ภูไท...ภาษาภูไท...วันละคำ

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย ติงติง, 29 มิถุนายน 2011.

  1. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width=300 align=center><TBODY><TR><TD class=table align=middle>เซิ้งกระติบ</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]



    กระติบข้าว หรือภาษาอีสานบางแห่งเรียกว่าก่องข้าว เป็นภาชนะใช้สำหรับใส่ข้าวเหนียว ที่ทรงคุณค่ามากด้วยภูมิปัญญา เก็บความร้อนได้ดี ในขณะที่ยอมให้ไอน้ำระเหยออกไปได้ ทำให้ข้าวเหนียวที่บรรจุอยู่ภายในกระติบหรือก่องข้าวไม่แฉะด้วยไอน้ำ (ต่างจากกระติกน้ำแข็งที่เก็บความร้อนได้แต่ไม่ยอมให้ไอน้ำระเหยออก ข้าวเหนียวจึงเปียกแฉะ)

    ภูมิปัญญานี้มีเคล็ดลับอยู่ที่การสานกระติบเป็นสองชั้น ชั้นในสุดจะสานด้วยตอกให้มีตาห่างเล็กน้อย เพื่อให้ไอน้ำระเหยออกจากข้าวผ่านช่องว่างภายในกระติบข้าวชั้นในได้ ในขณะที่ชั้นนอกสุดจะสานด้วยตอกที่มีความชิดแน่นหนากว่าเพื่อเก็บกักความร้อนไว้ ไอน้ำที่มีความร้อนอยู่ภายในช่องว่างนี้ จะช่วยทำให้ข้าวเหนียวที่อยู่ภายในกระติบข้าว ยังคงความร้อนได้อีกนาน โดยเมล็ดข้าวจะไม่มีไอน้ำเกาะ จึงไม่แฉะเหมือนกับการบรรจุในภาชนะพลาสติกยุคใหม่ ฝาปิดและตัวกระติบ จะมีลักษณะที่เหมือนกัน เพียงแต่มีขนาดที่ต่างกันเล็กน้อยให้สามารถสวมใส่กันได้พอดี ในส่วนตัวกระติบจะมีฐานรอง ขดเป็นวงกลม มีขนาดเล็กกว่าตัวกระติบเล็กน้อย ยึดด้วยหวายหรือไนล่อนให้ติดกับตัวกระติบ

    [​IMG]

    เซิ้งกระติบข้าว เป็นการแสดงของภาคอีสานที่เป็นที่รู้จักกันดี และแพร่หลายที่สุดชุดหนึ่ง จนทำให้คนทั่วไปเข้าใจว่า การแสดงของภาคอีสานมีลักษณะเป็นการรำเซิ้งเพียงอย่างเดียว

    เซิ้งกระติบข้าวได้แบบอย่างมาจากการเซิ้งบั้งไฟ ซึ่งแต่เดิมนั้น เซิ้งบั้งไฟในขบวนแห่ หรือเซิ้งในขบวนแห่ต่างๆ ไม่มีท่าฟ้อนรำที่อ่อนช้อย เป็นเพียงยกมือร่ายรำ(ยกมือสวกไปสวกมา)ให้เข้ากับจังหวะกลองและรำมะนาเท่านั้น




    <FIELDSET>ในราว พ.ศ. 2507 เมื่อครั้งที่สมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงมีพระประสงค์การแสดงของภาคอีสาน เพื่อต้อนรับสมเด็จพระนางเจ้าอะเลียนา และเจ้าหญิงบีทริกซ์ แห่งประเทศเนเธอแลนด์ จึงมีการนำเอาเพลงเซิ้งอีสานคือ จังหวะลำเซิ้งมาใช้ โดยมีท่าถวายบังคม ท่านกบิน ท่าเดิน ท่าดูดาว ท่าม้วนตัว ท่าสนุกสนาน ท่าปั้นข้าวเหนียว ท่าโปรยดอกไม้ ท่าบังแสงอาทิตย์ ท่าเตี้ย (รำเตี้ย) และในการแต่งกายครั้งแรกนั้นจะนุ่งผ้าซิ่นห่มผ้าสไบ เกล้าผมสูง แต่ยังไม่ได้ห้อยกระติบข้าวเพราะเห็นว่ารุงรัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จทอดพระเนตร พระองค์จึงรับสั่งให้ใครสักคนหนึ่งลองรำดูว่า ถ้าไม่ห้อยกระติบข้าว หรือห้อยกระติบข้าวแล้วจะเป็นอย่างไร? คุณหญิงเบญจวรรณ อรวรรณ เป็นผู้ทดลองรำดู ครั้งแรกไม่ห้อยกระติบข้าวก็น่ารักดี ครั้งที่สองรำโดยห้อยกระติบข้าวทุกคนก็คิดว่ากำลังน่ารัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับสั่งคำเดียวว่า "น่าเอ็นดูดีนี่" ผู้รำทุกคนก็พากันรีบห้อยกระติบข้าวกันใหญ่ทางไหล่ขวาทุกคน การเซิ้งครั้งนั้น ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เรียกชื่อว่า "เซิ้งอีสาน" ต่อมามีผู้นำเซิ้งอีสานไปแสดงกันทั่วไปแต่เปลี่ยนชื่อใหม่ว่า "เซิ้งกระติบข้าว"</FIELDSET> อ้างอิงจาก: บ้านรักษ์ไทยดอทคอม

    ดนตรี ใช้ลายเต้ยโขง

    อุปกรณ์ กระติบข้าว

    [​IMG]

    การแต่งกาย ผู้แสดงใช้ผู้หญิงล้วน สวมเสื้อแขนกระบอกคอกลมสีพื้น นุ่งผ้าซิ่นมัดหมี่ ห่มผ้าสไบเฉียง ผมเกล้ามวยทัดดอกไม้ห้อยกระติบข้าวทางไหล่ซ้ายเฉีียงไปทางขวา
     
  2. ped2011

    ped2011 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,037
    ค่าพลัง:
    +1,096
    หอๆๆๆๆ น้องอุ๋มอิ๋มนี่ไม่ธรรมดา เด๋วอ้ายสิไปนึกหาคำมาแก้ก่อน คึดหาคำเว้าสักแปดตลบ

    โอยน้อน้องอุ่มอิ๋มคนผุงามเมืองยโส
    ข่าวว่าทั้งโก้อัฐยาศัยดีทั้งมีความรู้
    แต่งกลอนมายามได่อ้ายนึกตอบบ่ทันแน่นจูลู
    คือสิคักเน๊อะแม้นได้เป็นเนื้อคู่สิฮักจนตาย..น้องหล่าเอ๋ย 555
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กรกฎาคม 2011
  3. อุ๋มอิ๋ม555

    อุ๋มอิ๋ม555 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    111
    ค่าพลัง:
    +33

    อ่านเเล้วยิ้มๆๆ เเต่งใด้ไพเราะเสียจริงเลย คุณเเม่เก่งที่ซู้ดๆ ซวดๆๆ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กรกฎาคม 2011
  4. อุ๋มอิ๋ม555

    อุ๋มอิ๋ม555 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    111
    ค่าพลัง:
    +33

    จะรอฟังกลอนนะคะ>>อ่านเเล้วก็ยิ้มๆๆตามเอ่ย^0^(deejai)
     
  5. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    เมอเฮิน ความหมาย กลับบ้าน
    ฮูดัง ความหมาย จมูก
    หัวสีเคอ ความหมาย ตะไคร้
    สะแนน ความหมาย แคร่
     
  6. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    เซิ้งเป็นวัฒนธรรมของคนไทยอีสานค่ะ
     
  7. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
  8. ped2011

    ped2011 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,037
    ค่าพลัง:
    +1,096
    จัดให้แบบเต็มเลยครับครู พร้อมประวัติวัดป่าภูริทัติตถิราวาสแบบคร่าวๆ วิดีโอนี้ผมตัดต่อเองกะมือแล้วโหลดลงยูตู้บ ขอให้ครูดูจนจบ แล้วให้คะแนนนักเรียนหน่อยนะ

    <!--[if gte mso 9]><xml> <o:OfficeDocumentSettings> <o:AllowPNG/> </o:OfficeDocumentSettings> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:EnableOpenTypeKerning/> <w:DontFlipMirrorIndents/> <w:OverrideTableStyleHps/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ประวัติหมู่บ้านหนองผือ เล่าโดย “เป็ด 2011"[/FONT]

    [FONT=&quot]..บ้านหนองผือ ตั้งอยู่ท่ามกลางเขาภูพานที่โอปล้อมทั้งสองด้าน สมัยก่อนรอบๆหมู่บ้านจะเป็นป่าเขาดงดิบ ที่เต็มไปด้วยสัตว์ป่านานาชนิด สาเหตุที่ตั้งชื่อหมู่บ้านว่าบ้านหนองผือคงเนื่องมาจากที่หนองน้ำท้ายหมู่บ้านมีต้นผือขึ้นอยู่เยอะมาก พ่อแม่พี่น้องเขาจะเอามาทอเป็นสื่อปูนั่ง คนพื้นราบที่อยู่เขตเมืองเขาจะเรียกคนที่หมู่บ้านนี้ว่าคนไทภู[/FONT]


    [FONT=&quot]สมัยก่อนยังไม่มีเส้นทางเดินรถ คนที่จะเข้าออกหมู่บ้านหรือไปในเมือง ต้องใช้การเดินเท้า เรียกว่าเดินเครื่องวันจึงจะถึง เกวียนคือพาหนะที่สะดวกสบายที่สุดในยุคนั้น พระสงฆ์ที่ต้องการจะไปจำพรรษาที่วัดป่าภูริทัติฯต้องเดินข้ามเขาภูพานเขาไป เรียกได้ว่าท่านปฏิบัติธรรมไปในตัวเลยก็ว่าได้[/FONT]

