></o>
    8. จะเกิดอาฆาตฆ่าฟันกันเอง (เช่นการแตกแยกของคนไทย) <o></o>
    9. จะเกิดร้อนมากหนาวมาก (ภูมิอากาศผิดปกติ)

    <o></o> แต่จะมีใครสักเท่าใดสำนึกในความผิดของตน สำนึกในความมีเมตตาของพระอินทร์ เมื่อมนุษย์ยังมีมิจฉาทิฐิต่อไป มหันตภัยล้างโลกก็น่าบังเกิดขึ้น เป็นไปตามพุทธทำนาย และคำพยากรณ์โลกต่างๆ โดยไม่มีการเตือนอีกต่อไป ตามพยากรณ์ที่ตรงกันควรเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 เป็นต้นไปครับ <o></o>

    (ปล. ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นทุกๆ วันนี้ แปลกใจว่าคล้ายกับตำนาน) สำหรับการลงโทษผู้กระทำผิด ถ้ายังไม่เข้าใจว่าทำไมมนุษย์ถึงถูกลงโทษ โปรดคิดถึงโลกมนุษย์ ที่มีศาลยุติธรรมเป็นผู้ตัดสินคดีความ เพื่อมนุษย์จะได้อยู่กันด้วยความสงบเรียบร้อย ถ้ามนุษย์ไม่มีกฎข้อบังคับ ไม่มีการลงโทษ โลกมนุษย์คงถูกพวกโจรครองเมือง ผู้คนดีๆ น่าจะเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า ใช่ไหมครับ<o></o>

    เพิ่มเติม - จากคำทำนาย
    10 รัชกาล ที่ทำให้คนมองว่า ไทยจะมีแค่ 10 รัชกาล
    พระท่านจึงเมตตาบอกให้อีก
    2 รัชกาล โดยรัชกาลที่ 12 คือพระมหาจักรพรรดิ พระมหาจักรพรรดิท่านเกิดมาเพื่อเป็นผู้ปกครองโลก และตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม 10 ประการ...
    (<link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->เรื่อง “พระท่านจึงเมตตาบอกให้อีก 2 รัชกาล” ออร์กะไม่ขอสนทนาในเรื่องนี้จนกว่า คุณ Itou ตอบคำถามที่ถามไป ตามตอบกระทู้ # 130 ครับ)

    คุณ Itou "อ่านๆไปเจอเรื่องแย้งอีกแล้ว ขออนุญาตแย้งนะครับ 555"<o></o>
    อ้างอิง:
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> ...คือ เจริญรุ่งเรืองต่อไปจนถึง พ.ศ. 5,000 ก่อนที่โลกจะเข้าสู่การถูกทำลายด้วยการรวมเข้ากับพระอาทิตย์ เรื่องนี้ออร์กะกำลังจะนำมาลงต่อไป....<o></o>
    </td> </tr> </tbody></table> คุณ Itou "พระพุทธเจ้าทรงบอกไว้ในสุริยสูตรแล้วว่าโลกจะไม่แตก แต่ดวงอาทิตย์จะเพิ่มทีละดวงๆ จนถึง 7 ดวง แต่ผมว่าอย่างมากสิ่งมีชีวิตตายหมดตั้งแต่ 3 ดวงแล้วมั้ง"

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ออร์กะขอขอบคุณ คุณ Itou มากครับทีี่เตือน ออร์กะลืมไปแล้ว ดังนั้นขอต่อครับ จากวิเคราะห์ไปตามหลักฐานข้อมูลภาคภาษาอังกฤษ จากเครือข่ายของ metteya.org คือพยากรณ์ตาม 1. พุทธทำนาย 2. คำทำนายของนอสตราดามุส และ 3. พยากรณ์ของพวกมายัน ซึ่งมีอายุเก่าแก่มาก่อนพุทธทำนาย โดยพยากรณ์เหล่านั้นมีความใกล้เคียงกันว่า สิ่งมีชีวิตควรจะอยู่กันไม่ได้หลังจาก พ.ศ. 5000 ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ การที่โลกเข้ารวมตัวกับดวงอาทิตย์นั้น เป็นไปตามทฤษฎีของจักรวาลวิทยา ซึ่งเป็นที่เข้าใจกันระหว่างนักวิทยาศาสตร์อยู่แล้วครับ <o></o>

    สรุป เรื่องที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในพุทธทำนายเกี่ยวกับ พระจักรพรรดิจะมาทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา ให้อยู่ถึง พ.ศ. 5000 และจากนั้นโลกจะเข้าสู่การแตกทำลาย มีความเป็นไปได้เพราะมีพยากรณ์อื่นๆ ที่เหมือนๆ กันสนับสนุน แต่ถ้าท่านใดจะเชื่อกันอย่างไร ย่อมเป็นสิทธิ์ของแต่ละท่านใช่ไหมครับ

    คุณ Itou "แล้วสมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ทำนายไว้ว่า ถิ่นกาขาว สำหรับผม ผมว่าน่าจะหมายถึงถิ่นของกาซึ่งแท้จริงแล้วขนเป็นสีดำ แต่กลับทำตัวเป็นกาขาวมากกว่านะครับ และผมคิดว่า พระมหาจักรพรรดิ กับ พระศรีอารียะ เป็นคนละองค์กัน พระมหาจักรพรรดิมาจุติเป็นพระโพธิสัตว์นะ และที่พระศรีอารีย์ ทรงเครื่องจักรพรรดิ เพราะตอนนี้ท่านยังเป็นเทวดาอยู่ชั้นดาวดึงส์ ยังไม่เป็นพระพุทธเจ้าทีครับ<o></o>"

    ออร์กะ ตามหลักการ ที่กล่าวมาข้างตน ว่า ก่อนและหลัง พ.ศ. 5000 ควรเป็นไปดังนี้<o></o>


    1. ทุกศาสนาคาดหวังว่าบุคคลที่เป็นตัวแทนสวรรค์จะมาช่วยพวกเขา เมื่อทุกๆ ศาสนาหวังในการมาปรากฏของบุคคลที่เขาเหล่านั้นหวังในปัจจุบัน บุคคลที่พวกเขาทั้งหลายรอคอยควรเป็นบุุคลเดี่ยวกัน <o></o>

    2. พระจักรพรรดิมีชื่อเรียกไปตามความศรัทธาของชนชาตินั้นๆ ศาสนานั้นๆ ดังนั้นพระจักรพรรดิของเขาทั้งหลายย่อมเป็นพระองค์เดียวกัน คนไทยเรียกพระจักรพรรดิว่า พระศรีอารย์ หรือชื่ออื่นๆ ที่เข้าใจ<o></o>

    3. สำหรับคนไทยบางคน คิดว่า ถ้าพระศรีอารย์ และพระจักรพรรดิเป็นคนละองค์ ก็คงมีแค่คนไทยรอคอยต่อไป จนหลัง พ.ศ. 5000 หลังจากที่พระจักรพรรดิทะนุบำรุงพระศาสนาจนถึงสิ้น พ.ศ. 5000 แล้วโลกเข้าสู่การแตกทำลาย แล้วพระศรีอารย์จะมาเพื่ออะไร และจะมาสอนใคร เพาะเวลานั้นไม่มีสิ่งมีชีวิตอยู่<o></o>

    เรื่องของพระจักรพรรดิ และพระศรีอารย์ ดูได้ ตามหลักฐานที่ลงไปแล้ว ตามตอบกระทู้ #98, #99, #103, #107, #109, #110, #111, #112, #114, #118, #119, #121, #122, #125, #132 และยังมีีหลักฐานอีกที่ ไม่ได้นำมาลง เพราะที่ลงไว้ควรที่จะเป็นเหตุผลได้พอเพียงว่า พระจักรพรรดิกับพระศรีอารย์เป็นพระองค์เดียวกัน การกล่าวในสิ่งที่เกิดจากความเชื่อ ไม่สามารถนำไปสนทนากับผู้อื่นได้ โดยปราสจากหลักฐานที่เป็นเหตุผลอ้างอิง<o></o>

    คุณ Itou "แล้วสมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ทำนายไว้ว่า ถิ่นกาขาว สำหรับผม ผมว่าน่าจะ หมายถึงถิ่นของกาซึ่งแท้จริงแล้วขนเป็นสีดำ แต่กลับทำตัวเป็นกาขาวมากกว่านะครับ

    ออร์กะ กล่าวถึง
    สมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ทำนายรัชการที่ 9 "ถิ่นกาขาว" และรัชการที่ 10 "ชาวศิวิไลซ์ " ซึ่งควรมีความสัมพันธุ์กัน ตามตอบกระทู้ที่ # 111 สำหรับท่านใดจะคิดอย่างไร นั้น เป็นสิทธิ์ของแต่ละบุคคลครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} p {mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->ที่เหลือจะสนทนาตาม ตอบกระทู้ #137

    อ้างอิง:<o></o>
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> "ดู ก่อนอานนท์ ผ้าอาบของตถาคต ได้แก่ ศาสนาที่ตถาคตวางไว้ ลิงแม่ลูกอ่อนที่มาถ่ายมูลเลอะเทอะหมดถึง 3 ชายนั้น ได้แก่ กองทัพ ซึ่งจะมารบราฆ่าฟันกันตาย เหลือที่จะคณานับ ศาสนาของตถาคตจะเสื่อมทรุดไปถึง 3 ใน 4 ส่วน คงค้างอยู่แต่เพียงส่วนเดียวและนกยางขาวที่บินมาจับหัวแม่ลิงนั้น คือ พระศรีอาริยเมตไตรยโพธิสัตว์ จะมาปราบอธรรม และช่วยสืบอายุศาสนาของตถาคต เริ่มตั้งแต่ 2,500 ปีขึ้นไป จนครบ 5,000 ปี หรือจนถึง พ.ศ. 5,000"<o></o>
    </td> </tr> </tbody></table>
    อ้างอิง:<o></o>
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> ดูกรอานนท์ ตถาคตสงสารสัตว์ เวลานั้นพลโลกยัง เหลือน้อยเต็มที"<o></o>
    </td> </tr> </tbody></table> คุณ Itou "ตรงนี้ผมอยากได้อ้างอิงว่าเอามาจากสูตรไหนอ่ะครับ พอดีหาไม่เจอ ... ขอบคุณครับ
    คือน่าจะบอกว่าเอามาจากพระสูตรไหนทุกครั้งนะครับ ไม่ใข่อะไรแต่ผมจะเอาไปหาอ่านตัวเต็มๆอ่ะครับ
    "



    คุณ Itou "เพิ่มเติมอีกนิด ไปเปิดๆเจอ" <o></o>
    อ้างอิง:<o></o>
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> ดูกรภิกษุทั้งหลาย ตปุสสคฤหบดีประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเป็นผู้พึง
    ปลงใจเชื่อในพระตถาคต เห็นอมตธรรม ทำให้แจ้งอมตธรรมอยู่ ธรรม ๖ ประการเป็นไฉน คือ

    ความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ๑ ความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระธรรม ๑ ความ
    เลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระสงฆ์ ๑ อริยศีล ๑ อริยญาณ ๑ อริยวิมุติ ๑
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ตปุสสคฤหบดีประกอบด้วยธรรม ๖ ประการนี้แล เป็นผู้พึงปลงใจเชื่อในพระตถาคต เห็นอมตธรรม

    ทำให้แจ้งอมตธรรมอยู่ ฯ
    <o></o>
    </td> </tr> </tbody></table> คุณ Itou "ถ้า ๖ ข้อแรกเหมือนกัน ข้อที่เพิ่มมา ๗ จะเป็นอะไรหวา ช่วยกันคิดหน่อยเร็ว"

    ออร์กะ เท่าที่ ออร์กะทราบ “ธรรม 7 ประการ” อยู่ในองค์ของท้าวสักกะฯ ครับ <o></o>
    <o></o>
    </td></tr></tbody></table>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 สิงหาคม 2010
  13. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    คุณ Itou "พระท่านที่กล่าวถึงหลวงพ่อเล็ก เกสโรครับ
    คือผมกลัวว่าไม่เชื่อแล้วจะไปปรามาส ผมคงคิดมากไปเอง"


    ออร์กะ ขออนุโมทนาและขอบคุณ คุณ Itou มากครับที่กรุณาให้ชื่อ "พระท่านที่กล่าวถึงหลวงพ่อเล็ก เกสโรครับ" ด้วยความจริงใจ ออร์กะไม่ลบหลู่ในสิ่งใดๆ แต่เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสสอน ในเรื่องปาฏิหาริย์ 3 ประการ ตามตอบกระทู้ # 132 ข้อที่ 3 ออร์กะย่อมพิจารณาถึง <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->"พระท่านกล่าวมานี้ มีอะไรที่สามารถทำให้เป็นเรื่องที่เชื่อถือได้ เป็นกุศล เป็นประโยชน์ ไม่มีโทษครับ" และ "<link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->พระท่านมีอะไรเป็นหลักฐาน ที่ออร์กะสามารถนำไปเป็นข้ออ้างอิง ชี้แจงให้ท่านผู้ที่สนใจเข้าใจได้ตามหลักการ กาลามสูตรครับ" เมื่อยังไม่มี ออร์กะขอน้อมรับเรื่องราวไว้เป็นความรู้ที่ไม่ควรประมาทครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> อ้างอิง:<o></o>
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> "ดู ก่อนอานนท์ ผ้าอาบของตถาคต ได้แก่ ศาสนาที่ตถาคตวางไว้ ลิงแม่ลูกอ่อนที่มาถ่ายมูลเลอะเทอะหมดถึง 3 ชายนั้น ได้แก่ กองทัพ ซึ่งจะมารบราฆ่าฟันกันตาย เหลือที่จะคณานับ ศาสนาของตถาคตจะเสื่อมทรุดไปถึง 3 ใน 4 ส่วน คงค้างอยู่แต่เพียงส่วนเดียวและนกยางขาวที่บินมาจับหัวแม่ลิงนั้น คือ พระศรีอาริยเมตไตรยโพธิสัตว์ จะมาปราบอธรรม และช่วยสืบอายุศาสนาของตถาคต เริ่มตั้งแต่ 2,500 ปีขึ้นไป จนครบ 5,000 ปี หรือจนถึง พ.ศ. 5,000"
    </td> </tr> </tbody></table> คุณ Itou "ก็มีความเป็นไปได้ที่พระอินทร์ จะมาเกิดเป็นพระจักรพรรดิ
    แต่แหม สายฟ้ามันก็เกี่ยวกับเทพหลายองค์อยู่นา
    เรื่องภัยธรรมชาติช่วงนี้ คงเกี่ยวกับการล้างแผ่นดิน(ที่เริ่มไปแล้ว)ละมั้งครับ
    อืม พระอินทร์ท่านอาจเป็นคนสั่ง(จัดการคนชั่ว)ก็ได้ ก็ท่านเป็นหัวหน้าเทวดานี่
    "

    ออร์กะ ขออนุโมทนา และขอบคุณคุณ Itou มากครับ ที่ได้กรุณาหาข้อมูลมาสนทนากันครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ออร์กะ (ตำนานเ่ก่าทางพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท มีหลายเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพระศรีอารย์ มาปรากฏในกึ่งพุทธกาล คือ 2500 ปีจากที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ประเด็นที่สำคัญควรพิจารณาดูความคล้องจองของเนื้อหากับตำนานอื่นๆ ที่กล่าวในเรื่องเดียวกัน แล้วดูข้อเท็จจริงว่า มีส่วนเกี่ยวข้องกันอย่างใดกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งเรื่องนี้เกี่ยวกับภัยพิบัติ สังคมมนุษย์ สรุปก็คล้ายๆ พุทธทำนาย หรือเหมือนปู่ฤาษีมณีรัตน์(สัมเด็ดรุ่ง) ที่บ่งในหนังสือใบลานสี ได้ถูกตกทอดมาในวัดแห่งหนึ่ง ในจังหวัดอัตตะบือ [ประเทศลาว] ถ้าได้ศึกษาพยากรณ์ต่างๆ เราจะทราบว่าไม่ควรประมาท พยากรณ์ที่มีข้อความคล้ายๆ กันโดยเฉพาะจากต่างศาสนา<o></o>
    <o></o>
    ออร์กะได้ศึกษาและเห็นด้วยกับสมเด็จพระสังฆราช และพระราชาคณะทั้งปวง พร้อมกันถวายพระพรว่า พระบาลี และ อรรถกถาฎีกาพระไตรปิฎกทุกวันนี้มีพิรุธมากมาช้านานแล้ว (พระไตรปิฎก (จากหนังสือพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ในรัชกาลที่ ๑ อ้างอิง: พระไตรปิฏก และ พระไตรปิฏกฉบับประชาชน โดยคุณสุชีพ ปุญญานุภาพ) ดังนั้นการอ้างอิงพระไตรปิฎก ก็ต้องวิเคราะห์พิจารณาให้ดีเช่นกัน<o></o>
    <o></o>
    เรื่อง องค์พระศรีอาริยะเมตไตยต้องบุรพกรรม จะเห็นได้ว่า URL อ้างอิงขาดหายไป คงเหลือเฉพาะที่ลอกกันมาดังนี้ และออร์กะเคยได้ยินผู้เฒ่าผู้แก่ทางอิสาน เล่าเรื่องนี้กันมา โดยจับเนื้อควมได้คล้ายๆ กันครับ<o></o>
    <o></o>
    สมัย หนึ่ง ที่องค์พระศรีอาริยะเมตไตยต้องบุรพกรรม มาเกิดเป็นนางยักษ์ รูปร่างร้ายอยู่ในป่า องค์พระโคตมะกำลังบำเพ็ญบารมีอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเอราวดี ด้วยสัพพัญญุตญาณทราบว่า นางยักษ์นี้ได้ก่อสร้างบารมี 30 ทัศมามากมาย แต่เพราะผลกรรมที่กระทำกาเมสุมิจฉาจารกับภรรยาผู้อื่น จึงมาเกิดเป็นนางยักษ์ชาตินี้ พระองค์จึงเสด็จมาโปรด นางยักษ์แลเห็นลักษณะอันประเสริฐ จิตเลื่อมใสก้มลงกราบ เมื่อองค์พระโคตมะตรัสเทศนาพระธรรม นางยักษ์ปลงใจเด็ดขาด ตัดเอาเต้านมทั้งสองถวายเป็นพุทธบูชา อานิสงส์นางยักษ์ตัดเต้านมทั้งสอง มากระทำสักการบูชาพระตถาคตครั้งนั้น ส่งผลให้นางยักษ์พ้นจากอิตถีเพศ คือ ท่านจะเกิดเป็นหญิงแต่เพียงชาติเดียวเท่านั้น นางยักษ์นี้ได้สร้างพุทธวิริยบารมีมาถึง 80 อสงไขยกัป คือ ปรารถนาอยู่ในใจถึง 36 อสงไขยกัป ลั่นวาจาว่า จะเป็นพระพุทธเจ้าอีก 28 กัป<o></o>
    <o></o>
    และ ในกาลก่อน พระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งทรงพระนามว่า "มหุตชินสีห์" ได้ทรงพยากรณ์ว่า" ท่านจะเวียนว่ายตายเกิดสืบต่อไปอีก 16 อสงไขยกัป ก็จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า พระศรีอาริยะเมตไตย ในอนาคตกาล" และในท่ามกลางพระพุทธศาสนาของพระพุทธโคดม ท่านจะมาช่วยสืบอายุระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองไปจนตลอด 5,000 ปี<o></o>
    <o></o>
    กาลต่อมา ในชาติหนึ่งที่พระศรีอาริยะเมตไตย มาเกิดเป็นมนุษย์ชาวไร่ กระทำไร่เลี้ยงชีวิตอยู่ริมภูเขา ตักกะคีรี ซึ่งเป็นภูเขาเดียวกับ ที่ฝูงลิงถ่ายอุจจาระใส่ผ้าอาบของพระพุทธเจ้านั้นเอง ขณะที่พระศรีอาริยะเมตไตยเป็นกระทาชาย วิ่งไล่ขับฝูงลิงที่ลงมากินแตงโมในไร่นั้น ก็เลยวิ่งเลยถลำไปเหยียบเอาพระฉาย คือ เงาของพระพุทธเจ้าโดยไม่ทันสังเกต เมื่อเหลียวมาพบพระโคตมะ จิตเลื่อมใสศรัทธา จึงนำเอาแตงโมมาถวาย 7 ลูก แต่มีลูกหนึ่งที่รอยหนูกัดเป็นโพรง กุศลผลทานครั้งนั้นส่งผลให้ท่านเกิดเป็นพระยาจักรพรรดิราชาธิราชอันประเสริฐ ในท่ามกลางศาสนาของพระตถาคต และจะช่วยสังคายนา ชำระสะสางพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป ศาสนาของพระพุทธโคดมจะปกแผ่ไปทั่วทั้งเมืองคนขาว เมืองคนเทา ปกแผ่ไปทั่วโลก ส่วนวิบากกรรมที่ท่านได้เหยียบเงาพระตถาคตนั้น เมื่อท่านได้มาเกิดเป็นมนุษย์จะมีรูปร่างหน้าตาขี้ริ้วขี้เหร่ บนศรีษะก็จะมีรอยแผลเป็น ดุจดังรอยหนูเจาะแตงโม แต่ในภายหลังท่านจะมีผิวพรรณวรรณะ สวยสดงดงามดั่งเทพบนสวรรค์ เพราะได้บริโภคของทิพย์ของพระอิศวรเทพเจ้า<o></o>
    <o></o>
    ตามบุรพกรรมสัญญาที่ มาระหว่างองค์พุทธที่ 4 และองค์พุทธที่ 5 ทำให้องค์พระศรีอาริยะเมตไตยโพธิสัตว์ จะต้องมาช่วยสืบอายุพุทธศาสนาของพระพุทธโคดม จวบจนครบพุทธกาลดั่งนี้แล และในระหว่างกาลแห่งการรักษาศาสนจักร อาณาจักรแห่งองค์พุทธที่ 4 จะอยู่ในนามว่า "ภายใต้รังสีพระศรีอาริยะเมตไตรย" เพราะอำนาจสิทธิแห่งวงศ์ศาสนจักรยังเป็นขององค์พุทธที่ 4 แต่เพียงฝ่ายเดียวเท่านั้น<o></o>
    <o></o>
    อดีตกรรม<o></o>
    <o></o>
    เอ กัง สะมะยัง ในสมัยหนึ่งพระพุทธโคดมได้เสด็จเลียบมาถึงแม่น้ำสายหนึ่ง ในแคว้นสุวัณณภูมิ ซึ่งไหลผ่าน ภูเขาตักกคีรี พระองค์ลงสรงน้ำเรียบร้อยแล้ว ก็เอาผ้าอาบตากไว้บนฝั่งแม่น้ำ จึงเสด็จขึ้นประทับอยู่บนภูเขาลูกนั้น มีลิงแม่ลูกอ่อนฝูงหนึ่งอุ้มลูกออกจากชายป่า พลันก็ถ่ายอุจจาระของมันลงบนผ้าอาบของพระองค์ ซ้ำเอาหว่านเล่นเสียเลอะเทอะ คงเหลืออยู่ชายเดียว ณ บัดนั้นก็ได้มีนกยางปอน (นกยางขาว) ตัวหนึ่งบินมาจับลงที่ศรีษะของแม่ลิงตัวหนึ่ง แล้วก็เหลียวหน้ามองไปโดยรอบทั่วทุกทิศ ในทันใดรัศมี ซึ่งเป็นสีต่าง ๆ ได้พุ่งปราดออกจากพระเขี้ยวทั้งสี่ของพระพุทธเจ้า พระอานนท์ผู้อุปัฏฐาก จึงทูลถามเหตุการณ์อันประหลาดนั้น พระองค์ทรงตรัสพยากรณ์ว่า:-<o></o>
    <o></o>
    " ดูก่อนอานนท์ ผ้าอาบของตถาคต ได้แก่ ศาสนาที่ตถาคตวางไว้ ลิงแม่ลูกอ่อนที่มาถ่ายมูลเลอะเทอะหมดถึง 3 ชายนั้น ได้แก่ กองทัพ ซึ่งจะมารบราฆ่าฟันกันตาย เหลือที่จะคณานับ ศาสนาของตถาคตจะเสื่อมทรุดไปถึง 3 ใน 4 ส่วน คงค้างอยู่แต่เพียงส่วนเดียว และนกยางขาวที่บินมาจับหัวแม่ลิงนั้น คือ พระศรีอาริยะเมตไตรยโพธิสัตว์ จะมาปราบอธรรม และช่วยสืบอายุศาสนาของตถาคตเริ่มตั้งแต่ 2,500 ปีขึ้นไป จนครบ 5,000 ปี "<o></o>
    <o></o>
    "พระศรีอาริยเมตไตรยโพธิสัตว์กับตถาคต ได้สร้างกรรมไว้ในอดีตชาติ" พระองค์ทรงเล่าให้พระอานนท์ฟังต่อไปว่า
    <o></o>
    "อันชาติหนึ่งสองเราสหายสนิท ช่วยกันคิดเอาบัวมาอธิษฐาน<o></o>
    เพื่อเสี่ยงทายบารมีพุทธกาล ให้บัวบานบอกแจ้งเป็นผู้ใด"<o></o>
    <o></o>
    ใน ชาตินั้นเราทั้งสองจึงเอาดอกบัวมาคนละดอก เข้าไปอธิษฐานในพระวิหารว่า ถ้าใครจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าก่อน ก็ขอให้ดอกบัวของผู้นั้นบานก่อน<o></o>
    <o></o>
    ครั้น วันรุ่งขึ้นพระตถาคตได้เข้าไปดูดอกบัวนั้น แต่ยังไม่ทันสว่างแจ้ง เห็นดอกบัวของพระศรีบานก่อน ด้วยความที่อยากเป็นพระพุทธเจ้าก่อนพระศรี จึงลักเปลี่ยนดอกบัวของพระศรีมาไว้ที่พระตถาคต สับเปลี่ยนกันเสีย<o></o>
    <o></o>
    "บัวของน้องบานแล้วนะพี่จ๋า สัมพุทธาน้องย่อมได้ไปก่อนแน่<o></o>
    แต่ไฉนบัวในมือเดี๋ยวหุบเดี๋ยวก็แบ พุทธยังไม่เที่ยงพุทธยังไม่แท้น่าอายจริง"<o></o>
    <o></o>
    ฝ่าย พระศรีนั้นเขาฌานแก่ รู้ว่ามีการสับเปลี่ยนบัว จึงทำนายว่า "โอ! สหายท่านจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าก่อนเราจริง แต่ทว่าฝูงมนุษย์ยุุคนั้นจะเป็นคนขี้ลักขี้ล่าย และใช้เงินดำ เงินแดง เงินกระดาษกัน อย่างพร่ำเพรื่อ มนุษย์จะไม่ซื่อสัตว์ต่อกัน จะทุจริต คิดมิชอบนานาประการ พระสงฆ์องค์เณรพุทธบริษัทในศาสนานั้น จะหาความเที่ยงแท้แน่นอนไม่ได้ เดี๋ยวบวช เดี๋ยวสึก เดี๋ยวหุบ เดี๋ยวแบดังบัวดอกนี้"<o></o>
    <o></o>
    เพราะกรรมที่พระพุทธโคดม ได้สับเปลี่ยนบัว ถึงแม้ว่าพระองค์และเหล่าพระอรหันตสาวกจะเข้าพระนิพพานไปแล้วก็ตาม แต่กรรมนั้นยังติดอยู่ในศาสนาของพระองค์ ตราบเท่าทุกวันนี้ ที่เหลือไว้แต่สมมติสงฆ์ในศาสนาของพระองค์ จึงรู้จริงบ้าง ไม่จริงบ้าง ศาสนาสามส่วนก็ถูกพราหมณ์ ยักษ์ และมารเอาไปครอง เหลือจริงเพียงส่วนเดียวเท่านั้น ข้อวัตรปฏิบัติจึงถูกปนเป็น จนแยกแยะไม่ออก ผู้คนเกิดมาสมัยหลัง จึงไม่เข้าใจทางปฏิบัติที่ถูกมรรค ถูกผล ถูกนิพพานในฝ่ายสัมมาทิฏฐิแต่ส่วนเดียว นั้นคืออะไร<o></o>
    <o></o>
    พระพุทธโคดมทรงเล่าอดีตกรรมจบลง พร้อมพยากรณ์เหตุการณ์สืบไปอีกว่า<o></o>
    <o></o>
    "เมื่อพระศรีอาริยะเมตไตรยโพธิสัตว์จะมาช่วยสืบอายุพุทธศาสนาในพุทธกาลของพระตถาคตนั้น จะมีสรรพวัตถุทั้งหลายบังเกิดขึ้นแก่โลก อย่างแปลกประหลาดเหลือจะคณานับ ทั้งเสื้อผ้าอาภรณ์นานาชนิด ก็จะไม่ได้ปั่นและทอด้วยมือ เหมือนในศาสนาของตถาคตจะมีแต่ผ้าเนื้อบริสุทธิ์ ฝูงมนุษย์จะไม่ติเตียนว่า เป็นขี้หูขี้ตาเขาเท่าจะวัดวา (วัดหลาและเมตร) ก็จะมีในยามนั้น แม่หญิงจะนุ่งซิ่นเสื้อลายเหมือนหนังแย้ จะนุ่งเสื้อผ้าแขนกุดขาก้อม หญิงชายจะนุ่งผ้าเป็นอย่างเดียวกัน จะว่าชายก็บ่จริง จะว่าหญิงก็บ่แม่น แม่หญิงจะหวีผมปกหน้า จะใส่ต่างหูยาวง้ำหน้า พ่อชายจะใส่หมวกหุ้มหน้า สิ่งที่ไม่รู้จะได้รู้ สิ่งที่ไม่พบเห็นก็จะได้เห็น พร้อมด้วยบุรพนิมิตอันชั่วร้ายต่าง ๆ ก็จะบังเกิดขึ้นแก่โลกมากมายยิ่งนักดังนี้<o></o>
    <o></o>
    1. ราชภัย ท้าวพระยาจะบังคับเบียดเบียนพลเมือง<o></o>
    2. โจรภัย จะบังเกิดโจรผู้ร้ายปล้นสะดมทั่วไป<o></o>
    3. อัคคีภัย ไฟจะไหม้บ้านเมืองไม่ขาดสาย<o></o>
    4. อสุนีบาต ฟ้าจะผ่าสัตว์และคนล้มตายบ่อย ๆ<o></o>
    5. เมทนีภัย แผ่นดินจะไหวสะท้านและแยกออกจากกัน<o></o>
    6. วาตภัย จะเกิดลมพายุพัดพาบ้านเมืองพินาศ
    7. อุทกภัย น้ำท่วมบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นา<o></o>
    8. ทุพภิกขภัย จะเกิดข้าวยากหมากแพงและอดอาหาร<o></o>
    9. พยาธิภัย จะเกิดโรคระบาดคนและสัตว์ล้มตาย
    10. สัตถภัย จะรบราฆ่าฟันกันล้มตายร้ายแรง<o></o>
    <o></o>
    ใน ขั้นสุดท้าย แผ่นดินจะไหวเดือนละหลายครั้ง จะมีสุริยคราสและจันทรคราสบ่อยครั้ง จะเห็นผีพุ่งไต้ (ดาวตก) บ่อยๆ ดาวหางและแสงประหลาดจะบังเกิดให้เห็นไม่ขาดระยะ จะได้ยินเสียงดังในอากาศคล้ายระเบิดและปืนใหญ่ แร้งกาจะบินลงเกาะบ้านเมืองอย่างผิดธรรมดา ฝูงมนุษย์จะเดือดร้อนและขวักไขว่กันไปมา จะบังเกิดสงครามฆ่าฟันกันตายเหมือนใบไม้ร่วงไปทุกหนทุกแห่ง ครั้นแล้วก็ถึงกาลที่องค์พระเมตไตรยโพธิสัตว์จะปรากฏ เป็นที่พึ่งแก่โลกตาม บุรพกรรมสัญญา<o></o>
    <o></o>
    สรุป ความเป็นจริงที่ไม่ควรปฏิเสธ ในเรื่องศาสนาสามส่วน ส่วนหนึ่งถูกพราหมณ์เอาไปปผสมผสานประกอบพิธีกรรม มารเอาไปครอง เอาไปตัดต่อ ปิดบังไว้ หาทางล้มล้างพระพุทธศาสนา ดังเมื่อครั้ง มารผู้มีใจบาป ท่าน ทูลขอให้พระผู้มีพระภาคเสด็จปรินิพพาน หรือจะเห็นได้ว่าเรื่องพระศรีอาริยเมตไตรย (พระศรีอารย์) ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ชัดเจน แต่ถุกมารเอาไปปกปิด ส่วนยักษ์เอาไปขายกิน เมื่อยักษ์เริ่มสิงจิตใจผู้คน จนทั่วถึงกันทุกชนชั้น ตลอดพระสงฆ์ ก็เริ่มโอ้อวดฤทธิ์เดชความสามารถ ความอยู่ยงคงกระพัน วัตถุมงคลเกิดขึ้นมากมายแทนการปฏิบัติบูชาที่ถูกต้อง ผู้คน เริ่มมีนิสัยตามสันดานของยักษ์ เห็นผิดเป็นชอบด้วยไฟแห่งโลภะ โทสะ และโมหะ จะเหลือศาสนาจริงอยู่เพียงส่วนเดียว ท่านผู้มีกุศลปัญญา ถ้าได้โปรดพิจารณาแล้ว ก็น่าจะเห็นข้อเท็จจริงได้ไม่มากก็น้อยครับ <o></o>