    [FONT=&quot]ต่อมากรมทาง รพช.ได้ตัดเส้นทางผ่านไปยังหมู่บ้านต่างๆ ทำให้เส้นทางสะดวกขึ้นมาอีกนิด แต่ก็ยังเป็นทางลูกรัง พอฝนตกลงมาทำไห้มีหลุมบ่อเพียบ ถ้ายายจื้ดเสียงอิสานขี่จักรยานมาจะมักแฮงเลยแหล่ะ เรื่องฝุ่นไม่ต้องพูด ชนิดที่ใครที่นั่งรถสองแถวเข้าเมืองเป็นต้องไปหาอาบน้ำใหม่[/FONT]


    [FONT=&quot]ทุกวันนี้ถนนหนทางสะดวกสบาย เส้นทางลาดยางมะตอย ญาติธรรมที่ต้องการไปทำบุญก็เดินทางไม่ทุลักทุเลเหมือนสมัยเก่า [/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องของกิน เมื่อก่อนจะอุดมสมบูรณ์มาก ผัก กุ้ง ปูปลาเยอะจริงๆ แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไปสิ่งต่างๆก็เลือนหายไปทีละนิด แต่ที่ยังคงอยู่ เรามีแกงหวายป่า ที่รสชาติคงความเป็นเอกลักษ์ ใครเลียนแบบไม่เหมือน ใครได้กินเป็นต้องร้อง แซ่บๆๆๆๆ เรียกได้ว่าใครมาที่หมู่บ้านแล้วไม่ได้กิน ถือว่ามาไม่เถิง[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]นอกจากแกงหวาย สิ่งหนึ่งที่ยังเหนียวแน่น คือเรายังคงความเป็นคนภูไทไม่เปลี่ยนแปลง ภาษาพูด ขนมธรรมเนียมที่ไม่เปลี่ยนตามกาลเวลา เรามีสถานที่ๆเป็นที่เชิดหน้าชูตา ก็คือที่พำนักของหลวงปู่มั่น ภูริทัติโต และวัดป่าภูริทัติตถิราวาส พอถึงวันที่ ๑๐ เดือน ๑๑ ชาวบ้านจะพร้อมใจกันจัดงานวันครบรอบเป็นประจำทุกๆปี ดังที่ทุกท่านคงทราบประวัติหลวงปู่และความเป็นมาของวัดเป็นอย่างดี[/FONT]

    [FONT=&quot]วัดป่าภูริทัติตถิราวาส ตั้งอยู่ห่างออกไปทางทิศเหนือของหมู่บ้านประมาณ[/FONT][FONT=&quot]๕๐๐ เมตร มีทุ่งนากั้นระหว่างวัดกับหมู่บ้าน ช่วงหน้าฝนสมัยก่อนที่น้ำท่าดี น้ำจะท่วมเส้นทางนี้ ระหว่างที่ชาวบ้านสร้างสะพานชั่วคราว พระที่จะไปบิณฑบาติในหมู่บ้านต้องขึ้นเรือที่ชาวบ้านพายไปรับ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <o:OfficeDocumentSettings> <o:AllowPNG/> </o:OfficeDocumentSettings> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:EnableOpenTypeKerning/> <w:DontFlipMirrorIndents/> <w:OverrideTableStyleHps/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]-->[ame="http://www.youtube.com/watch?v=mNsgqsArFIU&feature=player_detailpage"]YouTube - ‪วัดป่าภูริทัติตถิราวาส‬‏[/ame]


    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=A61iyqZaqD4&feature=player_detailpage"]YouTube - ‪2‬‏[/ame]
    ส่วนวิดีโออีกอันนี้ยังไม่สมบูรณ์ เป็นไตเติ้ลของป้ากุหลาบ ท่านเป็นคนเข้ามาช่วยบูรณะหลายหย่างในวัดให้สะดวกสะบายขึ้น ตอนนี้ผมกำลังตัดต่อวิดีโอให้ท่านอยู่ แต่ไม่เสร็จสักที

    [FONT=&quot]หากใครที่ต้องการเดินทางไปนมัสการกราบองค์หลวงปู่มั่นฯก็ขอเชิญได้ทุกวันนะครับโดยเฉพาะช่วงเข้าพรรษาที่จะถึง

    เช่นเคย คำขวัญของหมู่บ้าน “แกงหวายรสอร่อย งามหยดย้อยสาวภูไท ศูนย์รวมจิตใจคือที่พำนักหลวงปู่ฯ”[/FONT] อันนี้ตั้งเองมั่วๆ


    [FONT=&quot]ส่วนวิดีโออันนี้มีท่านอื่นตัดต่อแล้วนำลงไว้ เป็นเรื่องราวของพระที่วัดเช่นกัน. และขอบคุณล่วงหน้าที่กรุณาดูจนจบและให้คะแนนครับครู.[/FONT]

    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=sBN83HPwtdU&feature=player_detailpage"]YouTube - ‪วัดป่าภูริทัต Wat Pa Puritattatiravart, Sakol Nakorn, Thailand‬‏[/ame]
     
  9. แปะแปะ

    แปะแปะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    780
    ค่าพลัง:
    +128
    ว่าต่อไปจ้า.....สาวภูไท......อิอิ....ชอบ.....เพราะดี...เกง..เก่ง..เก้ง..เก๊ง...เก๋ง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 กรกฎาคม 2011
  10. อุ๋มอิ๋ม555

    อุ๋มอิ๋ม555 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    111
    ค่าพลัง:
    +33
    โอ๊ยน้อ พิน้องภูไทเอ้ย

    อยากเว้านำกะเว้ามิเป็น

    อยากเล่นนำกะเล่นมิได๋

    เเต่มักภาษาภูไทหลาย

    ฟังเเล้วม่วนหู ม่วนใจคัก
     
  11. อุ๋มอิ๋ม555

    อุ๋มอิ๋ม555 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    111
    ค่าพลัง:
    +33
    พี่น้องเอ๋ย....เผอว่าเเดนภูไทฮ้าง เยอะจูงเเหนเพิ่นไปเบิ่ง
    ฮ้างจังได๋ ป่าไผ่ยังโซ้ยโล้ย ป่าโก้ยยังซ้านล้าย
    ซิไปฮ้างเเม้นบ่อนเลยน้อ.....พี่น้องเอ๋ย
    ขอมาเป็นพี่เป็นน้องนำเเหน่เด้อ ซุมเเซวซาวภูไท
     
  12. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    อุ๋มอิ๋ม<!-- google_ad_section_end -->น้อย อยู่ไส ไปสิเหลอ
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Poohเพื่อนเกลอ <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ป่ากุง<!-- google_ad_section_end -->ด้วย ช่วยเต็มที่
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->planet X บอกว่า ข้าขอที
    Jubb<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4849454", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4847435", true); </SCRIPT>เร็วรี่ ตามมา อย่าช้าพลัน


    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->MERA<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4846478", true); </SCRIPT> มาที่หก ในยกนี้
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แปะแปะ<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4844965", true); </SCRIPT> มีความรู้ ดูขยัน
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->JOMKAMUNG และ <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->tbb_gt<!-- google_ad_section_end --> นับรวมกัน
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ติงติง<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4851461", true); </SCRIPT> พลัน นับสิบได้ ไม่ขาดเกิน


    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ธรรมนารี<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4838623", true); </SCRIPT> teelak มาสมทบ
    สร้อยฟ้า<!-- google_ad_section_end -->ตาม มาพบ<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4825995", true); </SCRIPT> ไม่ห่างเหิน
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->pedก็มา ณัฐกิตติ์ตอบ รับคำเชิญ
    <SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4835119", true); </SCRIPT>
    ราคุ<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4830945", true); </SCRIPT> เกริ่น Lekตามติด ประชิตพลัน

    naetnapit ติดใจ ในผญา
    รีบตามมา ตอบกระทู้ ดูขยัน
    แล้วหัดสอย กระเซ้าเล่น เป็นเพื่อนกัน
    ร่วมแบ่งปัน เรียนรู้ น่าดูชม

    เชิญเพื่อนมา นั่งเล่น ให้เย็นจิต
    กระชับมิตร โพสต์ตอบบ้าง ช่างเหมาะสม
    ภาษาไทย ของเรา เรานิยม
    เชิญระดม ความคิดอย่าง สร้างสรรค์เอย
     
  13. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ^^ ต่อแล้วค่ะ แปะแปะ :cool:
     