    คุณ Itou "ก็มีความเป็นไปได้ที่พระอินทร์ จะมาเกิดเป็นพระจักรพรรดิ แต่แหม สายฟ้ามันก็เกี่ยวกับเทพหลายองค์อยู่นา เรื่องภัยธรรมชาติช่วงนี้ คงเกี่ยวกับการล้างแผ่นดิน(ที่เริ่มไปแล้ว)ละมั้งครับ อืม พระอินทร์ท่านอาจเป็นคนสั่ง(จัดการคนชั่ว)ก็ได้ ก็ท่านเป็นหัวหน้าเทวดานี่"

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:Mangal; panose-1:0 0 4 0 0 0 0 0 0 0; mso-font-charset:1; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:32768 0 0 0 0 0;} @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ออร์กะ ขออนุโมทนา คุณ Itou กล่าวุถูกต้องตามตำนานครับ

    ตามหลักฐานแล้วท้าวสักกะ มีอาวุธประจำพระองค์ ที่ใช้ปราบเหล่ามารก็ คือสายฟ้าเป็นหลักครับ ท้าวสักกะมีชื่อมากมาย แล้วแต่เรื่องพระองค์จะ ไปประเทศไหน ใช้ภาษาใด เช่น <o></o>
    1. เทพเจ้าซีอุส (Zeus) ประเทศกรีซ ผู้เป็นพระราชาแห่งทวยเทพ ทั้งหลาย เป็นเทพแห่งท้องฟ้าและฟ้าร้อง หลังจากปราบยักษ์เสร็จปราศจากเสี้ยนหนามใด ๆ แล้ว ซูสก็ขึ้นครองบัลลังก์รั้งอำนาจเต็มตลอด 3 ภพ <o></o>
    2. สำหรับท้าวสักกะ ชื่อ ธอร์ (Thor) ชนเผ่าที่อยู่อาศัยในบริเวณ สแกนดิเนเวีย คือพวกเมอริเชีย นับถือพระองค์ว่า เทพเจ้าแห่งสายฟ้า (the Thunder God) เป็นต้น <o></o>
    3. นอกจากเป็นเทพเจ้าแห่งสายฟ้าแล้ว ท้าวสักกะ ยังเป็นเทพเจ้าแห่งสงคราม คือพระอินทร์สังหารอสูร วฤตระ (वृत्र,Vritra) ขโมยน้ำไปเก็บไว้ ทำให้เทวดาและมนุษ์เดือดร้อนเป็นอย่างยิ่ง พระอินทร์เกิดมาได้ร่างกายใหญ่โตทันที ก็ไปฆ่า วฤตระเอาน้ำมาคืน ใครสนใจหาอ่านได้ทัี้งภาคภาษาไทย และ อังกฤษครับ ก้เหมือนกับ ซีอุส และ ธอร์ ครับ ที่สัตรูคืองูและมังกร <o></o>
    สัตรูตัวฉกาจของท้าวสักกะ ซีอุส และ ธอร์ ก็คือผู้ไร้แขนขา หรืองู หรือพวกมังกร ถ้าทางไบเบิล ก็คือซาตาน หรืองูนั่นเองครับ ฉะนั้นตอนนี้คงเห็นว่า ท้าวสักกะ กับเทพเจ้า (God) ก็คือพระองค์เดียวกันครับ หรือสรุปกล่าวง่ายๆ ท้าวสักกะ คือผู้ปราบอธรรมครับ <o></o>

    คุณ Itou "เรื่องภัยธรรมชาติช่วงนี้ คงเกี่ยวกับการล้างแผ่นดิน(ที่เริ่มไปแล้ว)ละมั้งครับ"

    ออร์กะ พระพุทธเจ้า และพยากรณ์โลกอื่นๆ รวมทั้งนอสตราดามุสบ่งไว้ชัดเจน ว่าความเชื่อที่มนุษย์ยึดอย่างผิดๆ ขาดอริยปัญญา เกิดเป็นความมิจฉาทิฐิของมนุษย์ จะนำพามนุษย์ทั้งหลายถูกกำจัดให้สิ้นไปจากโลกครับ ก็คงอีกไม่นานเกินรอครับ แค่ 2-3 ปี จะได้รู้ว่าความดื้อรั้นของมนุษย์นั้นมีโทษกับตนเองเพียงใดครับ และเมื่อถึงเวลานั้น ไม่ตวรไปโทษเทพใจร้าย ไม่มีเมตตา เพราะพระองค์ให้โอกาส ให้เวลามานานพอสมควรแล้วครับ ออร์กะไม่ได้มั่วครับ แต่คิดว่าทำไมพระพุทธเจ้า และคำทำนายโลกต่างๆ ถึงตรงกัน <o></o>


    คุณ Itou "อืม พระอินทร์ท่านอาจเป็นคนสั่ง(จัดการคนชั่ว)ก็ได้ ก็ท่านเป็นหัวหน้าเทวดานี่" <o></o>

    ออร์กะ ตามหลักฐานที่พระพุทธเจ้าตรัส ดู “ธชัคคสูตร” ที่ศรัทธาโบราณและศาสนาอื่นๆ พระอินทร์เป็นผู้จัดการในด้านสงครามทุกกับมารทุกเรื่องครับ
    <o></o>


    <o></o>
    อ้างอิง:<o></o>
    <table class="MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style=""> <td style="border: 1pt inset; padding: 4.5pt;"> ดูกรอานนท์ ตถาคตสงสารสัตว์ เวลานั้นพลโลกยัง เหลือน้อยเต็มที" <o></o>
    </td> </tr> </tbody></table> คุณ Itou "คือหลักๆ ผมอยากรู้ว่าอันนี้เอามาจากสูตรไหนมากกว่าอ่ะครับ เห็นคนเอามาอ้างกันบ่อยเหลือเกิน"

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> คุณ Itou "ตรงนี้ผมอยากได้อ้างอิงว่าเอามาจากสูตรไหนอ่ะครับ พอดีหาไม่เจอ ... ขอบคุณครับ<o></o>
    คือน่าจะบอกว่าเอามาจากพระสูตรไหนทุกครั้งนะครับ ไม่ใข่อะไรแต่ผมจะเอาไปหาอ่านตัวเต็มๆอ่ะครับ
    "

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> พระพุทธพจน์ ทำนาย*<o></o>
    (หมายเหตุพุทธทำนาย พ.ศ. ไทยเร็วไป พ.ศ. ที่ถูกต้อง เอา ๔๘ บวก เช่น เริ่มแต่ศาสนาตถาคตล่วงมาได้ ๒๔๘๕ ปี พ.ศ. ไทย = ๒๔๘๕ + ๔๘ = พ.ศ. ๒๕๓๓) <o></o>
    พิสูจน์ ๒๔๖๗ ถึง ๒๔๘๖ พระมหากษัตริย์ธรรมิกราช (ผู้ใช้ธรรมะชนะอธรรม = พระจักรพรรดิ) จะมาเกิดนั้น พระพุทธเจ้าตรัสพุทธทำนายตรงคือ พระจักรพรรดิ เกิดขึ้นเมื่อ ๒๔๘๕ + ๔๘ = พ.ศ. ๒๕๓๔ ดูหลักฐานประกอบเรื่องมหาปรินิพพาน <o></o>
    <o></o>
    คณะธรรมทูตผู้ไปอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ และพระศรีมหาโพธิ์ที่ประเทศอินเดียเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ ได้คัดลอกพระพุทธพจน์ทำนายจากศิลาจารึกเขตมหาวิหารในสวนมฤคทายวัน ประเทศอินเดีย<o></o>
    แปลได้ดังนี้
    "สาธุ อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระเมตตากรุณาแก่สัตว์โลก ซึ่งเกิดมาล้วนแต่ลำบากยิ่งนัก ในคราวที่พระองค์ไกล้ถึงพระชนมายุย่างเข้าพระปรินิพานตามกาลเวลา จึงตรัสแก่พระอานนท์ผู้ศิษย์อันสนิทพากเพียรพยาบาลว่า
    <o></o>
    ดูกรอานนท์ สัตว์โลกทั้งหลายที่เกิดมาล้วนแต่ลำบากทุกชาติ ทุกศาสนา ตามธรรมชาติที่หมุนเวียนของโลก โลกหมุนไปไกล้ความแตกทำลายจนถึงสมัยที่ตถาคตนิพพานไปแล้วได้ ๕๐๐๐ ปี
    <o></o>
    เมื่อโลกไปไกล้กึ่งจำนวนที่ตถาคตทำนาย ไว้ (๒๕๐๐ ปี) มนุษย์และสัตว์จะได้รับภัยพิบัติสารพัดทิศเสียครึ่งหนึ่ง ในระยะ ๓๐ ปี สิ่งที่ศาสนิกชนไม่เคยพบเห็น ยักษ์หิน ถูกสาปให้หลับก็กลับคื่นขึ้นมาอาละวาดยิ่งหนัก เมื่อไกล้กึ่งศาสนาของตถาคต ก็ทวีภัยใหญ่ขึ้นทุกทิพาราตรี และมนุษย์นอกศาสนาก็จะมารบราฆ่าฟัน กันถึงเลือดนองแผ่นดินและแผ่นน้ำ แม้ในอากาศก็มี อำนาจภัยจากฟ้าทุกทิศานุทิศ ไฟจะลุกลามเผาผลาญมนุษย์ไม่ขาดระยะ ต่างฝ่ายต่างทำลายกันย่อยยับเหมือนยักษ์ กระหายเลือด แผ่นดินแผ่นน้ำจะเดือดเป็นไฟ และตายกันไปฝ่ายละครึ่งจึงเลิกรา ต่างฝ่ายต่างหมดกำลังด้วยกันตามวิสัยของยักษ์ร้ายนอกศาสนา ซึ่งกำเนิดมจากสัตว์ป่าอำมหิต
    <o></o>
    ส่วนศาสนิกชนผู้ขวนขวายในทางบุญตามเดิม วัจนะของตถาคต ก็จะสามารถระงับร้อนไม่รุนแรง บ้านใดที่เคารพสักการะพระศรีมหาโพธิ์และ กาสาวพัสตร์จะได้รับวิบัติเบาบางลง แต่จะหนีธรรมชาติไม่พ้น
    <o></o>
    เริ่มแต่ศาสนาตถาคตล่วงมาได้ ๒๔๘๕ ปี เป็นต้นไปไฟจะลุกมาทางทิศตะวันออกไหม้วัดวาอาราม สมณชีพราหมณ์จะอดอยากยากเข็ญ คนบ้านจะเข้าป่า สัตว์ป่าจะเข้ากรุง เมืองหลวงจะร้อนเป็นไฟ ลูกไฟจะตกจากฟ้าเป็นเพลิงผลาญ เหล็กกล้าจะทะยานจากน้ำ มหาสมุทรจะชอกช้ำสงครามจะทั่วทิศ ศึกจะติดเมือง ทหารจะเป็นเจ้า ข้าวจะขาดแคลน ทั่วแคว้นจะอดอยาก พลูหมากจะหมดเปลือง ปราชญ์เปรื่องจะสิ้นสูญ ราชตระกูลอำมาตย์ ราษฎรทุกคนจะพากันถืออำนาจไม่เป็นธรรม ไม่เคารพหลักธรรม โดยปรวนแปรนิยมเชื่อถือถ้วยคำของคนโกง คนกล่าวคำเท็จ คนประจบสอพลอย่อมได้รับการเชื่อถือในท่ามกลางสังคมสันนิบาต ผู้ดีมีศีลธรรมประพฤติชอบไม่มีเสียง (อธรรมพูดจ้อ แต่ธรรมเป็นใบ้) จะเกิดการจลาจลวุ่นวาย ลูกจะพลัดแม่ แม่จะพลัดจากลูก โคกจะเป็นน้ำ ผีโขมดป่าจะเข้าเมือง พระเสื้อเมืองทรงเมืองจะเข้าไพร เทวดาจะเรียกแมลงบี้เหล็กโกฏิหนึ่ง ผีเสื้อแสนหนึ่งมาปล่อยไข้เป็นไฟผลาญ
    <o></o>
    เมื่อศาสนาของตถาคตล่วงมาได้ ๒๕๐๗ (ปีมะโรง) คนเปลี่ยนสภาพเดินเป็นคลาน ล่วงได้ ๒๕๐๘ (ปีมะเส็ง) ตลิ่งจะพัง แผ่นดินถิ่นอธรรมจะถล่มเป็นทะเล ล่วงได้ ๒๕๑๒ (ปีระกา) เมืองมนุษย์จะมืด ๗ วัน ๗ คืน โลกดิ่งสู่ความหายนะ บุคคลเจริญด้วยเมตตา กรุณา ไม่เบียดเบียนข่มเหงอิจฉาพยาบาทและไม่ประทุษร้ายซึ่งกันและกัน ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรม และยึดถือคาถาของตถาคตจะพ้นภัยพิบัติ ให้เจริญภาวนาดังนี้
    "หิตะชิราทัน มันกะโลอังคะ ศิลากะละสา สาสะสะติ โหตะถิ โหคะหะคะเน" ให้ท่องบ่นภาวนาเป็นนิจ ให้จดอักษรใส่กระดาษหรือผ้าขาวปิดไว้หน้าบ้าน หัวนอน หรือพันศรีษะไว้ สารพัดภัยพินาศ สันติประสิทธิ์
    ดูกรอานนท์ ตถาคตสงสารสัตว์โลกเป็นล้นพ้น ที่มีอายุขัยอยู่ได้ไกล้ยุคกึ่งยุคลลาย เมื่อศาสนาของตถาคตล่วงมาได้ ๒๕๑๒ (ปีจอ) พระจันทร์จะเริ่มเปล่งแสงฉายโลก ครั้นล่วงได้ ๒๕๑๕ (ปีชวด) นับพ้นระยะปี ๓๐ ปี พวกอธรรม คือพวกที่ไม่ตั้งอยู่ในศีลในสัตย์ ไร้ซึ่งศีลธรรมนั้นจะหมดสิ้นไปเพราะพวกมิจฉาทิฐิจะดับสูญไปจากโลก อธรรมแพ้ในที่สุด ครุฑจะบินกลับถิ่นสถาพร คนที่จรจะกลับเข้ากรุงบำรุงธรรม ธรรมจะชนะ พระจะอยู่บ้านเมืองต่อไป การงานของมนุษย์จะสำเร็จด้วยอริยศาสตร์ ซึ่งไม่ต้องเบียดเบียนแรงผู้ใด ทุกคนจะสมบูรณ์ด้วยศีลธรรมและชีวิตผาสุก มหากษัตริย์ธรรมิกราชผู้เป็นพระโพธิสัตว์ องค์หนึ่งจะเกิดภายในความอุปภัมถ์ของพระมหาเถระโพธิสัตว์ ทั้งสององค์นั้น จะจัดการบำรุงศาสนาของตถาคต ในระยะนี้เป็น "ยุคศิวิไล" พระมหาเถระโพธิสัตว์ จะเกิดในสมัยของตถาคตล่วงมาแล้ว ๒๔๕๔ ปี
    <o></o>
    เมื่อล่วงได้ ๒๔๖๗ ถึง ๒๔๘๖ พระมหากษัตริย์ธรรมิกราชจะมาเกิด ทั้งสองพระองค์นั้นสถิตอยู่ ณ เบื้องทิศตะวันออกของมัชฌิมประเทศ ระหว่างปีจอปีกุน เมื่อศักราช ๒๕๑๓ กับ ๒๕๑๔ ผู้มีบุญทั้งสองพระองค์นั้น จะเสด็จเข้าบำรุงศาสนาให้เที่ยงแท้สมณชีพราหมณ์ จะเสด็จมา ๘๔,๐๐๐ รูป
    <o></o>
    ดูกรอานนท์ ตถาคตสงสารสัตว์ เวลานั้นพลโลกยังเหลือน้อยเต็มที<o></o>

    คำทำนายของตถาคตนี้ยังให้สัตว์ตั้งอยู่ใน ความไม่ประมาท ผู้ใดรู้แล้วเชื่อ หรือไม่เชื่อ ไม่บอกเล่าให้ผู้ใดรู้กันต่อ ๆ ไป นับว่าเป็นกรรมแห่งสัตว์ต่างสิ้นสุดกันตามกาลเวลา ผู้ใดปรารถนาจะได้เห็นหรือทันมีบุญ ให้รักษา ศีลห้าประการหนึ่ง ยำเกรงบิดามารดา รู้จักบุญคุณท่านผู้มีคุณหนึ่ง ให้เจริญภาวนาในพรหมไตรสภาพหนึ่ง คาถาว่าดังนี้ พุทธิทุกขัง อนิจจัง อนัตตา นโมสัพพราชา ขัตติโย อิติ ปารมิตา ตึสา อิติ สัพพัญญุมาคตา อิติ โพธิ มนุปปัตโต อิติปิโส จ เต นโม" รู้แล้วอย่าประมาท ให้ท่องบ่นภาวนารักษาศีล
    <o></o>
    *หมายเหตุ คัดจากหนังสือ "พระพุทธพจน์ ทำนาย วิบากกรรมของประเทศ และชี้จุดบอดจุดแก้ของสังคม" : สุริยัน โรหติเสถียร รวบรวม หน้า ๖-๑๐ โครงการธรรมไมตรี จัดพิมพ์ : พิมพ์ที่ พี อาร์ ออฟเซ็ท ปี ๒๕๓๘


    สรุป ดังนั้นการกล่าวว่าพระพุทธศาสนาแบ่งเป็น 4 ส่วน คือ พรามห์ ๑ มาร ๑ ยักษ์ ๑ และเหลือเป็นคำสอนของพระผู้มีพระภาคอีก ๑ เมื่อพิจารณากับความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในพระพุทธศาสนาทุกๆ วันนี้ น่าเป็นเรื่องที่ไม่ควรปฏิเสธ ถ้าเราต้องการสนับสนุนพระพุทธศาสนา ให้เป็นไปตามที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้ว


    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 สิงหาคม 2010
  14. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    ออร์กะ ขออนุโมทนา และขอขอบคุณ คุณ ZmarTAlkeR ในข้อแนะนำครับ แต่โปรดพิจารณาความจำเป็นดังนี้ครับ

    คุณ ZmarTAlkeR "<link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->ทำไมเราต้องพูดกันให้ยืดยาวครับ"

    ออร์กะ
    ที่พูดยืดยาวเพราะเป็นเรื่องสำคัญยิ่งกับมนุษยโลกครับ มหันตภัยล้างโลกมีโอกาสเกิดขึ้นได้ ไม่ใช่เพราะฟังเขามาแล้วเล่าต่อ แต่เป็นเพราะไปศึกษามายืดยาวครับ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องหาข้อมูลมาสนับสนุนสิ่งที่กล่าวไป ไม่ใช่ยกขึ้นมาให้เชื่อกัน โดยขาดหลักฐานสนับสนุน ขาดเหตุขาดผล ขาดหลักการ เป็นการไม่ถูกต้องตาม "กาลามสูตร" ใช่ไหมครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->คุณ ZmarTAlkeR "คุณ ออร์กะ ก็แค่บอกว่าใครเป็นพระศรีอารย์ แล้วหาเหตุผลมาสนับสนุน"

    ออร์กะ<link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->เรื่องพระศรีอารย์สำคัญกว่าการสรรหาผู้ที่สมควรได้รับรางวัลโนเบลไม่รู้กี่ แสนเท่า ล้านเท่าครับ แค่การสรรหาผู้สมควรได้รับรางวัลโนเบล คณะกรรมการสรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมที่จะได้รับรางวัลโนเบล เขาไม่สนใจคุณจะเป็นใคร มาจากไหนครับ หน้าตาเป็นอย่างไรครับ เขาสนใจหลักฐานว่า คุณมีหลักฐานอะไรที่จะทำให้คุณได้รับการพิจารณา เพื่อให้ได้รับรางวัลโนเบล

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ฉะนั้นผู้ที่สมควรที่จะได้รับรางวัล ต้องจัดหาหลักฐานไปให้คณะกรรมการฯ พิจารณาให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ ก็เหมือนออร์กะพยายามไปขุดหาหลักฐานมาว่า พระศรีอารย์น่ะ มีตัวตนครับ ไม่ใช่อุปโลกน์ขึ้นมาให้คนเชื่อ หลักฐานที่ออร์กะได้มาก็เป็นเพียงส่วนหนึ่ง ตามความสามารถที่จะหามาได้ครับ แต่หลักฐานที่ได้มาก็เป็นไปได้ตามหลัก กาลามสูตร” ของพระพุทธเจ้าคือพิสูจน์ข้อเท็จจริงได้ครับ ไม่มีอภินิหาริย์ตามที่พระพุทธเจ้าทรงรังเกียจห้ามไว้ ดังนั้นเมื่อแสดงหลักฐาน คนที่อยู่ที่ไหนๆ ก็เห็นได้รู้ได้เหมือนกันหมดครับ เมื่อเป็นเช่นนี้การหลอกลวงก็เกิดขึ้นได้ยากใช่ไหมครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> คุณ ZmarTAlkeR "การหาหลักฐานมาสนับสนุน"<o></o>
    <o></o>
    ออร์กะ ขอยึดหลักสากล คือหาหลักฐาน เพื่อพิสูจน์ความจริง ว่าพระศรีอารย์องค์จริงคือใคร เมื่อพระพุุทธเจ้าทรงตรัสไว้แล้วว่า บัวยังมีหลายเหล่าหลายกอ บ้างก็อยู่ปริ่มน้ำเหนือน้ำ เพียงได้รับแสงตะวัน ดอกบัวก็บานแล้ว บ้างก็ยังอยู่ใต้น้ำ ดังนั้นการหาหลักฐานมาประกอบให้มาก ย่อมเป็นประโยชน์แก่บัวที่ยังไม่ได้โผล่พ้นน้ำ เขาจะได้มีโอกาสโผล่พ้นน้ำได้เร็วๆ ไม่ดีหรือครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> คุณ ZmarTAlkeR "ผมจะได้นำไปพิจารณา"

    ออร์กะ เรื่องนี้เป็นเรื่องของแต่ละบุคคลที่จะพิจารณาครับ แต่ออร์กะจำเป็นต้องหาหลักฐานที่มีความชัดเจน เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับศรัทธาโบราณและศาสนาทุกศาสนา รวมทั้งศาสนาพุทธด้วย ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว <o></o>
    <o></o>
    สำหรับการพิจารณาเรื่องพระศรีอารย์ของแต่ละบุคคลนั้น ไม่เป็นการบังคับ บุคคลแต่ละท่านย่อมมีความคิดที่เป็นกุศลด้วยความเต็มใจ มีความจริงใจเป็นกุศล มีเมตตากรุณาที่อยากช่วยเพื่อมนุษย์และสัตว์โลกเป็็นสิ่งประเสริฐ

    สำหรับผู้ไม่สนใจในเรื่องพระศรีอารย์ก็เป็นเรื่องของท่านนั้นๆ คนเราวัดบุญวัดกุศลไม่ได้ นอกจากตายไปแล้วควรที่เห็นผลการกระทำของตนเอง ใช่ไหมครับ

    คุณ ZmarTAlkeR "นี่พาผมอ้อมโลกจนไม่อยากรู้ละ"
    <o></o>
    ออร์กะ พระศรีอารย์เป็นสิ่งที่ผู้คนในทุกชาติทุกศาสนารอคอย แต่เพราะมีผู้แอบอ้างเป็นพระศรีอารย์มากมายไปทั่วโลก มีทั้งผู้ชายและผู้หญิง จนทำให้ความตั้งใจดีของคนไม่น้อยเบื่อหน่ายในเรื่องพระศรีอารย์ ออร์กะถึงพยายามหาข้อมูลมา หาหลักฐานมาสนับสนุนมาปรับความเข้าใจว่า พระศรีอารย์ควรมีองค์จริงในเวลาปัจจุบันนี้ ขอให้มีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงขึ้นมา เพื่อจะได้แยกว่าพระศรีอารย์องค์จริงคือท่านใดครับ

    ฉะนั้นโปรดเข้าใจว่า ที่มีข้อมูลมากไม่ใช่จะอ้อมไปไหนครับ แต่พยายามหาข้อเท็จจริงให้เข้าใจกัน ผู้ที่สนใจในเรื่องพระศรีิอารย์จริงก็จะได้ศึกษาหาความรู้ ออร์กะเองก็ได้รับคำแนะนำที่ดีๆ จากหลายท่านที่หวังดี เราสนทนาให้เกิดกุศลธรรม เป็นประโยชน์กับท่านผู้ที่ต้องการทราบข้อเท็จจริงครับ <o></o>

    <o></o>
    ออร์กะขอให้ข้อสังเกตุว่า พุทธศาสนิกชน มีสักกี่คนที่จะปฏิบัติตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในเรื่อง "กาลามสูตร" ครับ ส่วนใหญ่คนไทยมีไม่น้อย ถูกสอนให้เชื่อ แม้ไร้เหตุผลก็เชื่อกันงมงาย เรื่องนี้เป็นจริงหรือไม่ครับ สำหรับออร์กะไม่ต้องการมั่วครับ

    เอาเรื่องพระศรีอารย์นี่ ง่ายๆ พระสงฆ์บางรูปสอนว่า พระศรีอารย์มาเมื่อ พ.ศ. 5000 โน่น ออร์กะอยากทราบจริงๆ ว่าเอาหลักฐานที่ไหนมาพูดกันว่าพระศรีอารย์มาเมื่อ ปี พ.ศ. 5000 โปรดแสดงหลักฐานยืนยันซิครับว่่า พระพุทธเจ้าตรัสมาเช่นนั้นครับ อย่าสอนให้เชื่อ มันผิดหลักพระพุทธศาสนาไม่ใช่หรือครับ นี่เป็นสิ่งที่ทำให้ออร์กะ พยายามไปหาหลักฐานที่สามารถหาพิสูจน์ให้เห็นจริงได้มาอ้างอิง ท่านใดสนใจหรือไม่สนใจ ออร์กะไม่มีสิทธิ์ไปบังคับใครครับ ทุกคนมีสิทธิ์เสรีภาพในการแสดงออกซึ่งความคิดเห็นไม่ใช่หรือครับ

    คุณ ZmarTAlkeR "เพราะผมก็มีคนที่ผมเชื่อเหมือนกันว่าเป็นพระศรีอารย์" <o></o>
    <o></o>
    ออร์กะมีความสนใจเป็นอย่างยิ่ง สำหรับท่านผู้ที่แสดงตนว่าเป็นพระศรีอารย์ และจะช่วยสนับสนุนความเป็นจริง อย่างเปิดเผย ถ้ามีท่านใดจะนำหลักฐานที่พิสูจน์ได้เป็นเหตุผล มีที่มาที่ไป ไม่มีอิทธิปฏิหาริย์ สามารถนำไปยืนยันแก่ผู้อื่นทั่วโลก ให้เขายอมรับได้ โปรดนำมามาตีแผ่เรื่องพระศรีอารย์ของท่านครับ นำมาสนทนากันได้ครับ อย่างที่ออร์กะพยายามทำอยู่ ขอให้เป็นหลักฐานจริง มีเหตุมีผลตาม กาลามสูตร ย่อมเป็นกุศลธรรม เป็นประโยชน์แก่ทุกๆ ท่าน ไม่ใช่หรือครับ <o></o>

    สรุป ไม่มีใครทราบได้ว่าสิ่งที่อยู่ในพระไตรปิฎก สิ่งใดมีพิรุษ แต่การสอนให้บุคคลใดเชื่อ นั่นไม่ใช่หลักการที่พระพุทธเจ้าตรัสสอน สิ่งที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้เป็นปรัชญา สามารถพิสูจน์ความเป็นจริงได้ครับ
    ฉะนั้นการสรรหาหลักฐาน หาเหตุผลที่ไม่ขัดกับการนำมาซึ่งประโยชน์ เกิดกุศลธรรม มาประกอบกันมากขึ้น ไม่น่าเป็นเรื่องเสียหายแก่ผู้ที่สนใจ เป็นการส่งเสริมการศึกษาในพระพุทธศาสนาให้เปิดกว้างขึ้น นี่คือสิ่งที่ออร์กะเข้าใจครับ

    ขอขอบคุณ ขอบพระคุณท่านที่สนใจ

    ออร์กะ

    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 สิงหาคม 2010
  15. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->คุณ K.Kwan "สมเด็จพระจักรพรรดิ์ ไม่อาจเกิดจากมนุษย์แต่งตั้งกันเองได้
    แต่เกิดจากบุญบารมีของผู้กำเนิดเป็นพระจักรพรรดิ์เอง และต้องเป็นยุคสมัยที่จะได้บังเกิดด้วย
    "

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ออร์กะ ขออนุโมทนา และขอขอบคุณคุณ K.Kwan ที่ได้กรุณาเข้าร่วมสนทนากับทุกท่านและออร์กะ ที่สนใจในพระจักรพรรดิ หรือเรื่องที่เกี่ยวเนื่อง ออร์กะ เห็นด้วยกับคุณ K.Kwan ในความเป็นเหตุเป็นผลเรื่อง “สมเด็จพระจักรพรรดิ์ ไม่อาจเกิดจากมนุษย์แต่งตั้งกันเองได้ แต่เกิดจากบุญบารมีของผู้กำเนิดเป็นพระจักรพรรดิ์เอง และต้องเป็นยุคสมัยที่จะได้บังเกิดด้วยออร์กะคาดว่าคงไม่ต้องคิดไปถึงมนุษย์ผู้มีกิเลส จะไปแต่งตั้งไปกำหนดสมเด็จพระจักรพรรดินั้นคงเป็นเรื่องที่ไม่สมควร เอาแค่จะหาใครที่มีจิตใจประเสริฐ ช่วยกัยศึกษาค้นคว้้า ช่วยกันเผยแผ่ในเรื่องการมาปรากฏของพระจักรพรรดิในเวลาปัจจุบันนี้ ก็หาได้ยาก

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> เรื่องการหาพระจักรพรรดิพระองค์จริงไม่ใช่เหมือนการเลือกตั้ง นายกรัฐมนตรี หรือ ประธานาธิบดี ฉะนั้น ผู้ที่มีกุศล ย่อมเห็นคุณค่าของบุญบารมีของพระจักรพรรดิตามที่คุณ K.Kwan กล่าวครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ประการแรก พระจักรพรรดิ ไม่ใช่เป็นของชนชาติใดชาติหนึ่ง แต่เป็นของชนทุกชาติทุกศาสนา หรือแม้แต่ผู้ที่ไม่ได้นับถือศาสนาใดๆ โปรดเข้าใขความจริงว่า บนโลกเรามีพระศาสดามากมาย ยังไม่เห็นว่าศาสนาไหนสามารถทำให้คนบนโลกอยู่กันได้อย่างสันติ มีความสุขได้ทั่วถึงกัน <o></o>
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    สำหรับพระจักรพรรดิพระองค์เอง ก็ไม่ต้องการผลประโยชน์อันใดจากมนุษย์ พระองค์เป็นเทพ ที่มีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้ชัดเจนว่า พระจักรพรรดิคือท้าวสักกะจอมเทพผู้แบ่งภาคมาจุติบนโลกมนุษย์ เพื่อนำมนุษย์สรางสันติสุขและสันติภาพที่แท้จริงตลอดไปเท่านั้น แล้วพระองค์ก็จะจากไป


    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->คุณ K.Kwan "พระจักรพรรดิ์ ย่อมเกิดจากบุญบารมีของผู้กำเนิดเป็นพระจักรพรรดิ์เอง และต้องเป็นยุคสมัยที่จะได้บังเกิดด้วย"ออร์กะเห็นด้วยกับคุณK.Kwan เพราะมีหลักฐานที่สามารถเป็นที่ยอมรับได้ทั่วไปบ่งบอกไว้ชัดเจน ว่าพระจักรพรรดิมาปรากฏแล้วในปัจจุบัน ซึ่งสามารถนำ ตอบกระทู้ #107 และ #108 ยกมาเป็นตัวอย่างได้ดังนี้

    [​IMG]