  14. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    การอพยพของชนเผ่าภูไท (ผู้ไท)
    แต่ครั้งกาลนานมาแล้ว มีชนเผ่าที่เรียกตนเองว่า “ผู้ไท” (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานเขียนว่า "ผู้ไทย" หรือบางแห่งเขียนว่า “ภูไท”) ตั้งถิ่นฐานทำมาหากินบนดินแดนทางตอนเหนือของประเทศลาวและเวียตนาม และติดกับตอนใต้ของประเทศจีน ชนเผ่าผู้ไทดังกล่าวมี ๒ พวกคือ ผู้ไทดำที่นิยมแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสีดำและสีคราม ครอบครอง 8 หัวเมือง และผู้ไทขาวที่ชอบแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสีขาว ครอบครอง 4 หัวเมือง รวมเป็นทั้งหมด 12 หัวเมือง จึงได้ขนานนามเเว่นเเคว้นเเห่งนี้ว่า "สิบสองจุไทย" โดยมีศูนย์กลางของการปกครองอยู่ที่เมืองแถง แคว้นสิบสองจุไทนี้ตั้งอยู่ชิดใกล้กับแคว้นสิบสองปันนา ซึ่งปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของประเทศจีน อันว่าแคว้นสิบสองจุไทนั้นเคยเป็นดินแดนที่อยู่ในความครอบครองของราชอาณาจักรไทยมาช้านานในฐานะเมืองประเทศราช แต่มีอันต้องสูญเสียให้กับประเทศฝรั่งเศสไปเมื่อ พ.ศ.2431 จากกรณีพิพาททางการเมืองระหว่างสยาม-ฝรั่งเศส เหตุผลเพื่อพิทักษ์รักษาเอกราชของดินแดนส่วนใหญ่สยามประเทศเอาไว้นั่นเอง
    การอพยพครั้งแรกของชนเผ่าผู้ไท : การละถิ่นฐานจากเมืองแถง แคว้นสิบสองจุไท
    การละทิ้งถิ่นฐานจากบริเวณเมืองแถงของชนเผ่าผู้ไทดำครั้งแรกนั้น มีสาเหตุมาจากการรุกรานของกลุ่มผู้ไทขาว ที่ขยายอำนาจจนสามารถครอบครองหัวเมืองได้ถึง 11 หัวเมือง พร้อมทั้งประกาศตนไม่ยอมขึ้นกับเมืองแถง ส่งผลให้ผู้ไทดำต้องอพยพลงสู่ดินแดนที่ราบสูงทางตอนใต้เรียกว่า “หัวพันทั้งห้าทั้งหก” อันมีเมืองน้ำน้อยอ้อยหนูเป็นหัวเมืองหลัก ครั้นต่อมาต้องประสบปัญหาขัดเเย้งกับชนพื้นเมืองเดิม และทุพภิกภัยที่เกิดจากฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาลก่อให้เกิดความแห้งแล้ง จึงได้อพยพอีกครั้งมาตั้งถิ่นฐานที่บริเวณที่ราบเชียงขวาง (ปัจจุบันอยู่ในประเทศลาว) โดยมีเมืองเชียงขวางเป็นศูนย์กลาง ผู้ไทดำได้ทำมาหากินอย่างสงบสุขเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 200 ปี ลุถึง พ.ศ. 2321 - 2322 สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงมีพระบัญชาให้เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (ทองด้วง) กับเจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) นำทัพไทยสองหมื่นคนไปตีหัวเมืองลาวตั้งแต่นครจำปาศักดิ์จนถึงนครเวียงจันทน์ กองทัพไทยล้อมเวียงจันทน์ราว 4 เดือนเศษ จึงสามารถตีหักเอานครเวียงจันทน์ได้สำเร็จ หลังจากนั้นทางการของไทยได้ผนวกประเทศลาวทั้งหมดเป็นเมืองประเทศราช ในการศึกครั้งนี้เมืองหลวงพระบางได้ส่งกองทัพมาช่วยไทยตีเวียงจันทน์ด้วย ภายหลังจากตีกรุงเวียงจันทน์แตก ฝ่ายไทยได้ให้กองทัพหลวงพระบางเคลื่อนพลไปตีหัวเมืองทางด้านตะวันออกของหลวงพระบาง อันมีผู้ไทดำครองเมืองอยู่คือเมืองทันต์และเมืองม่วย สมเด็จพระเจ้าตากสินรับสั่งให้กวาดต้อนผู้ไทดำ (ลาวทรงดำ) เหล่านี้ไปตั้งบ้านเรือนที่เมืองเพชรบุรี (บางส่วนน่าจะย้ายไปอยู่ที่ราชบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรีและบางจังหวัดในภาคกลาง เรียกกันว่าลาวโซ่ง) ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ผู้ไทขาวส่วนใหญ่ยังคงอยู่ที่เมืองแถงในแคว้นสิบสองจุไท จึงไม่ได้ถูกกวาดต้อนมาด้วย ผู้ไทดำจากสองเมืองนี้นับว่าเป็นผู้ไทระลอกแรกที่ถูกกวาดต้อนเข้าสู่ประเทศไทย (เป็นกลุ่มที่มิได้ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนที่ภาคอีสาน) นับว่าเป็นกุศโลบายที่สำคัญของฝ่ายชนะศึกที่จำต้องการกวาดต้อนผู้คนของฝ่ายแพ้ศึกมาด้วย เพื่อเป็นการตัดทอนมิให้ฝ่ายพ่ายศึกสามารถซ่องสุมรี้พลขึ้นมาแข็งข้อในภายหน้าได้ อีกทั้งเชลยศึกที่กวาดต้อนมานั้นก็นำมาปูนบำเหน็จให้กับเเม่ทัพนายกองที่มีความดีความชอบ เพื่อให้ไปช่วยกันสร้างบ้านแปลงเมืองกันต่อไป

    การอพยพระลอกที่สอง : จากเมืองน้ำน้อยอ้อยหนูเข้าสู่เมืองวัง
    “ท้าวก่า” หัวหน้าของผู้ไทยดำได้เกลี้ยกล่อมชาวผู้ไทดำราวหมื่นคนเศษ ให้อพยพมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของเจ้าอนุวงศ์หรือเจ้าอนุรุธแห่งนครเวียงจันทน์ เจ้าอนุวงศ์ได้โปรดให้ไปตั้งถิ่นฐานที่เมืองวัง อันเป็นพื้นที่ป่าดงและมีภูเขาตามที่ชาวภูไทยถนัดทำกินในการปลูกข้าวไร่และทำสวนผลไม้ ต่อมาท้าวก่าและสมัครพรรคพวกได้เแย่งชิงอำนาจในการปกครองเมืองวังกับชนพื้นเมืองเดิมคือ “พวกข่า” โดยทำการเสี่ยงบุญวาสนาแข่งขันยิงลูกหน้าไม้ให้ติดหน้าผา ปรากฎผลว่าลูกหน้าไม้ของฝ่ายท้าวก่าซึ่งติดขี้สูดสามารถยิงติดหน้าผาได้ชัยชนจากการประลอง (ท้าวหนู น้องชายของท้าวก่าเป็นผู้แสดงฝีมือ) แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาที่เหนือกว่าของชนเผ่าผู้ไท ท้าวก่าได้รับการแต่งตั้งเป็น “พญาก่า” ปกครองเมืองวังขึ้นตรงต่อเวียงจันทน์ ทั้งนี้ต้องส่งพร้า มีดโต้และขวาน เป็นเครื่องบรรณาการต่อกรุงเวียงจันทน์ปีละ 500 เล่ม และต้องส่งขี้ผึ้งหนัก 25 ชั่ง เป็นบรรณาการแก่เจ้าเมืองญวนด้วย ลุถึง พ.ศ. 2335 - 2338 (ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) เมืองแถงและเมืองพวนได้เเข็งข้อ กองทัพเวียงจันทน์ได้เคลื่อนพลเข้าตีเมืองทั้งสองและได้กวาดต้อนผู้ไทดำและลาวพวน เป็นเชลยส่งมาที่กรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมีรับคำสั่งให้ผู้ไทดำไปอยู่ที่เมืองเพชรบุรี แต่พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์กล่าวว่า ญวนตังเกี๋ยยกกองทัพมาตีเวียงจันทน์เมื่อ พ.ศ. 2335 เกิดการรบที่เมืองพวน กองทัพญวนถูกทัพฝ่ายเวียงจันทน์ตีแตกไป กองทัพเวียงจันทน์จึงกวาดเอาครอบครัวชาย–หญิงใหญ่น้อยส่งมากรุงเทพฯ สี่พันคนเศษ หลักฐานชิ้นนี้ไม่ได้ระบุชื่อเมืองแถงและเมืองพวนที่ได้แข็งข้อกับเวียงจันทน์ แต่การที่เวียงจันทน์กวาดต้อนครอบครัวชาวเมืองพวนส่งมายังกรุงเทพฯ อาจเป็นไปได้ว่าเมืองพวนมีพฤติกรรมไม่น่าไว้วางใจ ทางการไทยจึงได้หาทางระงับเหตุโดยชิงกวาดต้อนพวกนี้ตัดหน้าฝ่ายญวนเสียก่อน

    การอพยพระลอกที่สาม : จากเมืองวังสู่ฝั่งขวาแม่น้ำโขง
    ครั้นปักหลักปักฐานที่เมืองวังได้แล้ว “พญาก่า” ได้บุตรกับนางลาว ๓ คน คือท้าวคำ (ซึ่งตายแต่เล็ก) ท้าวก่ำ และท้าวแก้ว ก็เกิดเรื่องระหองระเเหงในการแต่งตั้งตำแหน่ง พระอุปฮาต (พระอุปราช) กระทั่งพญาก่าสิ้นชีวิต น้องชายคนรองของพญาก่าคือ “ท้าวหนู” ซึ่งเป็นคนที่ยิงลูกหน้าไม้ชนะพวกข่า ได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าและได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พญาบุญชุน เจ้าหาญซี่งเป็นน้องชายคนถัดไปได้เป็นเป็น “พระอุปฮาต” ครั้นพญาบุญชุนถึงแก่กรรมแล้ว เจ้าหาญอุปฮาตก็ได้เป็นเจ้าเมืองและได้บรรดาศักดิ์เป็น “พญาลานคำ” เมื่อพญาลานคำถึงแก่กรรม เจ้าวังน้อยบุตรพญาลานคำ ขึ้นเป็นเจ้าเมืองและได้บรรดาศักดิ์เป็นพญาวังน้อย พญาวังน้อยมีบุตร ๓ คน คือเจ้าแก้ว เจ้าก่า หรือ กล้า และเจ้าเขืองคำ เมื่อพญาวังน้อยสิ้นไปแล้ว เจ้าก่าได้เป็นเจ้าเมืองและได้บรรดาศักดิ์เป็นพญาก่า พญาก่ามีภรรยา 2 คน คือนางสีดาเป็นชาวผู้ไทมีบุตรด้วยกัน 3 คน คือ เจ้าน้อย เจ้าลี และเจ้าลุน ส่วนภรรยาคนที่สองเป็นชาวข่าชื่อนางมุลซา มีบุตรด้วยกัน 1 คน ชื่อ เจ้าก่ำ เมื่อพญาก่าถึงแก่กรรม นางมูลซาเป็นผู้มีอิทธิพลต้องการให้เจ้าก่ำบุตรชายเป็นเจ้าเมืองแทน แต่ชาวผู้ไททั่วไปต้องการเจ้าลีเป็นเจ้าเมือง เพราะมีนิสัยอ่อนโยนโอบอ้อมอารี แตกต่างจากเจ้าก่ำที่มีนิสัยค่อนข้างดุร้าย ประชาชนส่วนใหญ่จึงไม่ชอบ