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ท้าวสักกะ รู้เองโดยชอบ เกี่ยวกับ “ิอมตธรรม” และ “พระธรรม 7 ประการ” ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2535 และปี '35 นี้เองที่ อตุนิยมวิทยาแห่งชาติ กล่าวว่า อาณาบริเวณแถบภูมิภาคของเมืองที่ท้าวสักกะผู้มาจุติบนโลกนั้น หน้าร้อนกลายเป็นหนาว หน้าหนาวกลายเป็นร้อน

    โปรดสังเกตุว่า เหตุการณ์สำคัญๆ ตามตำนาน อายุนับพันๆ ปี มาแล้ว ได้เกิดขึ้นจริงหลังจาก พ.ศ. 2535 เพื่อแสดงว่าพระจักรพรรดิมาปรากฎพระองค์แล้ว

    [​IMG]
    การเกิดของวัวขาวของชาวอเมริกันอินเดียนเมื่อ พ.ศ. 2537 แสดงถึงโลกจะมีสันติสุข

    [​IMG]
    <o></o>ภูมิอากาศโลกเริ่มปั่นป่วนผิดปกติเกิดภัยพิบัติอย่างต่อเนื่อง มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจุบันมิได้มีวี่แววจะหยุดลง

    [​IMG]
    <o></o> การเกิดวัวแดงของชาวยิว ที่บ่งว่าจะนำหน้าพระจักรพรรดิมาก่อน พ.ศ. 2539

    [​IMG]
    <o></o>นาซ่า (์NASA) แสดงการเรียงตัวของดาวพระเคราะห์เรียงแถว 5 พค. 2543 ตาม Vishnu Purana แสดง ถึงพระนาราบณ์ (พระจักรพรรดิ) อวตานเป็นกาลกี มาปรายุคเข็ญบนโลก

    [​IMG]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> การเกิดพระจันทร์สีแดง 16 กค. 2543 เป็นการชี้พระจักรพรรดิมาปรากฏพระองค์แล้ว<o></o>

    <o></o>Fred Espenak, ที่ นาซ่า NASA/GSFC กล่าวว่า “จันทรุปราคาจะมองเห็นจากตะวันตกอเมริกาเหนือและใต้, มหาสมุทรแปซิฟิกออสเตรเลียและเอเชียตะวันออก รวมระยะเวลาหรือจำนวนทั้งสิ้นโดดเด่นมาก 1 ชั่วโมง 47 นาที ในเวลาเช่นนี้ เป็นระยะเวลาของการเกิดจันทรุปราคาที่ยาวนานที่สุด และจะไม่เกิดอีกนับพันปีจากนี้!

    ปล. ที่แสดงมาตามรูปข้างบนนั้น เป็นเพียงข้อมูลส่วนหนึ่งเท่านั้น

    สำหรับ .... ลำดับนั้น จักรแก้วนั้น ก็ลงไปสู่สมุทรด้านบูรพา แล้วโผล่ขึ้นไปลงที่สมุทรด้านทักษิณ แล้วโผล่ขึ้นไปสู่ทิศปัจฉิม ท้าวเธอพร้อมด้วยจตุรงคินีเสนาก็เสด็จติดตามไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักรแก้ว ประดิษฐานอยู่ ณ ประเทศใด ท้าวเธอก็เสด็จเข้าไปพักอยู่ ณ ประเทศนั้น พร้อมด้วยจตุรงคินีเสนา ฯ ....

    ในเรื่องจักรแแก้ว เมื่อพิจารณาแล้วมีพิรุษ ออร์กะจะขอยกเว้นการสนทนาเรื่องจักรแแก้วนี้ เพราะ<link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->พระพุทธเจ้าทรงอึดอัด ระอา เกลียดอิทธิปาฏิหาริย์ พระองค์ทรงอึดอัด ระอา เกลียดอาเทสนาปาฏิหาริย์ แต่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพร่ำสอนอย่างนี้ว่า ท่านจงตรึกอย่างนี้ อย่าตรึกอย่างนั้น จงทำในใจอย่างนี้ อย่าทำในใจอย่างนั้นจงละสิ่งนี้ จงเข้าถึงสิ่งนี้อยู่เถิดนี้เรียกอนุสาสนีปาฏิหาริย์

    สรุป เรื่องของพระจักรพรรดิปรากฏพระองค์ในเวลาปัจจุบันนี้
    น่าจะเกิดจากพระบารมีของท้างสักกะซึ่งหลักฐานที่ยกขึ้นเป็นตัวอย่างข้างบน มนุษย์ไม่สามารถสร้างขึ้นมาเองเช่นนี้ได้ ซึ่งย่อมพิสูจน์ได้ว่า หลักฐานที่กล่าวมา สามารถใช้พิสูจน์ว่าพระจักรพรรดิมีพระองค์จริงในเวลาขณะนี้ครับ


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 สิงหาคม 2010
  16. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    เมื่อแสวงหาย่อมไม่อาจได้พบความจริง หากปะเหมาะเคราะห์ร้ายอาจได้ความเท็จมาแทน
    เมื่อหยุดแสวงหา หยุดอาการฝุ่นตลบ ความจริงย่อมปรากฏเอง
    บางทีแม้แต่องค์ที่จะมาเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ ก็ยังไม่อาจรู้องค์เอง เพราะยังไม่ถึงเวลา

    เราเชื่อเรื่องจักรแก้วปรากฏจึงจะปรากฏพระเจ้าจักรพรรดิ์
    เป็นความเชื่อส่วนตัว ไม่ได้หวังว่าคนอื่นจะเชื่อตามเรา เราก็เชื่อตามพระคัมภีร์เท่านั้น
    และถ้าเห็นด้วยตาตัวเองเมื่อไร เราก็ย่อมหมดสงสัยในความเชื่อเมื่อนั้นและ
    ความเชื่อนั้นก็จะกลายเป็นความจริงสำหรับเราไป ตามหลักกาลามสูตร
    แต่ถ้าพลิกล๊อก ไม่ได้เป็นไปตามความเชื่อเรา ก็ช่างมันเราก็แค่รู้อยู่แก่ใจ
    ตนเองว่ามันเป็นแค่ความเชื่อไม่ได้เป็นความจริง เราก็จะไม่หลงเอาความเชื่อ
    มาสับสนว่าเป็นความจริง

    การเอาชนะโลกเป็นผู้นำของทุกชาติทุกภาษาได้โดยไม่ต้องก่อสงครามเข่นฆ่ากัน
    เราเชื่อว่ามีแต่จักรแก้วเท่านั้น ที่ทำได้ ทำให้ทุกผู้ทุกนามยอมศิโรราบ ยอมทำตามแบบ
    ไม่มีเงื่อนไข พระพุทธเจ้าเองตามที่มีบันทึกไว้ในพระไตรปิฎกท่านก็ทรงใช้ทุกวิธีทั้ง
    อาเทสนาปาฏิหาริย์ และ อนุสาสนีปาฏิหาริย์
    ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมตามเหตุการณ์และบุคคล
    และเท่าที่เราจำได้ พระพุทธเจ้าไม่ได้รังเกียจอาเทสนาปาฏิหาริย์ นะ แต่ท่านยกย่อง
    และสรรเสริญ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ว่ามีคุณมากกว่า

    แต่จะมีพระเจ้าจักรพรรดิ์พร้อมจักรแก้ว อุบัติในกลียุคครั้งนี้ หรือเปล่าเราไม่รู้
    แต่ในคัมภีร์ศาสนาคริสต์กล่าวไว้ว่า พระคริสต์จะกลับมาเป็นครั้ง2 และเวลาที่มา
    ก็ไม่มีใครรู้อีกเช่นกัน มีแต่ถึงเวลาก็รู้เอง

    และแน่นอนว่าผู้ที่จะได้พบท่านผู้เป็นความหวังของทุกศาสนา ย่อมต้องเตรียมตัวเตรียมใจ
    ให้พร้อม ชำระจิตใจตนเองให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอนของศาสนาตนอย่าง
    ถูกต้อง ไม่เป็นพวกฟารีสีเป็นศรัทธาที่สูญเปล่า ด้วยจิตใจที่มั่นคงอยู่ในศีลในธรรมแล้ว
    อย่าให้เป็นแบบนักบวชยิวฟารีสีที่ถือคัมภีร์กล่าวถึงท่านเมสิอาร์ย์ผู้ถูกเจิมไว้ แต่พอพระ
    คริสต์ปรากฏตัวกลับมองไม่เห็นเพราะความมืดบอดในจิตใจที่ถืออะไรไว้ผิดหรือเปล่า
    เราก็ไม่อาจรู้ได้ เราไม่ได้นับถือคริสต์แต่เราแปลกใจเรื่องเหล่านี้ และนำมาสอนใจ
    เราอยู่เสมอ อย่าทำอะไรด้วยศรัทธาที่มืดบอด เพราะเวลาความจริงปรากฏตัวเราอาจจะ
    พลาดความจริงไปไปถือเอาความเท็จไว้แทนก็ได้ เพราะความคิดเป็นเหตุให้ปิดกั้นเราออก
    จากความเป็นจริงก็ได้

    พูดมาก็มาก ก็แล้วแต่ท่าน จขกท. จะดำเนินไปตามทางที่ท่านเห็นควรก็แล้วกัน
    เราขออยู่ในความสงบ เพื่อรอดูความจริงปรากฏตัว ละกัน

    ปล.ที่จะมาไม่ใช่จะมีแต่พระคริสต์ แต่แอนตี้ไครส์ ก็จะมาด้วยแถมยังมาปรากฏตัวก่อน
    แล้วพระคริสต์ถึงจะปรากฏหลังจากมีแอนตี้ไครส์ปรากฏแล้ว ว่ากันตามคัมภีร์ของศาสนาคริสต์นะ
    เพราะเราเองก็ไม่รู้อะไรเลย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 สิงหาคม 2010
  17. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    ออร์กะ ขออนุญาตชี้แจง
    1. เรื่องมหันตภัยลางโลก ไม่ใช่เรื่องที่ควรประมาท จึงได้พยายามหาข้อมูลมาสนับสนุน ถ้าท่านคิดว่าเรื่องการชี้แจงมากไป โปรดดูที่สรุปท้ายของบทกระทู้ได้ครับ ขอขอบคุณ ขอบพระคุณ มา ณ ที่นี้ครับ
    2.
    ขออนุโมทนา และขอบคุณคุณ K.Kwan เป็นอย่างยิ่ง ที่ได้ให้ความกรุณาสนทนา แนะแนวทางในการเขียนในเรื่องที่น่าสนใจ เพื่อเป็นข้อมูลแก่ท่านผู้สนใจ ที่ต้องการศึกษาหาเหตุผลครับ

    คุณ K.Kwanเมื่อแสวงหาย่อมไม่อาจได้พบความจริง หากปะเหมาะเคราะห์ร้ายอาจได้ความเท็จมาแทน เมื่อหยุดแสวงหา หยุดอาการฝุ่นตลบ ความจริงย่อมปรากฏเอง”<o></o>

    ออร์กะ เป็นสิ่งที่ทราบได้รู้ได้ ไม่ว่าเขานั้นจะเป็นนักโบราณคดี นักวิทยาศาสตร์ นักสืบ หรือใครต่อใคร แม้ชาวบ้านธรรมดา ถ้าตั้งใจแสวงหาในสิ่งที่ต้องการอยากรู้อยากเข้าใจ ย่อมเป็นไปได้ว่า เขาอาจจะพบกับความจริง แต่ก็ไม่เสมอไป นั้นเป็นเรื่องแห่งกรรมเวรของแต่ละคน หรือพูดกันให้เข้าใจง่ายคือแล้วแต่โชคครับ


    ถ้ากล่าวถึงความจริงตามที่พระพุทธเจ้าตรัส สามารถหาข้อเท็จจริงได้ด้วยการพิสูจน์โดยการปฏิบัติ ย่อมรู้ได้ด้วยตนเอง แต่ก็อีกที่จะรู้ได้ในระดับไหน บุญกรรมของตนย่อมพาไป ซึ่งออร์กะก็ไม่ทราบว่าจะกล่าวอย่างไร เพราะเป็นของลึกซึ้งและละเอียดอ่อน

    ในเรื่องของความจริงและความไม่จริง ย่อมพิจารณาได้ด้วยหลักฐาน และเหตุผล อันเป็นหลักการสากล เช่น เป็นเครื่องมือที่ใช้ในหลักการเรียนการสอน เป็นวิธีการของศาลสถิตยุติธรรมในทุกหนแห่ง แต่จะไปหวังอะไรว่า ต้องเป็นไปอย่างนั้นอย่างนี้เสียทีเดียว ก็ไมควรกล่าว เพราะทุกสิ่งเป็นไปด้วย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา


    อิสรภาพทางความคิดในแต่ละสิ่งละอย่าง เป็นเสรีภาพอันยุติธรรมของทุกคน การสื่อ การเข้าใจ มีเหตุผลเป็นมาอย่างไร ย่อมขึ้นอยู่กับวิจารณญาณ ปัญญาธรรม ประสบการณ์ และความสามารถในการวิเคราะห์ของแต่ละคน แล้วตั้งข้อสรุปกันไปตามทางความคิดของแต่ละบุคคล ถ้าคิดเหมือนกัน ก็เกิดความพึงพอใจด้วยกัน ถ้าความคิดต่างกัน ความพึงพอใจก็ลดน้อยลงไปตามลำดับชั้น นี่แหละที่เขาเรียกว่า
    นานาจิตตัง<o></o>

    คุณ
    K.Kwan บางทีแม้แต่องค์ที่จะมาเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ ก็ยังไม่อาจรู้องค์เอง เพราะยังไม่ถึงเวลา”<o></o>

    ออร์กะ มนุษย์ยังเดินดินมีกิเลส จิตใจยังไม่ใสแจ๋วเหมือนแก้วเจียระไนครับ และในปัจจุบันการพยากรณ์โบราณของหลายชาติศาสนาบ่งบอกว่า พระจักรพรรดิมาปรากฏแล้วครับ หลักฐานต่างๆ ก็เป็นที่ยอมรับ ดังนั้นเรามิควรกล่าวว่า พระจักรพรรดิ ก็ยังไม่อาจรู้องค์เอง เพราะยังไม่ถึงเวลา” ไม่ใช่หรือครับ และตาม ตอบกระทู้ #121 และ #136 นับว่าเป็นข้อมูลที่มีหลักฐาน มีที่มาที่ไปว่า พระจักรพรรดิรู้พระองค์ ถึงต้องการให้มีการพิสูจน์หาความจริงขึ้นมา เพื่อให้เกิดด้วยความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายครับ<o></o>

    ออร์กะ อ้างตามตอบกระทู้ # 139 <o></o>
    คุณ
    K.Kwan "สมเด็จพระจักรพรรดิ์ ไม่อาจเกิดจากมนุษย์แต่งตั้งกันเองได้ แต่เกิดจากบุญบารมีของผู้กำเนิดเป็นพระจักรพรรดิ์เอง และต้องเป็นยุคสมัยที่จะได้บังเกิดด้วย"<o></o>

    ออร์กะ ตอบกระทู้ #121 ว่าด้วยความต้องการหาข้อเท็จจริง ของพระจักรพรรดิ ไม่ใช่จะให้เชื่อโดยไร้คุณธรรมปัญญาและการ<o></o>พยากรณ์ หรือ การหาข้อเท็จจริงของท้าวสักกะ กับ ประเทศสหรัฐอเมริกา (ท้าวสักกะ หมายถึง ท้าวสักกะผู้แบ่งภาคมาจุติบนโลก) โปรดใช้กาลามสูตรพิจารณา สำหรับข้อมูลมีหลักฐาน มีเหตุผล มีที่มาที่ไป<o></o>
    <o></o>
    ออร์กะ ตอบกระทู้ #136<o></o>
    โปรดพิจารณา โฆษณาที่ไม่ปิดบังซ่อนเร้น แต่เพื่อให้มีการพิสูจน์พระจักรพรรดิพระองค์จริง ลงในหนังสือพิมพ์ที่สหรัฐอเมริกา เมื่อ 7 มีนาคม 2540 โปรดสังเกตุว่า ทุกศาสนากล่าวสนับสนุนซึ่งกันและกัน ตามตอบกระทู้ที่ # 109 ท่านคิดสักนิดไหมว่า ทำไมถึงเป็นไปเช่นนั้นได้ (โปรดอย่าบอกว่าก็เพราะทุกศาสนานัดแนะกัน นั่นมันเป็นเรื่องที่ไม่ควรจะกล่าวเช่นนั้นครับ)