    ท่ามกลางความขัดแย้งของการแย่งชิงอำนาจปกครองเมืองวังกำลังครุกรุ่นอยู่นั้น (ราว พ.ศ. 2384 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) ประเทศลาวตกอยู่ในสถานะประเทศราชของไทย เมฆหมอกแห่งความยุ่งยากได้ทวีเพิ่มขึ้นอีกเนื่องจากเวียตนามพยายามแผ่อำนาจเข้ามาในลาว เพื่อช่วงชิงประเทศลาวไปจากฝ่ายไทย ชนเผ่าผู้ไทซึ่งถือว่าเป็นชนกลุ่มน้อยของลาวต้องตกอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบากในการเลือกข้าง ยิ่งทำเลที่ตั้งของพวกเขาอยู่ใกล้ชิดกับเขตแดนของเวียตนาม ยิ่งสร้างหวาดระแวงต่อฝ่ายไทยยิ่งขึ้นไปอีกว่าว่าฝ่ายผู้ไทนั้นจะเลือกข้างอย่างไร ในปีนั้นเองพระมหาสงครามแม่ทัพไทยพร้อมด้วยอุปราชแห่งเมืองเวียงจันทน์ ได้ยกกองทัพมากวาดต้อนผู้คนตามหัวเมืองขึ้นของเวียงจันทน์ ส่งผลให้ชาวผู้ไทในเมืองวังต้องผนึกกำลังกันสู้พลางหนีพลาง จนเข้าไปอาศัยในดินแดนญวน กองทัพไทยเข้าทำลายเมืองวังเสียย่อยยับ หลังจากนั้น “เจ้าราชวงศ์อิน” เชื้อสายเดิมของเมืองมหาชัยกองแก้ว ได้เกลี้ยกล่อมเจ้าลีพร้อมด้วยครอบครัวและไพร่พลชาวผู้ไท ให้อพยพข้ามโขงเข้ามาอาศัยอยู่ที่เมืองสกลนคร
    การอพยพระลอกใหญ่ที่สุด ของชนเผ่าผู้ไทมายังฝั่งขวาแม่น้ำโขง เป็นผลมาจากความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลเวียตนามอย่างรุนแรง เพราะญวนแทรกแซงกิจการภายในของประเทศลาวและเขมร ซึ่งฝ่ายไทยถือว่าเป็นประเทศราชของไทย จนนำไปสู่สงครามอันยาวนานระหว่างไทยกับญวน สงครามครั้งนั้นทั้งญวนและไทยต้องใช้สรรพกำลังและทรัพยากรไปมาก ฝ่ายไทยได้เกณฑ์ราษฎรจากภาคอีสานจำนวนมากไปเป็นทหารในการสงคราม ทั้งฝ่ายไทยและฝ่ายญวนต่างก็แย่งชิงความได้เปรียบโดยการส่งกองกำลังมากวาดต้อนผู้คนจากลาวฝั่งซ้าย ให้ไปตั้งถิ่นฐานในเขตที่ควบคุมได้ง่าย ภาพความเหี้ยมโหดในการปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์ของทัพไทยระหว่างปี 2369 - 2371 ยังคงฝังลึกอยู่ในจิตใจของชาวลาว ต่างพากันเกลียดชังฝ่ายทหารไทย ทำให้ฝ่ายทัพญวนได้เปรียบในระยะเเรก
    ครั้นต่อมาญวนได้แสดงให้เห็นถึงธาตุแท้ของตน ดังปรากฏในบันทึกเอกสารพื้นเวียง ซึ่งคนลาวบันทึกไว้ดังนี้ “พระเจ้ากรุงแกวจึงให้โดยยี่ไปรักษาเมืองชุมพรไว้ แกว (ญวน) เกณฑ์ผู้คนมา สร้างค่ายคูเมือง ปลูกตำหนักน้อยใหญ่ผู้คนทิ้งไร่นา เพราะถูกเกณฑ์ชาวเมืองพอง ชุมพร พะลาน สะโปน (เซโปน) อดอยากข้าวยากหมากแพง เพราะเมืองแตกผู้คนยังไม่ได้ทำนาต้องกินหัวมันแทนข้าว แกวยังข่มเหงให้ตัดไม้สร้างเมือง สร้างค่ายคู เมื่อสร้างเสร็จแล้วจัดเวรเฝ้าด่านเสียส่วยทั้งเงินทอง ควาย ช้าง ผึ้ง ผ้า เครื่องหวาย ทุกสิ่งใส่เรือส่งเมืองแกว จนชาวเมืองอดอยาก ร้างไร่ ร้างนา เขาก็ค่อยพากันหนีแกวมาพึ่งลาวทีละน้อยไม่คิดจะอยู่เป็นเมืองต่อไป พวกที่หนีไม่พ้นก็อยู่ที่นั้นบางพวกก็เป็นไข้ลงท้องตาย” จนเกิดกระแสตีกลับหันมาเลือกข้างฝ่ายไทย ผลสืบเนื่องจากการสงครามครั้งนี้ทำให้เกิดการอพยพชาวผู้ไทและชนเผ่าอื่นๆจากลาวฝั่งซ้ายครั้งใหญ่ที่สุดข้ามโขงมายังฝั่งขวา ทางการไทยกำหนดให้ชนเผ่าผู้ไทและเผ่าต่างๆที่อพยพมาในคราวนี้ พำนักพักพิงที่เมืองกาฬสินธิ์ สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร จนได้สร้างบ้านแปลงเมืองอยู่กันอย่างสันติสุขตราบจนกระทั่งทุกวันนี้

    ที่มา : ศูนย์ภูไทศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ .. : : phu-tai study center :
     
  15. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ความเชื่อ
    หนังสือนิทานขุนบรมราชาธิราชกล่าวไว้ว่า คนชาติภูไทนี้ เกิดจากน้ำเต้าใหญ่ ๒ หน่วย และมีนักปราชญ์หลายท่านให้ความเห็นไว้ว่า คำว่า ภูไท หรือ ผู้ไทย หรือ คนไต เป็นคำที่มีความหมายเดียวกับคำว่าเทียน แถน ไท้ ซึ่งหมายถึง ฟ้า หรือ ดวงดาว คนชนชาตินี้รักความอิสระ ชอบอาศัยอยู่ในที่สูง คือภูเขา มีความเจริญรุ่งเรืองมากกว่ากลุ่มชนชาติใดๆ มีความเชื่อในการนับถือลัทธิผีฟ้า และเคารพวิญญาณบรรพบุรุษ

    ความเชื่อเรื่องยารักษาโรค หมอรักษาโรคในอดีตนั้นยังมีความเชื่อในเรื่องของการรักษาหรือฮีต คลองอยู่ ถ้าผิดฮีตแล้วจะรักษาไม่หาย แต่หมอจะพูดว่าผิดครู ผิดคายคำว่า คาย หรือค่ายกครู ซึ่งจะขอแยกกล่าวกระบวนการดังนี้
    1. การไปหาหมอต้องมีดอกไม้เทียนคู่ คือ ดอกไม้ ๑ คู่ เทียน ๑ คู่ ไปหาอย่างกิจลักษณะจนถึงบ้าน ยกเว้นจำเป็นจริงๆ พบกันที่กลางบ้านก็พากันที่กลางบ้านเลยก็ได้ แต่ต้องมีดอกไม้เทียนคู่ดังกล่าว
    2. ฝ่ายผู้ป่วยต้องแต่งคาย จำนวนเงินใส่ในคายตามที่หมอบอก เงินใส่คายนี้จะเกิดที่ครูบอกไม่ได้ เช่น ๖ สลึง ๑๒ บาท เป็นต้น ส่วนค่าป่วยการของหมอนั้นแล้วแต่ฝ่ายผู้ป่วยจะให้ ค่าป่วยการผู้ไทยเรียกว่า ค้าเซิงติ๋น” (ค่าเชิงตีน ) และหมอรากไม้ทุกคนมักจะมีมนต์ในการรักษาด้วย
    3. รื้อคาย จะรื้ออยู่ ๓ กรณี คือ คนไข้หาย คนไข้ไม่หาย คนไข้ตายก็รื้อได้
    4. เครื่องยาบางอย่างมีข้อคะลำอยู่ตั้งแต่การไปหาการใช้ เช่น น้ำมันงา ห้ามหญิงแตะต้อง การคั้นน้ำมันงาต้องให้ผู้ชายหา เมื่อนำไปใช้ก็ต้องเก็บไว้ให้ดีไม่ให้ผู้หญิงไปถูกต้อง ไม่เช่นนั้นมันจะไม่ขลังในปัจจุบันนี้ ผู้ที่เป็นหมอรากไม้หายาก เนื่องจากการสาธารณสุขไปถึงชนบท ผู้ป่วยจะไปโรงพยา บาล จะมีก็เพียงผู้ที่รู้เกี่ยวกับสมุนไพรรากไม้บางอย่าง และหาต้มดื่มเป็นเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพเท่านั้น