    [​IMG]
    ออร์กะ ด้วยประชากรโลกมากกว่า 60 % ที่เชื่อมั่นยึดมั่นในพระเจ้า และพวกเขาเข้าใจว่า พระจักรพรรดิคือพระเจ้าผู้ที่มายกโทษบาปกรรมของพวกเขาได้ ดังนั้นเมื่อทุกศาสนาหลักของโลกกล่าวในเรื่องเดียวกัน สนับสนุนกัน เมื่อพระจักรพรรดิปรากฏพระองค์ ชาวโลกเกินกว่าครึ่งหนึ่งจะยอมรับพระองค์ นั่นหมายถึงสันติสุขที่แท้จริงย่อมมีโอกาสเกิดขึ้นได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาอาศัยอิทธิปาฏิหารย์

    คุณ
    K.Kwan "เราเชื่อเรื่องจักรแก้วปรากฏจึงจะปรากฏพระเจ้าจักรพรรดิ์ เป็นความเชื่อส่วนตัว ไม่ได้หวังว่าคนอื่นจะเชื่อตามเรา" <o></o>

    ออร์กะ ขออนุโมทนาในความมีศรัทธาของคุณ K.Kwan ครับ ตามปกติเราทุกๆ คน มีความเชื่อไม่เรื่องนั้นก็เรื่องนี้ โดยเฉพาะศาสนาที่เชื่อในพระเจ้า เขาก็ทำดีเพื่อพระเจ้า นั้นย่อมเป็นการประพฤติปฏิบัติดี ถ้าความเชื่อไม่ได้นำพาไปให้เกิดความผิด เกิดอกุศลธรรม การเชื่ออะไรก็ไม่เห็นว่าน่าจะเสียหายประการใด ใช่ไหมครับ

    ออร์กะ ด้วยเป็นการสนทนาระหว่างกัลยาณมิตร ย่อมเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ใจ หามิมีสิ่งใดมาแทรกแซงไม่ จึงขอกลับไปที่จักรแก้ว ซึ่งเป็นหนึ่งใน แก้ว ๗ ประการของพระเจ้าจักรพรรดิครับ ถ้าเชื่อเรื่องจักรแก้ว พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค ๙. พาลบัณฑิตสูตร ที่บ่งบอกแก้ว 7 ประการ ยังมีไม่เพียงพออ่าน ก็ยังมีเรื่องราวของแก้ว 7 ประการอีกหลายที่หลายตอนในพระไตรปิฎกที่กล่าวไว้ในเรื่องแก้ว 7 ประการเช่นกัน แต่ต่างเวลา ต่างสถานที่และบุคคล คือ <o></o>
    1.
    พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
    2. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค

    3. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค

    4. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์

    5. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์

    6. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค

    7. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕ อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต ติสสสูตค

    8. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต

    9. พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๔ กถาวัตถุปกรณ์
    <o></o>

    โดยประเด็นที่สรุปเป็นข้อพิจารณา ดังตัวอย่างเช่น
    <o></o>

    1. จักรแก้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ต่อนั้น พระองค์เสด็จลุกจากราชอาสน์ ทรงจับพระเต้าน้ำด้วยพระหัตถ์ซ้าย ทรงหลั่งรดจักรแก้วด้วยพระหัตถ์ขวา รับสั่งว่า จงพัดผันไปเถิดจักรแก้วผู้เจริญ จักรแก้วผู้เจริญจงพิชิตให้ยิ่งเถิด ลำดับนั้น จักรแก้วนั้นก็พัดผันไปทางทิศตะวันออก พระเจ้าจักรพรรดิพร้อมด้วยจตุรงคินีเสนาก็เสด็จตามไป จักรแก้วประดิษฐานอยู่ ณ ประเทศใด พระเจ้าจักรพรรดิก็เสด็จเข้าประทับ ณ ประเทศนั้น
    …. บรรดาพระราชาที่เป็นปฏิปักษ์ …. เข้ามาเฝ้าพระเจ้าจักรพรรดิแล้วทูลอย่างนี้ว่า เชิญเสด็จเถิด มหาราช …. แผ่นดินนี้เป็นของพระองค์ ขอพระองค์จงสั่งการเถิด พระเจ้าจักรพรรดิรับสั่งอย่างนี้ว่า ท่านทุกคนไม่ควรฆ่าสัตว์ ไม่ควรลักทรัพย์ที่เจ้าของมิได้ให้ ไม่ควรประพฤติผิดในกาม ไม่ควรพูดเท็จ ไม่ควรดื่มน้ำเมา และท่านทั้งหลายจงครอบครองบ้านเมืองกันตามสภาพที่เป็นจริงเถิด …. ต่อนั้น จักรแก้วนั้นได้พัดผันไปจดสมุทรด้านทิศตะวันออก แล้วกลับขึ้นพัดผันไปทิศใต้ ฯลฯ พัดผันไปจดสมุทรด้านทิศใต้แล้วกลับขึ้นพัดผันไปทิศ-*ตะวันตก ฯลฯ …. จักรแก้วประดิษฐานอยู่ ณ ประเทศใด พระเจ้าจักรพรรดิก็เสด็จเข้าประทับ ณ ประเทศนั้น<o></o>
    (หมายเหตุ ออร์กะเคยเห็นพระสูตร บ่งว่าในสมัยพระจักรพรรดิ จะกล่าวถึงเรื่องการค้าขาย ที่มีความยุติธรรมยิ่ง แต่ในที่นี้มิได้กล่าว จักกล่าวก็เพียงศีล 5 เท่านั้น นี่น่าจะเป็นข้อสังเกตุอีกอย่างหนึ่งที่ไม่มีอยู่ในเรื่อง
    ใน แก้ว ๗ ประการของพระเจ้าจักรพรรดิครับ)

    2. ช้างแก้ว ย่อมปรากฏช้างแก้ว …. มีฤทธิ์เหาะได้ ….
    <o></o>

    3. ม้าแก้ว เป็นอัสวราชชื่อวลาหก ขาวปลอด ศีรษะดำเหมือนกา เส้นผมสลวยเหมือนหญ้าปล้อง มีฤทธิ์เหาะได้ ….
    <o></o>

    4. มณีแก้ว เป็นแก้วไพฑูรย์ …. พระเจ้าจักรพรรดิเมื่อจะทรงทดลองมณีแก้วนั้น จึงสั่งให้จตุรงคินีเสนา ยก
    มณีแก้วขึ้นเป็นยอดธง แล้วให้เคลื่อนพลไปในความมืดทึบของราตรี ชาวบ้ามถิ่นที่อยู่รอบๆ พากันประกอบการงานด้วยแสงสว่างนั้น สำคัญว่าเป็นกลางวัน ….
    <o></o>
    5. นางแก้ว
    รูปงาม น่าดู น่าเลื่อมใส …. มีสัมผัสทางกายปานประหนึ่งสัมผัสปุยนุ่นหรือปุยฝ้าย นางแก้วนั้นมีตัวอุ่นในคราวหนาว มีตัวเย็นในคราวร้อน
    6.
    คฤหบดีแก้ว ผู้มีจักษุเพียงดังทิพเกิดแต่วิบากของกรรมปรากฏ ซึ่งเป็นเหตุ<o></o>ให้มองเห็นทรัพย์ทั้งที่มีเจ้าของ ทั้งที่ไม่มีเจ้าของได้ …..พระเจ้าจักรพรรดิเมื่อจะทรงทดลองคฤหบดีแก้วนั้น จึงเสด็จลงเรือพระที่นั่งให้ลอยล่องกระแสน้ำกลางแม่น้ำคงคา แล้วรับสั่งกะคฤหบดีแก้วดังนี้ว่า ดูกรคฤหบดี ฉันต้องการเงินและทอง คฤหบดีแก้วกราบทูลว่า ….โปรดเทียบเรือเข้าฝั่งข้างหนึ่งเถิด …. ทันใดนั้น คฤหบดีแก้วจึงเอามือทั้ง ๒ หย่อนลงในน้ำ ยกหม้อเต็มด้วยเงินและทองขึ้นมา แล้วกราบทูลพระเจ้าจักรพรรดิดังนี้ว่า ข้าแต่มหาราช พอหรือยังเพียงเท่านี้ ใช้ได้หรือยังเพียงเท่านี้<o></o>

    7. ปริณายกแก้ว นั้นเป็นบัณฑิต ฉลาด มีปัญญา สามารถถวายข้อแนะนำให้พระองค์ทรงบำรุงผู้ที่ควรบำรุง ทรงถอดถอนผู้ที่ควรถอดถอน ทรงแต่งตั้งผู้ที่ควรแต่งตั้ง ….
    <o></o>

    ออร์กะ ขอเน้นเรื่องแก้ว 7 ประการ ตามพระไตรปิฎก ได้เกิดมาแล้ว และเป็นไปเช่นเดียวกัน แต่ต่างเวลา ต่างสถานที่และบุคคล
    โดย

    1. “จักรแก้วผู้เจริญจงพิชิตให้ยิ่งเถิด”


    2. ช้างแก้วและม้าแก้ว มีฤทธิ์เหาะได้


    3. มณีแก้ว เป็นแก้วไพฑูรย์ งามโชติช่วง …. จนผู้คนสำคัญว่าเป็นกลางวันนั้น


    4.
    คฤหบดีแก้ว ถ้าพระเจ้าจักรพรรดิตรัสว่า ดูกรคฤหบดี ฉันต้อง การเงินและทองตรงนี้แหละ คฤหบดีแก้วจะจัดหาได้ทันที

    5. ปริณายกแก้ว สามารถถวายข้อแนะนำให้พระจักรพรรดิทรงบำรุงผู้ที่ควรบำรุง ทรงถอดถอนผู้ที่ควรถอดถอน ทรงแต่งตั้งผู้ที่ควรแต่งตั้ง


    สรุปได้ว่า ผู้พิชิตประเทศ คือจักรแก้ว ทรัพย์สมบัติ เกิดขึ้นได้เพราะมี คฤหบดีแก้ว มีปัญญาความรู้ความสามารถเพราะว่ามี ปริณายกแก้ว


    ออร์กะ สืบค้นหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี กล่าวได้ว่า

    1. ไม่มีเอกสารโบราณ บันทึกไว้ ในเรื่องผู้มีบุญเช่นพระจักรพรรดินี้เกิดขึ้นบนโลกมาแล้ว ยกเว้นมีบ่งใน พระสุตตันตปิฎก 9 เล่ม และพระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๔ ที่แสดงไว้ข้างบน
    <o></o>
    2. สำหรับผู้ที่มีความเชื่อใน
    พระเจ้า ในเรื่องที่สร้างมนุษย์คู่แรกขึ้นมาบนโลก จากนั้นมีประวัติการแพร่เผ่าพันธุ์มาจนถึงทุกวันนี้ ก็มิได้มีข้อมูลเกี่ยวกับผู้มีบุญที่มีแก้ว 7 ประการตาม พระสุตตันตปิฎก 9 เล่ม และพระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๔ ที่แสดงไว้ข้างบน
    <o></o>
    3. เมื่อกล่าวถึงประวัติทางพระเวท ซึ่งเป็นเอกสารที่เก่าแก่ที่สุด ได้กล่าวรวมถึงการสร้างสุริยะจักรวาล การเริ่มต้นของเทพ ไม่ได้มีข้อมูลเกี่ยวกับผู้มีบุญที่มีแก้ว 7 ประการ
    <o></o>
    4. พระพุทธเจ้าเป็นชาวอินเดีย แต่อินเดียมีประวัติศาสตร์มาก่อนที่พระพุทธเจ้าประสูติ แต่ไม่มีเรื่องราวประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเรื่องราวของแก้ว 7 ประการ ที่บ่งว่าชื่อบุคคล เมืองต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแก้ว 7 ประการที่เป็นภาษาของอินเดียนั้น
    <o></o>
    5. อิทธิปาฏิหาริย์ ที่เกิดขึ้นของแก้ว 7 ประการนั้น เป็นสิ่งที่มีพิรุธโปรดพิจารณา เอกสารเกี่ยวกับการชำระและการจารึก พระไตรปิฎก ในรัชกาลที่ ๑ ว่า ".... พระไตรปิฎกธรรมทุกวันนี้ ยังถูกต้องบริบูรณ์อยู่หรือพิรุธผิดเพี้ยนประการใด จึ่งสมเด็จพระสังฆราช และพระราชาคณะทั้งปวง พร้อมกันถวายพระพรว่า พระบาลี และ อรรถกถาฎีกาพระไตรปิฎกทุกวันนี้มีพิรุธมากมาช้านานแล้ว ...." ควรเป็นเหตุผลที่มีข้อเท็จจริงไม่มากก็น้อยครับ
    <o></o>
    6. สิ่งที่น่าสนใจยิ่งคือ พระจักรพรรดิ เป็นผู้มีบุญ ที่การตรัสของพระพุทธเจ้าใน จักกวัตติสูตร เอกสารตามตำนานของลัทธิขงจื้อ และ ศาสนาอิสลาม แสดงถึงพระจักรพรรดิเป็นผู้มีความรู้ยิ่งยวดที่เกิดจากพระองค์เอง มิได้พึ่งพาผู้อื่น ดัง
    ตอบกระทู้ #109 แสดงว่า “.... พระองค์ทรงเป็นผู้สอนทั้งมนุษย์และเทพเทวดา (ศาสนาพุทธกล่าว) พระองค์ทรงป้องกันพระองค์เองด้วยความรู้ยวดยิ่งที่ไม่มีใครมี (ศาสนาอิสลามกล่าว) ซึ่งความรู้เหล่านี้เกิดขึ้นจากพระองค์เอง (ลัทธิขงจื้อกล่าว) พระองค์จะให้ผลประโยชน์มนุษยโลก (โซโรสเทรียนนิซึ่มกล่าว) และสันติสุขสันติภาพจะเกิดขึ้นบนโลกโดยไม่มีที่สิ้นสุด (ยูดายกล่าว) ....
    ซึ่งออร์กะ เห็นข้อมูลละเอียดแล้ว เป็นเรื่องที่น่าศรัทธายิ่ง ของการกล่าวที่ตรงกันและสนับสนุนกัน

    <o></o>
    7. จะเห็นว่าหลักฐานตามข้อ 5 มีเหตุมีผลของความเป็นไปได้ อย่างที่มนุษย์ทั่วโลกสามารถยอมรับและพิสูจน์ข้อเท็จจริงได้ ซึ่งต่างกับเรื่องแก้ว 7 ประการที่มีแต่อิทธิปาฏิหาริย์ อันเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า “เราเล็งเห็น โทษในอิทธิปาฏิหาริย์อย่างนี้แล จึงอึดอัด ระอา เกลียดอิทธิปาฏิหาริย์.”<o></o>

    ข้อพิจารณาอีกประการหนึ่งของความมีพิรุธ เช่น พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค ๔. โคมยสูตร ซึ่งขอตัดมาเพียงส่วนหนึ่งคือ “] ดูกรภิกษุ เรื่องเคยมีมาแล้ว เราได้เป็นขัตติยราชได้รับมุรธาภิเษก. เรานั้นมี
    นคร ๘๔,๐๐๐ นคร มีกุสาวดีราชธานีเป็นประมุข. มีปราสาท ๘๔,๐๐๐ มีธรรมประสาทเป็นประมุข. มีเรือนยอด ๘๔,๐๐๐ มีเรือนยอดมหาพยูหะเป็นประมุข. มีบัลลังก์ ๘๔,๐๐๐ ทำด้วยงา ทำด้วยแก่นจันทน์แดง ทำด้วยทอง ทำด้วยรูปิยะ ลาดด้วยผ้าโกเชาว์ มีขนยาวเกิน ๔ ลงคุลี ลาดด้วยผ้ากัมพลขาว ทำด้วยขนแกะ มีขนทั้งสองข้าง ลาดด้วยเครื่องลาดทำด้วยขนแกะมีดอกทึบมีเครื่องลาดอย่างดีทำด้วยหนังชะมด มีเพดานแดง มีหมอนข้างสีแดง. มีช้าง ๘๔,๐๐๐ เชือก มีเครื่องประดับทำด้วยทอง มีธงทำด้วยทอง ปกปิดด้วยข่ายทอง มีพระยาช้างอุโบสถเป็นประมุข. มีม้า ๘๔,๐๐๐ ตัว มีเครื่องประดับทำด้วยทอง ปกปิดด้วยข่ายทอง มีวลาหกอัสสวราชเป็นประมุข. มีรถ ๘๔,๐๐๐ คัน มีเครื่องประดับทำด้วยทอง มีธงทำด้วยทอง ปกปิดด้วยข่ายทอง มีเวชยันต-*ราชรถเป็นประมุข. มีแก้ว ๘๔,๐๐๐ ดวง มีแก้วมณีเป็นประมุข. มีหญิง ๘๔,๐๐๐ มีนางภัททาเทวีเป็นประมุข มีกษัตริย์ ๘๔,๐๐๐ เป็นเหล่าอนุยนต์ มีปริณายกรัตน์เป็นประมุข. มีแม่โคนม ๘๔,๐๐๐ ตัว ผูกด้วยเชือกป่านแขวนกระดิ่งโลหะ. มีผ้า ๘๔,๐๐๐ โกฏิ มีผ้าทำด้วยเปลือกไม้มีเนื้อละเอียด มีผ้าทำด้วยไหมมีเนื้อละเอียด มีผ้าทำด้วยขนสัตว์มีเนื้อละเอียด. มีผ้าทำด้วยฝ้ายมีเนื้อละเอียด. มีสำรับ ๘๔,๐๐๐ ซึ่งใส่อาหารที่ชนทั้งหลายเชิญไปโดยเฉพาะในเวลาเย็นใน เวลาเช้า.”