    [​IMG]

    หมอเป่า หมอทรง หมอธรรม ในกลุ่มชาวผู้ไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ยังไม่ปรากฏมีผู้มีอาชีพแพทย์แผนโบราณโดยเฉพาะ มีเพียงผู้มีความรู้เรื่องสมุนไพร รากไม้ รากยา พอช่วยเยียวยาผู้เจ็บไข้ได้ป่วยแล้วได้ค่าตอบแทนเล็กๆ น้อยๆ พอเป็นสินน้ำใจ ถ้าทางฝ่ายคนไข้ไม่มีเงินก็รักษาฟรีเอาพี่เอาน้องไว้
    ในอดีตยังมีหมออีกประเภทหนึ่งที่รักษาคนไข้ด้วยการใช้คาถาเป่า ( เรียกว่า หมอเป่า ) คนป่วยเป็นไข้ ตกต้นไม้ ควายชน แข้งหักขาบวมช้ำ หมอก็ใช้คาถาเป่าได้ ชาวบ้านในอดีตมักจะไปหามหมอมาเป่า ในเรื่องเจ็บไข้ได้ป่วยในสมัยอดีตมักจะโยนให้ผี ที่ถูกใส่ความบ่อยที่สุด คือ ผีปอบ และผีป่า

    ผีปอบ คือ
    คนที่เรียนคาถาประเภทเดรัจฉานวิชา และคะลำถือปฏิบัติตามที่ครูบอกไม่ได้ เมื่อเป็นปอบแล้ว จะมีวิญญาณลึกลับอยู่ในตัวคนนั้น และเป็นวิญญาณร้ายที่ออกหากินคน ผู้ที่ถูกกินจะป่วยลงเมื่อหาหมอเป่าคนป่วยก็จะเพ้อออกมาว่าเป็นผู้นั้นมาเข้า การที่คนป่วยเพ้อออกมาผู้ไทยเรียกว่า เอาะป้ะ” (ออกปาก) หมอเป่าก็จะใช้คาถาเป่า คุมจนปอบยอมออกจากร่าง เมื่อปอบออกจากร่าง แล้วคนไข้ลุกขึ้นนั่งเดินได้ ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านั้นป่วยนอนซมอยู่ไปไหนมาไหนไม่ได้

    ผีป่า เป็นผีที่สิงสถิตอยู่ในป่า ต้นไม้ใหญ่ ถ้าคนไปทำผิด เช่น ไปตัดไม้ หรือไปกวนบ่อน้ำในแหล่งน้ำซับกลางป่า หรือของป่าบางอย่าง ผีป่าก็จะเข้าทับร่างทำให้เป็นไข้ได้ป่วย หรือบางทีเห็นหญิงสาวสวยผีป่ารัก ก็เข้ามาทับร่างได้เหมือนกัน อาการป่วยก็เหมือนผีปอบ แต่พอเป่าคนไข้เพ้อไปทางป่าว่าอยู่ที่นั่นต้นไม้นั่น หนองน้ำนี่พวกสูไปรื้อบ้านกู” ( ตัดต้นไม้ ) เป็นต้น หมอก็จะคุมจนออกเช่นกัน

    หมอทรง เป็นหมอที่ทำพิธีอัญเชิญวิญญาณต่างๆ ตามที่ผู้มาหาบอก เพื่อให้เข้าร่างหมอทรงแล้วจะได้บอกกล่าวเรื่องราวระหว่างวิญญาณกับผู้มาหาหมอ
    หมอธรรม เป็นหมอที่นั่งทรงทางในเพื่อดูดวงชะตา หรือสิ่งที่มากระทำต่อคนใดคนหนึ่งที่มาหาหมอ หรือไล่เลขไล่ยาม ผู้ไทยเรียกว่านั่งธรรมหมอธรรมจะเป็นสื่อระหว่างวิญญาณกับคน คล้ายหมอทรง แต่ไม่มีพิธีสลับซับซ้อนเท่าหมอทรง

    [​IMG]
    กรณีมีผู้เจ็บป่วยชาวภูไท ในอดีตจะมีความเชื่อว่าเป็นการกระทำของผีจึงมักจัดให้มีการรักษาคนป่วยด้วยการ เหย้า หมอเหย้าจะไปประกอบพิธีการเหย้าข้างๆ คนป่วยในการเหย้าจะมีหมอแคนเป็นผู้เป่าแคนประกอบกับการเหย้าซึ่งบางครั้งทำให้คนป่วยเป็นเพราะเป็นเหตุใด จะทำให้หายป่วยได้ด้วยวิธีใดส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับผี เช่น เหตุการณ์ป่วยเกิดจากผู้ป่วยหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย เช่น พ่อแม่ สามีภรรยา ไปทำล่วงละเมิดผีป่า ผีห้วย ผีหนอง ผีนา ผีบรรพบุรุษ ฯลฯ วิธีการแก้ไขคือ จะต้องไปแต่งแก้หรือทำการขอขมาโทษต่อผี หรือบางครั้งหมอเหย้าก็อาจบอกว่าเหตุของการป่วยไม่ได้เกิดจากการกระทำของผีแต่เกิดจากโรคภัยต้องไปรักษาที่โรงพยาบาลการป่วยจึงจะหายได้ ปัจจุบันความเชื่อถือกับการเหย้าได้ลดน้อยลงไปเกือบหมดแล้ว ยังคงมีการประกอบพิธีกรรมเหย้าอยู่บ้าง

    ในส่วนของความเชื่อตามหลักพุทธศาสนา ก็๋ให้ความสำคัญไม่แพ้กันกับความเชื่อในเรื่องของผี ประเพณีส่วนใหญ่ยึดตาม ฮีต 12 ครอง 14 ของชาวอิสานทั่วไปแต่งานที่สำคัญและยิ่งที่สุดคือ งานประเพณีทำบุญเผวส (บุญมหาชาติ) จะมีการจัดงาน สามวันสามคืน มีการจัดทำบั้งไฟเพื่อจุดบูชาพญาแถน จัดทำทุง (ธง) ยาวยี่สิบวา จัดทำบั้งไฟดอก จุดฉลองตอนกลางคืน (ส่วนใหญ่จะจุดในช่วงเวลา 24.00 น.ของวันจัดงานฉลอง) มีการจัดตูป (ปะลำ) สำหรับเป็นที่พักของชาวบ้านอื่นที่มาร่วมงาน มีการรำเลาะตูป เหย้าเอาฮูปเอาฮอย ฟ้อนเอาบุญ ตักบาตรสวรรค์ รำเสี่ยงทาย มีการจัดมหรสพครบครันตลอดคืน เช่น หมอลำ หนังตะลุง รำวง
    ขอขอบคุณข้อมูลดี ๆ จาก :http://nongsung.mukdahan.police.go.th/hit07.php
     
  16. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ถิ่นภูไทบ้านห้องแซง

    [​IMG]

    ความเป็นมา
    บ้านห้องแซงเป็นหมู่บ้านหนึ่งที่อยู่ในเขตอำเภอเลิงนกทา จังหวัดอุบลราชธานี เป็นถิ่นที่มีชาวภูไทได้อาศัยอยู่อย่างคับคั่ง มีขนบธรรมเนียมและภาษาพูดแตกต่างไปจากภาษาอื่นๆ ในสมัยหนึ่งเคยเป็นชนชาติกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง แต่ปัจจุบันนี้ได้แตกแยกกันไปทำมาหากิน ถิ่นภูไทอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ที่อยู่ในประเทศไทยส่วนมากอยู่ในจังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม เป็นพวกที่อพยพมาจากประเทศลาว ตั้งแต่ครั้งดินแดนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยยังเป็นอาณาเขตของประเทศลาว การอพยพลงมาครั้งนั้นมีอยู่ด้วยกันสองจำพวกคือ
    [​IMG]
    ๑. เป็นพวกที่อพยพลงมาก่อนเพื่อแสวงหาที่ทำมาหากิน
    ๒.เป็นพวกที่อพยพลงมาเพราะเกิดศึกสงครามในครั้งที่สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกเป็นแม่ทัพไปตีเมืองเวียงจันทร์ ครั้นเมื่อเวียงจันทร์แตกแล้วจึงได้ถอยล่นลงมา

    [​IMG]

    สำหรับชาวภูไทที่อยู่บ้านห้องแซงปัจจุบัน เป็นพวกแรกที่อพยพลงมาเพื่อแสวงหาที่ทำมาหากิน ผู้ที่ได้ให้ความรู้เรื่องนี้แก่ผู้เขียนก็คือ ตาศรี นามศร มีอายุได้ ๙๕ ปีเศษ เป็นผู้ที่อาวุโสที่สุดของหมู่บ้าน (อยู่ที่บ้านโนนแดง) และอดีตเคยเป็นผู้ใหญ่บ้านมาก่อน
    ในสมัยที่ยังหนุ่มนั้นตาศรี นามศร เคยไปมาหาสู่ญาติที่อยู่ฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง และสมัยนั้นยังไม่มีถนนหนทางสะดวกสบายเช่นทุกวันนี้ต้องเดินเท้าเป็นเวลา ๙-๑๐ วันเต็ม จุดมุ่งหมายก็คือเมืองเซโปน และเมืองพิณ ซึ่งมีญาติพี่น้องของชาวบ้านห้องแซงอยู่ที่นั่นเป็นจำนวนมาก ในสมัยคนรุ่นหนุ่มรุ่นสาวทุกวันนี้เป็นสิ่งที่น่าเสียดายเป็นอย่างมากที่ความสัมพันธ์อันดีตั้งแต่ปู่ ย่า ตา ยาย ได้สะลายไปหมดสิ้นแล้วเนื่องจากการติดต่อไปมาหาสู่ซึ่งกันและกัน จึงเป็นเสมือนหนึ่งไม่ใช่ญาติพี่น้อง

    [​IMG]

    นอกจากนี้ตาศรี นามศร ยังได้บรรยายถึงภูมิประเทศก่อนที่จะกลายมาเป็นท้องทุ่งที่กว้างใหญ่ และบ้านเรือนที่ให้ความอบอุ่นรวมกันอยู่อย่างทุกวันนี้ว่า เป็นภูมิประเทศที่กว้างใหญ่ที่ห่างไกลความเจริญมาก แทบจะหาคนผู้อยู่อาศัยในบริเวณนี้ไม่ได้เลย จะมีอยู่บ้างก็กลุ่มเล็กๆ ที่ห่างไกลกันมาก ที่ทำมาหากินอยู่กับธรรมชาติที่ห่างไกลความเจริญ มีแต่สิ่งธรรมชาติที่ไม่มีใครสร้างสรรค์ มองเห็นแต่หมอก ภูเขาสูงอันสลับซับซ้อนเรียงราวกันอยู่ทั่วไป และส่วนที่ต่ำลงไปจากหุบเขานั้นก็ถูกปกคลุมไปด้วยไม้พันธุ์นานาชนิด เต็มไปด้วยไม้น้อยใหญ่ที่เบียดเสียดกันขึ้น ทำให้เป็นป่าดงที่หนาทึบปกคลุมไปด้วยเถาวัลย์ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่ม ๆ ดอนๆ ต่ำบ้าง สูงบ้าง ในส่วนที่ราบก็เต็มไปด้วยไม้เล็กและไม้ใหญ่ปะปนกันไป แลดูทำให้เห็นเป็นป่าโปร่งบ้าง ป่าแถบนี้เป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์นานาชนิด อีกทั้งเป็นแหล่งชุมนุมของสัตว์ป่าซึ่งมีอยู่มากมาย แม้กระทั่งสัตว์ใหญ่ซึ่งปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว
    [​IMG]
    [​IMG]
    ด้วยเหตุที่มีสัตว์ป่าจำนวนมากมายนี้เองจึงมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า เป็นถิ่นที่รู้จักกันดีของบรรดาพรานป่าทั้งหลาย และบริเวณที่มีสัตว์ป่าชุกชุมนั้นมีอยู่ป่าหนึ่งที่พรานป่าเรียกกันว่า ป่าแซ และป่าแห่งนี้เป็นจุดหมายของพรานหมา พรานเขียว และพรานรัง ในหมู่พรานทั้งสามนี้ก็มีพรานหมาเป็นหัวหน้า เดินทางมาจากทิศเหนือ หรือที่เรียกกันในสมัยนั้นว่า ภูเขียว ภูเวียง พรานทั้งสามได้ข่าวเล่าลือกันว่ามีแรดใหญ่ตัวหนึ่งอาศัยอยู่ทางป่าแซง เป็นแรดที่มีลักษณะพิเศษคือ นอก่าน (เขาลายเป็นปล้อง) และไม่เคยมีพรานคนใดล่ามันได้เลย นอก่าน ของแรดตัวนี้ถือกันว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์อย่างหนึ่งของคนสมัยนั้น ถ้าหากใครได้มาไว้แล้วก็จะเป็นสิริมงคลแก่ตนด้วย
    [​IMG]
    เมื่อพรานทั้งสามได้เดินทางมาถึงป่าแซงแห่งนั้นแล้วก็ได้พบกับแรดตัวนั้นกำลังแทะเล็มกิน ดินโป่ง (เป็นภาษาพื้นบ้านเขาเรียกกัน) เป็นดินที่มีลักษณะสีแดงคล้ายดินเหนียวแต่มีรสชาติเค็ม วัว ควาย และแรดป่า ชอบกินกันอยู่ที่นั่น จึงได้ประจักษ์แก่ตาตนเองว่าเป็นแรดประหลาดเพราะมีรูปร่างใหญ่น่ากลัว สมกับคำเล่าลือของพรานอื่นๆ แต่พรานหมาเป็นผู้มีความชำนาญในการล่าสัตว์ และเก่งทั้งด้านคาถาอาคม เป็นพรานที่มีชื่อเสียงโด่งดังในบรรดาพรานป่าทั้งหลาย ก่อนจะยิงพรานหมาได้ทำพิธียกมือขึ้นเหนือหัว ตั้งคำอธิฐานว่าคาถาอาคม จึงได้ลงมือยิงแรดตัวนั้นได้สำเร็จ

    [​IMG]
    เมื่อพรานทั้งสามล่าแรดตัวนั้นได้สำเร็จตามความมุ่งหมายแล้ว ยังได้เดินทางไปยังฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง เพื่อไปเยี่ยมญาติพี่น้องที่อยู่ที่เมืองเซโปน เมื่อเดินทางไปถึงเมืองเซโปนแล้ว ก็ได้ไต่ถามถึงเรื่องราวสารทุกข์สุขดิบตามอัธยาศัยกับตาเพศรีโยธา และตาไซสุเล็น

    ตาเพศรีโยธา ก็ถามถึงแหล่งที่จะไปทำมาหากินที่เหมาะสม พอที่จะอพยพไปตั้งบ้านเรือนอยู่ได้ เนื่องจากอยู่ที่เซโปนการเป็นอยู่ลำบากยากแค้น การทำไร่นาก็ไม่ค่อยได้ผลเท่าที่ควร ในช่วงระยะนั้นชาวเซโปนซึ่งมี ตาเพศรีโยธา เป็นหัวหน้าก็คิดที่จะย้ายไปอยู่ที่บ้านน้ำปลีก และบ้านเชียงเพ็งอยู่แล้ว
    พรานทั้งสามจึงได้แนะนำและเล่าถึงลักษณะของภูมิประเทศแถบบริเวณป่าแซงให้ฟังจนเป็นที่พอใจ ต่อจากนั้นตาเพศรีโยธา และตาไซสุเล็น ก็ได้ไปยังบริเวณดังกล่าวนั้นเพื่อสำรวจดูที่ทางตามคำบอกเล่าของพรานทั้งสาม
    ก่อนที่ตาเพศรีโยธา และตาไซสุเล็นจะกลับไปยังเมืองเซโปนนั้น ยังได้เดินทางไปยังบ้านน้ำปลีก และบ้านเชียงเพ็ง (ซึ่งปัจจุบันนี้อยู่ในเขตอำนาจเจริญ) เพื่อไปบอกกล่าวชักชวนพี่น้องชาวเซโปน และชาวเมืองพิณ ที่ได้อพยพไปอยู่ที่นั่นก่อนแล้ว แต่ในครั้งนั้นก็ยังไม่มีใครคิดจะโยกย้าย เพราะผู้ที่มีที่ทำมาหากินอยู่แล้วก็มี
    [​IMG]
    อีกประการหนึ่งซึ่งที่ที่จะไปนั้นยังเป็นป่าดงดิบ อีกทั้งต้องเจอกับอันตรายในการเดินทาง และอุปสรรคอื่นๆ อีกมากมาย เส้นทางที่จะไปก็ยังไม่มีต้องอาศัยการสังเกตจากธรรมชาติ ผู้ที่เคยไปแล้วเท่านั้นจึงจะสามารถไปได้ถูก
    เมื่อตาเพศรีโยธา และตาไซสุเล็น จึงได้ตัดสินใจพาลูกบ้านอพยพไปอยู่ที่บ้านน้ำปลีกดังที่เคยได้ตั้งใจกันไว้แล้วตั้งแต่แรก อยู่ที่บ้านน้ำปลีกอีกไม่นานความคิดเก่าๆ ของตาเพศรีโยธาที่จะไปอยู่ทางที่พรานป่าแนะนำให้นั้นก็ยังไมหมดไป และโดยที่อยากอยู่กินเป็นอิสระในกลุ่มชนของตน จึงได้ชักชวนลูกบ้านที่สมัครใจที่จะไปหาที่แห่งใหม่กับตนอีกครั้ง
    เมื่อทุกคนตกลงกันเรียบร้อยแล้ว จึงได้อพยพจากบ้านน้ำปลีก ทุกคนตั้งความหวังที่จะได้ที่ทำมาหากินที่ดีเป็นของตนเอง ในการเดินทางครั้งนั้นเต็มไปด้วยความลำบาก ต้องผจญภัยกับชีวิตที่มีความหวังอันเลื่อนลอยอยู่ สิ่งที่ยากยิ่งไปกว่านั้นก็คือ ต้องเหน็ดเหนื่อยกับสำภาระต่างๆ ที่จำเป็นที่จะต้องติดตัวไป และนอกจากนั้นก็ยังมีลูกเล็กเด็กแดง และบรรดาสัตว์เลี้ยงทั้งหลายที่จะต้องควบคุมไปด้วย
    การเดินทางจึงเป็นไปอย่างเชื่องช้า เมื่อเวลาค่ำมืดก็ต้องคลุกคลีกับการกินการนอนอยู่ในป่า อีกทั้งต้องระวังอันตรายต่างๆ ที่จะมาถึงตัวในเวลาค่ำมืดอย่างนี้เรื่อยไป อาหารที่พวกเขาเหล่านั้นได้มีชีวิตอยู่รอดต่อไปก็คือ เผือก มัน และกลอย ที่ใช้กินแทนข้าวจนในที่สุดการเดินทางอันยาวนานของเขาเหล่านั้นก็ได้สิ้นสุดลง