    โปรดสังเกตว่า ทำไมถึงเป็น ๘๔,๐๐๐ ครับ มันเป็นพิรุธหรือไม่ ออร์กะ เคยเห็นมีผู้กล่าวว่า ๘๔,๐๐๐ นั้นเป็นการอุปมา ซึ่งก็ไม่ควรกล่าวเช่นนั้นเพราะทำให้ผู้อ่านหลงผิดได้ แต่ถ้าเป็นถ้าเป็นพิรุธ แล้วแก้ว 7 ประการเล่า จะพิจารณาอย่างไรครับ
    <o></o>
    คุณ K.Kwan "เราก็เชื่อตามพระคัมภีร์ เท่านั้น และถ้าเห็นด้วยตาตัวเองเมื่อไร เราก็ย่อมหมดสงสัยในความเชื่อเมื่อนั้นและ ความเชื่อนั้นก็จะกลายเป็นความจริงสำหรับเราไป ตามหลักกาลามสูตร" <o></o>

    ออร์กะ เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งในการยึด กาลามสูตร” เป็นแนวทาง เป็นหลักการในการพิจารณาครับ และเป็นธรรมดาที่ในพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม และ ภาคพันธสัญญาใหม่ เขาสอนให้ยึดมั่นถือมั่นเชื่อในพระเจ้าครับ ฉะนั้นการเชื่อตามพระคัมภีร์ ย่อมเป็นสิ่งดีงามของผู้ที่ยึดมั่นถือมั่นพระเจ้าเป็นหลัก ตั้งใจประพฤติปฏิบัติในสิ่งดีงาม ก็ไม่ควรไปลบหลู่ที่เขายึดมั่นถือมั่น ซึ่งต่างกับการตรัสสอนของพระพุทธเจ้า ใช่ไหมครับ
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->

    คุณ K.Kwan "แต่ถ้าพลิกล๊อก ไม่ได้เป็นไปตามความเชื่อเรา ก็ช่างมันเราก็แค่รู้อยู่แก่ใจ ตนเองว่ามันเป็นแค่ความเชื่อไม่ได้เป็นความจริง เราก็จะไม่หลงเอาความเชื่อ มาสับสนว่าเป็นความจริง<o></o>"

    ออร์กะ สิ่งที่คุณ K.Kwan กล่าวมา ก็เป็นเรื่องปกติธรรมดา และยังดีกว่า ผู้ที่หลงงมงายจนขาดปัญญาในการวิเคราะห์พิจารณาครับ<o></o>

    คุณ K.Kwan "การเอาชนะโลกเป็นผู้นำของทุกชาติทุกภาษาได้ โดยไม่ต้องก่อสงครามเข่นฆ่ากัน เราเชื่อว่ามีแต่จักรแก้วเท่านั้น ที่ทำได้ ทำให้ทุกผู้ทุกนามยอมศิโรราบ ยอมทำตามแบบ ไม่มีเงื่อนไข พระพุทธเจ้าเองตามที่มีบันทึกไว้ในพระไตรปิฎก ท่านก็ทรงใช้ทุกวิธีทั้ง อาเทสนาปาฏิหาริย์ และ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมตามเหตุการณ์และบุคคล และเท่าที่เราจำได้ พระพุทธเจ้าไม่ได้รังเกียจอาเทสนาปาฏิหาริย์ นะ แต่ท่านยกย่อง และสรรเสริญ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ว่ามีคุณมากกว่า"<o> </o>

    ออร์กะ
    ในเรื่อง “พระพุทธเจ้าไม่ได้รังเกียจอาเทสนาปาฏิหาริย์” นั้นขอได้โปรดพิจารณา พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค บ่งไว้ชัดเจนว่า “ดูกรเกวัฏฏ์ เราเล็งเห็นโทษในอาเทสนาปาฏิหาริย์ อย่างนี้แล จึงอึดอัด ระอา เกลียดอาเทสนาปาฏิหาริย์.” โดยมีหลักฐานดังนี้ครับ

    ๑๑. เกวัฏฏสูตร เรื่องนายเกวัฏฏ (ชาวประมง) ปาฏิหาริย์ ๓ ประการ-อิทธิปฏิหาริย์

    [๓๓๙] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรเกวัฏฏ์ ปาฏิหาริย์ ๓ อย่างนี้ เราทำให้แจ้งด้วยปัญญา อันยิ่งด้วยตนเองแล้ว จึงได้ประกาศให้รู้ ปาฏิหาริย์ ๓ อย่างเป็นไฉน? คือ อิทธิปาฏิหาริย์ ๑ อาเทสนาปาฏิหาริย์ ๑ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ๑
    ก็อิทธิปาฏิหาริย์เป็นไฉน? ดูกรเกวัฏฏ์ ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ ย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง …. ดูกรเกวัฏฏ์ ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน? คนผู้ไม่มีศรัทธา ไม่เลื่อมใสนั้น จะพึงกล่าวอย่างนั้นกะคนผู้มีศรัทธาเลื่อมใสนั้นบ้างไหม พึงกล่าวพระเจ้าข้า ดูกรเกวัฏฏ์ เราเล็งเห็น<o></o> โทษในอิทธิปาฏิหาริย์อย่างนี้แล จึงอึดอัด ระอา เกลียดอิทธิปาฏิหาริย์

    อาเทสนาปฏิหาริย์

    [๓๔๐] ดูกรเกวัฏฏ์ ก็อาเทสนาปาฏิหาริย์เป็นไฉน? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทายใจ ทายความรู้สึกในใจ ทายความนึกคิด ทายความตรองของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นได้ว่า ใจของท่านเป็นอย่างนี้ ใจของท่านเป็นไปโดยอาการนี้ จิตของท่านเป็นดังนี้ เพราะเหตุดังนี้นั้น บุคคลผู้ใดผู้หนึ่งมีศรัทธาเลื่อมใสเห็นภิกษุนั้นทายใจ ทายความรู้สึกในใจ ทายความนึกคิด ทายความตรองของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นได้ว่า ใจของท่านเป็นอย่างนี้ ใจของท่านเป็นไปโดยอาการนี้ จิตของท่านเป็นดังนี้. ครั้นแล้วเขาบอกแก่คนที่ยังไม่มีศรัทธา ไม่เลื่อมใส คนใดคนหนึ่งว่า อัศจรรย์จริงหนอ ท่าน ไม่เคยมีมาเลย ท่าน ความที่สมณะมีฤทธิ์มาก ความที่สมณะมีอานุภาพ มาก ข้าพเจ้าได้เห็นภิกษุรูปนี้ทายใจ ทายความรู้สึกนึกในใจ ทายความนึกคิด ทายความตรอง ของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นได้ ... เมื่อเป็นเช่นนี้ คนผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น พึงกล่าวกะเขาว่า ท่าน มีวิชาอย่างหนึ่งชื่อว่า มณิกา ภิกษุรูปนั้นทายใจ ทายความรู้สึกในใจ ทายความนึกคิด ทายความตรองของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นก็ได้ ... ด้วยวิชาชื่อว่า มาณิกานั้น ดูกรเกวัฏฏ์ ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน? คนผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น พึงกล่าวอย่างนั้นกะคนผู้มีศรัทธา เลื่อมใสกันบ้างไหม? พึงกล่าวพระเจ้าข้า ดูกรเกวัฏฏ์ เราเล็งเห็นโทษในอาเทสนาปาฏิหาริย์<o></o>อย่างนี้แล จึงอึดอัด ระอา เกลียดอาเทสนาปาฏิหาริย์.<o> </o>

    พระพุทธเจ้าตรัส จึงอึดอัด ระอา เกลียดอิทธิปาฏิหาริย์. และจึงอึดอัด ระอา เกลียดอาเทสนาปาฏิหาริย์. เหมือนกัน มิใช่
    ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมตามเหตุการณ์และบุคคล” ใช่ไหมครับ ยกเว้น อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ใช่ไหมครับ <o></o>

    อนุสาสนีปาฏิหาริย์

    [๓๔๑] ดูกรเกวัฏฏ์ ก็อนุสาสนีปาฏิหาริย์เป็นไฉน? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพร่ำสอนอย่างนี้ว่า ท่านจงตรึกอย่างนี้ อย่าตรึกอย่างนั้น จงทำในใจอย่างนี้ อย่าทำในใจอย่างนั้นจงละสิ่งนี้ จงเข้าถึงสิ่งนี้อยู่เถิด นี้เรียกอนุสาสนีปาฏิหาริย์.

    ออร์กะ สำหรับเรื่อง
    พระคริสต์จะกลับมาเป็นครั้ง2” และ “แอนตี้ไครส์” ที่นักวิชาการเห็นพ้องกันว่าเรื่องนี้พิรุธ และมีข้อมูลการประชุมประจำปี ชี้หลักฐานการไม่ชอบมาพากลของพระเยซู ในที่สุด ความจริงได้ปรากฏขึ้น ออร์กะจะขอนำมากล่าวและสรุปในกระทู้ต่อไปครับ

    คุณ
    K.Kwan แต่จะมีพระเจ้าจักรพรรดิ์พร้อมจักรแก้ว อุบัติในกลียุคครั้งนี้ หรือเปล่าเราไม่รู้ แต่ในคัมภีร์ศาสนาคริสต์กล่าวไว้ว่า พระคริสต์จะกลับมาเป็นครั้ง2 และเวลาที่มาก็ไม่มีใครรู้อีกเช่นกัน มีแต่ถึงเวลาก็รู้เอง และแน่นอนว่าผู้ที่จะได้พบท่านผู้เป็นความหวังของทุกศาสนา ย่อมต้องเตรียมตัวเตรียมใจ ให้พร้อม ชำระจิตใจตนเองให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอนของศาสนาตนอย่างถูกต้อง ไม่เป็นพวกฟารีสีเป็นศรัทธาที่สูญเปล่า ด้วยจิตใจที่มั่นคงอยู่ในศีลในธรรมแล้ว อย่าให้เป็นแบบนักบวชยิวฟารีสี ที่ถือคัมภีร์กล่าวถึงท่านเมสิอาร์ย์ผู้ถูกเจิมไว้ แต่พอพระคริสต์ปรากฏตัว กลับมองไม่เห็น เพราะความมืดบอดในจิตใจที่ถืออะไรไว้ผิดหรือเปล่าเราก็ไม่อาจรู้ได้ เราไม่ได้นับถือคริสต์แต่เราแปลกใจเรื่องเหล่านี้ และนำมาสอนใจเราอยู่เสมอ อย่าทำอะไรด้วยศรัทธาที่มืดบอดเพราะเวลาความจริงปรากฏตัวเรา อาจจะพลาดความจริงไปไปถือเอาความเท็จไว้แทนก็ได้ เพราะความคิดเป็นเหตุให้ปิดกั้นเราออกจากความเป็นจริงก็ได้ พูดมาก็มาก ก็แล้วแต่ท่าน จขกท. จะดำเนินไปตามทางที่ท่านเห็นควรก็แล้วกัน
    เราขออยู่ในความสงบ เพื่อรอดูความจริงปรากฏตัว ละกัน

    ปล.ที่จะมาไม่ใช่จะมีแต่พระคริสต์ แต่แอนตี้ไครส์ ก็จะมาด้วยแถมยังมาปรากฏตัวก่อน แล้วพระคริสต์ถึงจะปรากฏหลังจากมีแอนตี้ไครส์ปรากฏแล้ว ว่ากันตามคัมภีร์ของศาสนาคริสต์นะ เพราะเราเองก็ไม่รู้อะไรเลย <o></o>

    <o></o>
    สรุป ความเชื่อในเรื่องต่างๆ เช่น พระเจ้า หรืออิทธิปาฏิหาริย์ แล้วประพฤติปฏิบัติดี ย่อมไม่เป็นเรื่องเสียหายประการใด แต่ความเชื่อที่ทำให้มีผลในทางตรงข้าม ต่อการสร้างสันติสุขที่แท้จริงของพระจักรพรรดิ ย่อมเป็นตัวชี้วัดที่ทำให้เห็นว่าพุทธทำนาย พยากรณ์ของศาสนาต่างๆ รวมทั้งพยากรณ์ของชนเผ่ามายัน
    และนอสตราดามุสที่ได้พยากรณ์ไว้เช่นเดียวกันว่า มหันตภัยล้างโลกมีโอกาสเกิดขึ้น และผู้คนมากมายโดยไม่มีข้อจำกัดว่าเป็นใคร จะต้องถูกพิพากษาตามคำพยากรณ์ ย่อมมีความเป็นไปได้ ผู้ที่เหลืออยู่คือผู้ที่มีคุณธรรมปัญญาเท่านั้น โดยคาดการณ์จากพุทธทำนาย ปี พ.ศ. 2556 (ตรงกันมากกับพยากรณ์โลกอื่นๆ ) เป็นต้นไปที่พุทธทำนายจะเกิดผลแห่งการทำลายล้าง ด้วยความเป็นห่วงและปรารถนาดีจากกัลยาณมิตรทั้งหลาย


    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กันยายน 2010
  18. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    สิ่งใดที่ขัดกับความคิดความเชื่อของตนก็ว่ามีพิรุธ
    สิ่งใดตีความเข้าข้างความคิดตนได้ ก็ว่าถูกว่าควร

    พระพุทธพจน์ใดเข้ากับความคิดตน ก็ว่านั้นถูกแล้ว ควรแล้ว
    พระพุทธพจน์ใดเข้ากับความคิดความเชื่อของตนไม่ได้ ก็ว่ามีพิรุธ

    ชักจะไปกันใหญ่ ต่างคนต่างคิด จิตต่างกันก็พาให้มองต่างมุม ด้วยทิฏฐิของใครของมัน

    คำสอนบางอย่างใช้เพื่อโลกกุตรธรรมเพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์ ท่านก็สอนแบบหนึ่ง
    คำสอนบางอย่างใช้เพื่อคนในโลกที่ยังไม่หลุดพ้นจากทุกข์ ต้องอยู่กับโลก ท่านก็สอนแบบหนึ่ง

    เอาคำสอนในทางธรรมเพื่อความหลุดพ้นเรื่องหนึ่งไปอ้างกับเรื่องทางโลก ก็เป็นเวรกรรมของสัตว์โลก
    พระเจ้าจักรพรรดิ์เป็นเรื่องทางโลก เป็นตำแหน่งสูงสุดของคนทางโลก ธรรมเพื่อโลกก็เป็นแบบหนึ่ง

    พระสงฆ์ผู้ไม่เอาโลกต้องการหลุดพ้นจากโลก ต้องสอนอีกแบบหนึ่ง ใช้ธรรมอีกแบบหนึ่ง
    จะสอนให้พระสงฆ์มุ่งเอาเรื่องอิทธิปาฏิหารย์
    ย่อมไม่สมควรแก่ธรรม ไม่เหมาะแก่บุคคล

    84000 พระธรรมขันธ์ จะหาคนเข้าใจถ้วนเป็นเรื่องยาก ก็เป็นธรรมดา
    เพียงเลือกใช้ให้ถูกกาละเทศะ และถูกคน ก็ยังเป็นเรื่องยากสำหรับคนทั่วไป

    ตามสบาย นะ ท่าน จขกท. เราจะรอดู แอนตี้ไครส์
    มาก็ดี ไม่มาก็ดี เมื่อถึงเวลา ความจริงย่อมปรากฏเอง ตอนนี้ก็ฝุ่นตลบกันไป
    ทางใครทางมัน ก็แล้วกัน ทิฏฐิใครทิฏฐิมัน ถือว่าเรายุ่งในเรื่องคนอื่นไปเองก็แล้วกัน