    เมื่อมาถึงเนินแห่งหนึ่งและได้พำนักอยู่ที่นั้น จนกระทั้งความเหน็ดเหนื่อยในการเดินทางได้หายไป ต่อมาสิ่งที่มองเห็นบริเวณนั่นก็คือบ้าน และได้เรียกชื่อบ้านที่นั้นว่า บ้านสร้างศรีแก้ว (บ้านสร้างศรีแก้วนี้อยู่ทางทิศใต้ของบ้านห้องแซง) ปัจจุบันเป็นบ้านร้างไม่มีคนอยู่อาศัยยังคงเหลือแต่ร่องรอยในครั้งอดีตที่พอจะสังเกตได้เท่านั้น ห่างจากบ้านห้องแซงประมาณ ๑๐ กิโลเมตร และต่อจากนั้นก็ได้มาพำนักอยู่ที่อีกแห่งหนึ่งเรียกชื่อที่แห่งนั้นว่า บ้านน้ำอ้อม (ซึ่งอยู่ทางทิศเดียวกับบ้านสร้างศรีแก้ว ) ห่างจากบ้านห้องแซงประมาณ ๒ กิโลเมตร[​IMG]
    เหตุผลที่ว่าทำไม...ไม่มาตั้งบ้านเรือนที่ปาแซงเสียคราวเดียวนั้น ผู้เล่า..ไม่ได้กล่าวไว้ ซึ่งก็อาจจะเป็นเพราะการอพยพที่เลื่อนลอยยังหาหลักแหล่งที่แน่นอนไม่ได้นั่นเอง จากบ้านน้ำอ้อมนี้ก็ได้คิดโยกย้ายบ้านเรือนอีกครั้งหนึ่ง
    ทุก ๆ คนต่างก็มีความเห็นชอบว่า ที่ป่าแซงมีบริเวณกว้างขวางเป็นเนินที่ราบเรียบสะดวกในการที่จะมาตั้งบ้านเรือนอยู่ได้ง่าย และอุดมสมบูรณ์มีทั้งร่องน้ำที่ไหลผ่าน พื้นดินก็ชุ่มเย็น ถ้าหากไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่นั้นก็คงจะดีกว่าที่เดิม เนื่องจากบ้านน้ำอ้อมเป็นเนินเล็กๆ และแห้งแล้ง คงจะไม่สะดวกในการที่จะขยายบ้านเรือนอีกต่อไป จึงได้อพยพจากบ้านน้ำอ้อมมายังป่าแซง
    ในการอพยพครั้งนั้นมาตั้งที่พักอยู่ที่ใต้ร่มข่อย ( ต้นส้มผ่อใหญ่ ) เป็นแห่งแรกและได้อาศัยต้นข่อยนั้น จนกระทั่งได้สร้างเพิงเป็นที่อยู่ชั่วคราว ( ต้นข่อยต้นนี้อยู่ทางทิศตะวันออกของบ้านห้องแซง )
    จากนั้นทุกคนได้จับจองเลือกสรรจัดหาที่อยู่ของตนตามใจชอบ ในครั้งนั้นมีอยู่ด้วยกัน ๗-๘ ครัวเรือน แล้ว ตาเพศรีโยธา ผู้เป็นหัวหน้าอพยพได้ตั้งชื่อบ้านแห่งใหม่นี้ว่า บ้านห้องแซง เนื่องจากในบริเวณป่าแห่งนั้น มีธรรมชาติที่เต็มไปด้วยป่าแซง และร่องน้ำที่ไหลผ่านในระหว่างป่าแห่งนั้น
    หลังจากได้มีบ้านใหม่มีที่ทำมาหากินที่ดีแล้ว ตาเพศรีโยธา ก็ได้ไปชักชวนญาติพี่น้องที่อยู่บ้านน้ำปลีกอีกครั้งหนึ่ง ข่าวคราวอันนี้จึงได้แพร่ไปถึงเมืองเซโปน เมืองพิน และในหมู่ชนเดียวกันที่อยู่เมืองนคร เจ้าราชใบอิน ที่อยู่เมืองพินจึงได้เดินทางมาเยี่ยมถึงบ้านห้องแซง เพื่อที่จะมาดูที่ทางแห่งใหม่ เมื่อได้มาถึงแล้วก็เกิดมีความพอใจเป็นอย่างมาก ครั้นเมื่อเจ้าราชใบอินได้กลับไปยังเมืองพินแล้ว

    [​IMG]


    [​IMG]
    หลังจากนั้นก็มีผู้คนที่เมืองพิน และเมืองเซโปนจะติดตามมาอีกมากการอพยพของชาวเซโปนและเมืองพินมายังบ้านห้องแซง จึงได้เริ่มทยอยกันมาตามลำดับ จนกระทั่งได้มาตั้งบ้านเรือนอยู่กันเป็นจำนวนมาก บ้านเรือนก็ขยายออกเป็นลำดับไร่นาก็กว้างขวาง ออกไปเรื่อย ๆ
    ตาศรี นามศร ยังได้บอกถึงตำแหน่งที่ตั้งบ้านเรือนของแต่ละคนในสมัยนั้น คือ[​IMG]

    ๑.ที่อพยพมาจาคมาจากเมืองเซโปนและบ้านน้ำปลีกตั้งบ้านเรือนอยู่ทางทิศเหนือของบ้าน(คุ้มเหนือ) ได้แก่ ตาเพ พันทวัต

    ๒. พวกของเจ้าราชใบอินที่อพยพมาจากเมืองพินนั้นตั้งบ้านเรือนอยู่ระหว่างกลางของบ้าน ( คุ้มกลาง ) ต่อมาพ่อของเจ้าราชใบอิน คือ ตาพะละคร ชาภูธร ก็ได้ติดตามมาอยู่กับเจ้าราชใบอินผู้เป็นลูกชายอีกภายหลัง

    ๓. พวกของเจ้าพะละครที่อพยพมาจากพระนครตั้งบ้านเรือนอยู่ทางทิศใต้ของบ้าน ( คุ้มเต้อ )

    เมื่อได้มาอยู่กันเป็นปึกแผ่น จำเป็นจะต้องมีผู้นำเป็นผู้ปกครองดูแลลูกบ้านตามธรรมเนียม หรือที่เรียกกันว่าผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งมีชื่อตามลำดับก่อนหลังดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. ตาเพศรี โยธา ๖. กำนันไชยะกุมาร
    ๒. ตาพะละคร ๗. กำนันมี ลำพรทิพย์
    ๓. กำนันสุริยะ ๘. กำนันทอง แก้วทอง
    ๔. ขุนเจริญ เจริญตา ๙. กำนันเทียม ละคร
    ๕. กำนันขันติยะ ๑๐. กำนันปุน ห้องแซง
    ๑๑.กำนันปัญญา ห้องแซง ๑๑. กำนันนเรศ ภักดีลุน (ปัจจุบัน)

    ในระหว่างที่มีผู้คนเพิ่มมากขึ้นจนทำให้บ้านเรือนคับแคบ ก็ได้มีผู้คนย้ายออกไปตั้งบ้านเรือนใหม่อีก ซึ่งก็มีท้าวไชยวงศา จันสุริยวงศ์ ได้แยกครอบครัวออกไปตั้งบ้านใหม่ และเรียกบ้านใหม่นั้นว่า บ้านแข้ด่อน บ้านดงยาง และบ้านโนนแดง ตามลำดับ นับว่าเขาเหล่านั้นเป็นต้นตระกูล..ที่ได้ขยายอาณาเขตบริเวณบ้านให้กว้างขวาง เพื่ออนุชนรุ่นหลังจะได้มีที่อยู่อาศัย มีการสร้างชนกลุ่มเล็กๆ ให้แผ่ขยายออกไปในบริเวรใกล้เคียง
    ปัจจุบัน จะเห็นได้ว่าหมู่บ้านเล็กๆ เหล่านั้นได้เจริญเติบโตขึ้นตามลำดับ มีประชาชนอยู่กันอย่างหนาแน่น แม้ว่าแม้ว่าเขาเหล่านั้นได้แยกย้ายกันอยู่ตามหมู่บ้านต่าง ๆ ความเป็นญาติกันมาแต่ครั้งก่อน ก็มิได้เสื่อมถอยลงแต่อย่างใด กลับยิ่งเพิ่มพูนยิ่งขึ้น
    ....สายเลือดจากบรรพบุรุษยังทำให้เขาเหล่านั้นเป็นเสมือนหนึ่งใจเดียวกัน...ดังในอดีต เมื่อเขาเหล่านั้นเดินทางไปมาหาสู่กัน จะมีคำที่ใช้ทักทายกันว่า....จะไปไหน..แล้วมักจะได้ยินกับคำว่า....ไปบ้านใหญ่...อยู่เสมอ นั่นก็คือบ้านห้องแซง

    .......สายเลือด..ในความรักเผ่าพันธุ์ แต่ครั้งบรรพชนยังคงดำเนินไป...
    จากรุ่น..สู่รุ่นที่เรียกว่า ภูไทบ้านห้องแซง
    ยังคงเป็นภาพที่ประทับใจแก่ผู้ที่ได้พบเห็นเสมอ...
    รวบรวมและเรียบเรียง
    โดย ภ. ภูไท