    จบ แล้วนะ ไม่ได้ต้องการเปลี่ยนทิฏฐิของท่านให้มาเห็นดี เห็นงาม ตามเรา

    ปล. ไปๆมาๆ อาจมีจักรแก้วปลอมๆเกิดขึ้นก็เป็นได้ อย่าไปยึดถืออะไรเลย ดีที่สุด
    รอดูเหตุการณ์ที่จะเกิดต่อหน้าต่อตาเราด้วยความสงบ ดีกว่า สำหรับเรานะ
    ของคนอื่นก็ว่ากันไปตามแต่ใจจะปรารถนา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กันยายน 2010
  19. ออร์กะ

    ออร์กะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +1,375

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ขออนุโมทนาและขอขอบคุณคุณ K.Kwan ที่กรุณาให้ข้อคิดต่างๆ

    ออร์กะ ตามตอบกระทู้ # 141 (อิสรภาพทางความคิดในแต่ละสิ่งละอย่าง เป็นเสรีภาพอันยุติธรรมของทุกคน การสื่อ การเข้าใจ มีเหตุผลเป็นมาอย่างไร ย่อมขึ้นอยู่กับวิจารณญาณ ปัญญาธรรม ประสบการณ์ และความสามารถในการวิเคราะห์ของแต่ละคน แล้วตั้งข้อสรุปกันไปตามทางความคิดของแต่ละบุคคล ถ้าคิดเหมือนกัน ก็เกิดความพึงพอใจด้วยกัน ถ้าความคิดต่างกัน ความพึงพอใจก็ลดน้อยลงไปตามลำดับชั้น นี่แหละที่เขาเรียกว่า “นานาจิตตัง”) ควรที่จะมีความเห็นเช่นเดียวกันกับคุณ K.Kwan ที่เขียนมาครับ
    <o></o>
    ออร์กะ ขอชี้แจงที่มาของคำว่ามีพิรุธ เพื่อผู้อ่านบางท่านอาจสนใจ<o></o>
    <o></o>
    เรื่องเดิม พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒ ภิกขุนีขันธกะ เรื่องพระนางมหาปชาบดีโคตรมี<o></o>
    สรุปว่า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ …. ก็เพราะสตรีออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ในธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว บัดนี้ พรหมจรรย์จักไม่ตั้งอยู่ได้นาน สัทธรรมจักตั้งอยู่ได้เพียง ๕๐๐ ปีเท่านั้น เรื่องนี้ จะเห็นว่าเป็นจริง ดังพระพุทธเจ้าพยากรณ์ในอนาคตวงศ์ ด้วยสาเหตุ 5 ประการคือ<o></o>
    <o></o>
    1. การเสื่อมของความสำเร็จมรรคผล
    2. การเสื่อมของการปฏิบัติและการเจริญภวนา
    3. การเสื่อมของการศึกษาพระธรรมและการเข้าถึงพระธรรม
    4. การเสื่อมของพระสงฆ์และบูรพาอาจารย์
    5. การเสื่อมของวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา
    (ที่มา metteya.org)

    และจากเอกสาร การชำระและการจารึก พระไตรปิฎก ในรัชกาลที่ ๑ (จากหนังสือพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา) … พระไตรปิฎกธรรมทุกวันนี้ ยังถูกต้องบริบูรณ์อยู่หรือพิรุธผิดเพี้ยนประการใด จึ่งสมเด็จพระสังฆราชพระราชาคณะทั้งปวง พร้อมกันถวายพระพรว่า พระบาลี และ อรรถกถาฎีกาพระไตรปิฎกทุกวันนี้พิรุธมากมาช้านานแล้ว (อ้างอิง: พระไตรปิฏกฉบับประชาชน โดยคุณสุชีพ ปุญญานุภาพ)
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <o></o>
    พอดีออร์กะ เห็นสิ่งที่ดี น่ามีประโยชน์ในเรื่องความเป็นจริงตามหลักสากล กับความเชื่อความเข้าใจว่าเป็นจริงในกลุ่มชน จะขอยกตัวอย่างเรื่องข้าวอายุ 3000 ปี ดังนี้

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} a:link, span.MsoHyperlink {color:blue; text-decoration:underline; text-underline:single;} a:visited, span.MsoHyperlinkFollowed {color:purple; text-decoration:underline; text-underline:single;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ผลพิสูจน์ดีเอ็นเอ: ข้าว 3,000 ปีเวียดนามของเก๊!

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CWINDOWS%5CTEMP%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@Arial Unicode MS"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1 -369098753 63 0 4129279 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Arial Unicode MS"; mso-fareast-language:KO;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 2 กันยายน 2553 13:57 น.
    <o></o>
    ในเดือน พ.ค.ปีนี้ นักโบราณคดีเวียดนามพบเมล็ดข้าวที่ถูกไฟเผาจำนวนหนึ่งอยู่ลึกลงไปในชั้นใต้ ดิน ระหว่างการขุดค้นแหล่งโบราณคดีอายุ 3,000 ปี ในกรุงฮานอย บริเวณที่พบนั้นเชื่อกันว่าเป็นโรงครัวสมัยโบราณ เจ้าหน้าที่ยังพบโบราณวัตถุอีกจำนวนมาก ซึ่งสามารถระบุยุคสมัยได้ แหล่งโบราณคดีแห่งนั้นดังกล่าว มีการขุดค้นมา 7 ครั้งแล้วนับตั้งแต่ปี 2544
    <o></o>
    การค้นพบครั้งนั้นตกเป็นข่าวฮือฮาเป็นเวลานานข้ามเดือน หลังจากนักวิทยาศาสตร์นำเมล็ดข้าวที่ถูกไฟเผาไปแช่ในน้ำโดยบังเอิญและพบว่า เมล็ดข้าวจำนวนหนึ่งสามารถงอกเป็นต้นกล้าขึ้นมา ทำให้มีเสียงเรียกร้องต้องนำเปลือกไปตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอเพื่อหาอายุจริง<o></o>
    <o></o>
    ในที่สุดสถาบันฯ ตัดสินใจส่งตัวอย่างเมล็ดข้าว 3,000 ปี ไปตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอในญี่ปุ่น ซึ่งผลออกมาปรากฏว่า.. แต่ก็ไม่ได้ทำให้ใครผิดหวัง เพราะว่าความจริงได้รับการพิสูจน์แล้ว<o></o>
    <o></o>
    ผลการพิสูจน์ดีเอ็นเอจากห้องแล็บในประเทศญี่ปุ่นออกมาแล้ว และปรากฏว่า เมล็ดข้าวที่เชื่อว่ามีอายุราว 3,000 ปี ซึ่งงอกเป็นต้นกล้า และเติบโตจนออกรวงแล้วนั้น แท้จริงเป็นพันธุ์ข้าวในสมัยปัจจุบัน สถาบันยีนวิทยาการเกษตร (Agricultural Genetics Institute) เปิดเผยระหว่างการประชุมสัมมนานัดหนึ่งในวันอังคาร (31 ส.ค.)<o></o>
    <o></o>
    [​IMG]
    <o></o>(ภาพ: ขอขอบคุณและให้เกียรติ ASTVผู้จัดการออนไลน์ )

    อธิบายภาพ
    <o></o>
    <o></o>
    1. ที่สถาบันยีนวิทยาเพื่อการเกษตร นำออกเผยแพร่ในต้นเดือน ส.ค.ที่ผ่านมา ต้นข้าวก็ช่างเป็นใจ งามเร็ว ออกรวงเร็วกว่าปรกติ คนทั่วไปก็ยิ่งเชื่อว่า มันจะต้องเป็นข้าวโบราณพันธุ์ดีแน่ๆ เรื่องนี้ได้สร้างความหวังใหม่ๆ ขึ้นมามากมาย<o></o>

    2. ผู้อำนวยการสถาบันยีนวิทยาเพื่อการเกษตรกำชับกำชาผู้เชี่ยวชาญให้ระมัดระวัง การปนเปื้อน ขณะนำต้นกล้าจาก "เมล็ดข้าว 3,000 ปี" ไปปลูกในแปลงทดลอง<o></o>
    <o></o>
    3. นัก วิทยาศาสตร์ของสถาบันฯ ที่ "รับไม้" ต่อจากนักโบราณคดี จากแหล่งที่พบในกรุงฮานอย เก็บตัวอย่างเมล็ดข้าว 3,000 ปีที่ถูกไฟเผาและยังงอกได้อีก ถูกต้องตามหลักวิชาการทุกประการ<o></o>
    <o></o>
    4. นักวิทยาศาสตร์ที่สถาบันฯ บรรจงนำต้นกล้าจาก "เมล็ดข้าว 3,000 ปี" ปลูกในกรงลวด หนา 2 ชั้นอย่างทนุถนอม กันแมลงได้เด็ดขาด แมลงวันไม่ให้เข้าใกล้ ไรไม่ให้ลอด<o></o>

    เรื่องที่
    นักโบราณคดีเวียดนามพบเมล็ดข้าวที่ถูกไฟเผาเมื่อ 3000 ปี ไม่มีใครรู้ว่าเป็นจริงหรือไม่อย่างไร ดังนั้นการให้คนกลาง (ญี่ปุ่น) ที่มีความรู้ความสามารถหาข้อเท็จจริง ย่อมเกิดประโยชน์ ไม่เป็นโทษ ซึ่งเป็นไปตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้วใน กาลามสูตร

    1. อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ฟังๆ กันมา

    2. อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ทำต่อๆ กันมา

    3. อย่าเพิ่งเชื่อตามคำเล่าลือ

    4. อย่าเพิ่งเชื่อโดยอ้างตำรา

    5. อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกเดา

    6. อย่าเพิ่งเชื่อโดยคาดคะเนเอา

    7. อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกคิดตามแนวเหตุผล

    8. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะถูกกับทฤษฎีของตน

    9. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะมีรูปลักษณ์ที่ควรเชื่อได้

    10.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะผู้พูดเป็นครูบาอาจารย์ของตน
    <dl><dd>เมื่อใด ท่านทั้งหลายพึงรู้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้สรรเสริญ ธรรมเหล่านี้ใครสมาทานให้บริบูรณ์แล้ว เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข เมื่อนั้น ท่านทั้งหลายควรเข้าถึงธรรมเหล่านั้นอยู่ (วิกิพีเดีย)</dd></dl>สรุป ที่ออร์กะ และเพื่อนๆ พยายามค้นหาข้อมูลในเรื่อง ท้าวสักกะฯ ที่มีหลักฐานความเป็นจริง มีที่มาที่ไปเป็นเหตุผลมาลง ก็เพื่อต้องการให้มีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเรื่องท้าวสักกะฯ แบบสากลนิยม เพื่อประโยชน์สุขทั้งหลายถ้าเรื่องดังกล่าวเป็นจริง นอกจากนี้ยังจะได้แสดงข้อเท็จจริงให้ชาวโลกทราบว่า พระพุทธเจ้าตรัสเรื่องท้าวสักกะฯ ไว้นั้นเป็นจริงแล้ว รวมถึงพ่อหลวงของเราทั้งหลาย ก็คือพระมหาเถรพระโพธิสัตว์ของโลก ประเทศไทยจะเป็นผู้นำโลกทางสันติสุขและสันติภาพ เรากลัวอะไรกันอยู่หรือ กับการหาข้อเท็จจริงที่ไม่สามารถหลวกลวงใครได้

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กันยายน 2010
  20. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    ไปอ่านเจอโพสท์ ของคุณลุงมหาที่ห้องอภิญญา-สมาธิ ไม่รู้จะมีประโยชน์กับคุณ ออร์กะ หรือเปล่า

    (เรื่องเก่า ทิฏฐิต่างกัน ก็ช่างมันเถอะ เพราะก็บอกแล้วว่า เราไม่รู้อะไรเลย รอดูความจริงปรากฏ อย่างเดียว)
    =============
    พระมหาโพธิสัตว์ที่มาสืบทอดพระศาสนาให้ถึง 5,000 ปี ปรากฎขึ้นแล้ว<!-- google_ad_section_end -->


    <!-- google_ad_section_start -->
    อ้างอิง ข้อเขียนของท่าน xxx
    ในพุทธะทำนายกึ่งพระศาสนา จะมี พระมหาโพธิสัตว์ ลงมา เพื่อให้พระศาสนาสืบต่อไปอีก 2500 ปีจนครบ 5000 ปี ถ้าพระสาวกที่เป็น สาวกภูมิ มีความรู้มากกว่า พุทธภูมิแล้ว พระมหาโพธิสัตว์ ท่านต้องลงมาทำไหม พระมหาโพธิสัตว์ ที่เป็นฆราวาส 1 บวชในพระพุทธศาสนา 1 ไม่อย่างนั้น ให้สาวกภูมิเป็นผู้ให้ยกพระศาสนาสืบต่อไปไม่ดีกว่าหรือ ก็เพราะบารมี ต่างกัน ความรู้ ต่างกัน ภูมิธรรม ต่างกัน พระมหาโพธิสัตว์ จัดได้ว่าเป็นท่านที่ อธิบายธรรมะ ได้ใกล้เคียงองค์สมเด็จพระอรหันต์สัมมาสัมพุทธะเจ้ามากที่สุด

    ไม่เกิน 4 ปีจากนี้ไป ท่านจะได้เห็นพระมหาโพธิสัตว์ตามพุทธะคำทำนาย

    ขออนุญาตครับ
    แม้ผมจะร่างคำตอบสำหรับท่าน xxx ไว้แล้ว แต่สรุปได้ว่าไม่มีความจำเป็นต้องใช้คำตอบนั้น ขอตอบแบบสรุปไปเลยดีกว่า

    ผมเป็น ลูกศิษย์รับใช้ องค์พระมหาโพธิสัตว์ ที่ท่านxxx กล่าวถึงมา ตั้งแต่ วันมาฆบูชา ปี 2551 เป็นเวลา สองปีกว่าๆแล้ว

    แม้เบอร์โทรส่วนตัวของท่านผมก็มี รวมทั้งคู่บารมี และผู้ใกล้ชิดท่าน อีกจำนวนหนึ่ง

    ท่านจะสืบทอดพระศาสนาอย่างไร?
    ท่านพยากรณ์อะไร?
    ท่านให้พรอะไร?

    ก็ขอเรียนเชิญผู้มีจิตเป็นบุญเป็นกุศล พิจารนา จาก คลิป วีดีโอ จาก ลิงค์ข้างล่าง ที่ผมได้ถ่ายเอาไว้ก็ได้

    องค์พระมหาโพธิสัตว์ ท่านจะสืบพระศาสนาอย่างไร?

    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=WOQYow-NfC8"]YouTube - มูลนิธิพระใหญ่ชัยภูมิ ตอน วัตถุประสงค์ของการสร้างพระใหญ่ชัยภูมิ[/ame]

    องค์พระมหาโพธิสัตว์ ท่านพยากรณ์อะไร?
    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=bcmHK7uNH6Q"]YouTube - อ ทิพากร รินไธสงค์ ทอดผ้าป่าฃื้อที่ดินสร้างพระใหญ่ขัยภูมิ ตอน 1[/ame]


    องค์พระมหาโพธิสัตว์ ท่านให้พรอะไร?
    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=Zw47RHXQFIw&feature=channel"]YouTube - ท่านอาจารย์ให้พร อานิสงค์การสร้างพระใหญ่ชัยภูมิ 10 เมษายน 2553[/ame]

    หรือท่านผู้ใด สนใจ อยากพบ อยากเจอ ท่าน ตัวจริง บอก จังหวัดที่ท่านอยู่มา ผมจะแจ้งว่าท่านอาจารย์จะไปแถบนั้นเมื่อไร?​
    หรือหมู่คณะใดจะเรียนเชิญท่าน ก็ขอให้ถามมา ผมจะบอก ขั้นตอน วิธีการให้
    เพราะท่านรับเชิญจากท่านที่มีความเชื่อถือศรัทธาเดินทางไปทั่วประเทศมาตั้งแต่ปี 2551 แล้ว
    ขออนุโมทนาบุญร่วมกับผู้มีจิตเป็นบุญเป็นกุศลทุกๆท่าน
    ขอบคุณครับ
    ลุงมหา

    http://palungjit.org/threads/สติดีดออกจากสมาธิ.253359/page-7
    <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กันยายน 2010

แชร์หน้านี้

Loading...