    ปัจจุบัน บ้านห้องแซง ตำบลห้องแซง อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร........(ติงติง)
     
  17. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    คำว่า “ภูไท” ในภาษาภูไทและภาษาอีสาน หมายถึง กลุ่มชนผู้ที่อาศัยตามแนวภูเขา
    แต่ภาคกลางมักเขียนว่า “ผู้ไทย” ซึ่งหมายถึง กลุ่มชนเชื้อชาติไทย

    ถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวภูไทอยู่ในแคว้นสิบสองจุไทย หรือแคว้นสิบสองปันนา (ดินแดนส่วนเหนือของลาว และ เวียดนาม ซึ่งติดต่อกับดินแดนภาคใต้ของจีน) ในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (เจ้าองค์หล่อ) แห่งราชอาณาจักรเวียงจันทน์ ได้มีหัวหน้าชาวภูไทซึ่งมีนามว่า พระศรีวรราช ได้มีความดีความชอบในการช่วยปราบกบฏในนครเวียงจันทน์จนสงบราบคาบ กษัตริย์เวียงจันทน์ จึงได้ปูนบำเหน็จ โดยพระราชทานพระราชธิดาชื่อนางช่อฟ้า ให้เป็นภรรยา ในกาลต่อมาจึงได้แต่งตั้งให้บุตรซึ่ง เกิดจากพระศรีวรราช หัวหน้าชาวภูไท และเจ้านางช่อฟ้ารวม 4 คน แยกย้ายกันไปปกครองหัวเมืองชาวภูไท คือ เมืองสบแอก เมืองเชียงค้อ พร้อมกับอพยพชาวภูไทลงไปทางใต้ของราชอาณาจักรเวียงจันทน์ เป็นเมืองวัง เมืองตะโปน(เซโปน) อันเป็นถิ่นกำเนิดของชาวภูไท (เรียบเรียงจากลายพระหัตถ์ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระเจ้าประดิษฐาสารี ในหนังสือชื่อพระราชธรรมเนียมลาว ซึ่งพิมพ์เมื่อ พ.ศ.2479) พระองค์เป็นพระราชธิดาของรัชกาลที่ 4 และเจ้าจอมมารดาดวงคำ (เจ้าจอมมารดาดวงคำ เป็นราชนัดดาของเจ้าอนุวงษ์เวียงจันทน์)

    ต่อมาชาวภูไทได้แยกย้ายออกไปตั้งเป็นเมืองพิน เมืองนอง เมืองพ้อง เมืองพลาน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในแขวงสะหวันนะเขต ของประเทศลาว

    ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าอนุวงษ์เวียงจันทน์เป็นกบฏต่อกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ.2369 เมื่อกองทัพไทยยกขึ้นไปปราบปรามจนสงบราบคาบแล้วทางพระนคร มีนโยบายจะอพยพชาวภูไท ข่า กะโซ่ กะเลิง ไทดำ ไทพวนฯลฯ จากฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงให้มาตั้งบ้านตั้งเมืองอยู่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง(ภาค อีสาน) เพื่อมิให้เป็นกำลังแก่เวียงจันทน์ และญวนอีก

    ปัจจุบันชาวภูไทได้กระจัดกระจายอาศัยในจังหวัดต่างๆในภาคอีสานส่วนมากใน จังหวัดมุกดาหาร กาฬสินธุ์ สกลนคร และนครพนม และบางส่วนในจังหวัด ร้อยเอ็ด อุดรธานี ยโสธร อำนาจเจริญ หนองคาย และอุบลราชธานี

    การฟ้อนภูไท 3เผ่า เป็นการนำเอามรดกทางวัฒนธรรมของชาวภูไทที่อาศัยอยู่ในบริเวณเทือกเขาภูพาน ซึ่งได้ยกมา 3จังหวัดคือ กาฬสินธุ์ สกลนคร และนครพนม มาเปรียบเทียบในเชิงการจัดการแสดงทางด้านนาฏกรรม อันเนื่องมาจากชาวภูไททั้งสามกลุ่มนี้มีรูปแบบและ เอกลักษณ์ของตนเองที่แตกต่างกัน


    ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=22e8ecf166975828&pli=1
     
  18. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    <TABLE id=content_wrapper border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=top><TD id=content-start><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=top><TD id=maincontent><!-- END_HEADER --><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=icon width=24>[​IMG]</TD><TD class=cattitle>นิทานสอนหลาน (ฉบับภาษาภูไท)</TD><TD class=itemsubsub>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    นิทานเรื่อง (ผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้ม มีคุณยายเป็นคนเล่า หลานเป็นคนฟัง) ต่อไปจะเว้าพื้นผีลุ้มปุ๋มลุ้มปุ้ม ลูกหลานเอยมาฟังเด้อ อย่าไปดิ้นทางอื่น
    สองอ้ายน้องพ่อแม่ตายหมด ผู้ชายทั้งสอง กาไปเดินเซ่อแห้ว เซ่อแห้วกะผะเหลอบ่ถืกจั๊กเทื่อ ผู้น้องหละป้อยว่า ผีผะเหลอ กาบ่มิมาถืก แห้วหนะ มื้ออื่นลงมา กาถืกแห้วหนะ เท่ากองเพลงหนะ มาโล่งแท้ ผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้ม ผู้น้องหละว่า เป็นหยังเลอ เฮายังสิเอามื้อได๋ ผีลุ่มปุ้มเผิ่นหละว่า คุตีนคุมือกู ห้ามเอา เผิ่นว่าอยู่มิอยู่หล่า แหลวตัวนั้นหละมาฮ้องว่า กาแหลว ๆ กาเบ่ง กาบอด ขอโงงขอควาย ทับอูด ผีหล่มปู๋ลุ่มปุ้ม เย้! ขอนฟาดใส่หัวมันก่อนนาว่าแล้วขอนหละฟาดเส่อนก แล้วนกกาตกมะล่อมป่อมแป่ม ตายข่อล่ออยู่ แล้วเผิ่นกาว่า ฮ้องแม่หะนี้ ขอนฟาดแม่ตายแล้วหนะ นกกาฮ้องเป็น ฮ้องว่า กาแหลว ๆ กาเบ่งกาบอด ขอโงงขอควายทับหัว ผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้ม เอ้า! ยังฮ้องเป็นอยู่ ตายแล้วกะเอาไปหลกขน หลกขนแล้วกาซอย เผิ่นกาว่า ฮ้องแม่หะนี้ กาฮ้องเป็นอีกคือเก่าว่า กาแหลว ๆ กาวิงกาวอดขอโงง ขอควายทับหัวผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้มใส่หัวมันก่อนนาใส่แล้วกาปิ้งคากองไฟอยู่นั่นหละ หลานว่า ปิ้งกาฮ้องเป็น ยายว่า จ๊ะฮ้องแม่หานี้กาแหลว ๆ กาวิงกาวอดขอโงง ขอควายทับหัวผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้ม ฮ้องคือเก่าอีกนั่นแหละ ฮ้องแล้วแผ่นหละปลิ้น กินกะฮ้องอยู่ในท้องว่า กาแหลว ๆ กาวิงกาวอดขอโงง ขอควายทับหัวผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้มเอ้า! กินแล้วกายังฮ้องอยู่ในท้อง เฮ็ดแนวได๋หละทีนี้ ขี้ออกทีนี้ บอกให้ขี้ฮ้องทีนี้ ขี้กาฮ้องว่า กาแหลว ๆ กาวิงกาวอดขอโงง ขอควายทับหัวผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้ม หลานว่า กาเอาขอนฟาดขี้ ยายหัวเราะ แล้วบอกว่า จ๊ะ ขี้กาฮ้องเป็นกาเลยไปจับหำเผิ่น (หลานหัวเราะ) จับหำเผิ่นกาว่า ฮ้องแม่หานี้ แต่เผิ่นบ่ฮู้เมื่อว่าขี้จับหำเผิ่น ฮ้องอยู่ในหำ ดิ้นยุบว่า
    กาแหลว ๆ กาวิงกาวอดขอโงง ขอควายทับหัวผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้ม ค้อนฟาดใส่หำ แปะ!!! ตายข่อล่อลง (ยายกับหลานหัวเราะ) บัดนี้กา อีพ่ออีแม่เอ้ย ย้อนพาลิงพาลาย มาเหอะข้าน้อยแน่เด้อ อีพ่ออีแม่กาย้อนพาลิงพาลายลงมาเด้อ ทับหัวผีลุ่มปู้ลุ่มปุ้ม
    สองอ้ายน้องนั้นกาหยุด พาลิงพาลายพ่อแม่เผิ่นกาดึงขึ้นสวรรค์ ขึ้นเมืองฟ้า ผีลุ่มปู๋ลุ่มปุ้มกาโงงหัวมาได้กะดอกกั๊บ ส้นตีนสองอ้ายน้องตายซ้ำลงขี้ดิน จบซ้ำ เมื่อก่อนขี้ซ้นคนยาวเท่อได๋ เดี่ยวนี้ขี้ซ้นคนกาสั้น แตะกะดุดสุดซ้ำ





    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ภูไท

    ประวัติความเป็นมา


    ในพงศาวดารเมืองแถง(แถน) กล่าวถึง การกำเนิดมนุษย์และถิ่นกำเนิดของชาวภูไทว่า เกิดจากเทพสามีภรรยา 5 คู่ ซึ่งเป็นพี่น้องกัน เมื่อหมดอายุบนสวรรค์จึงอธิษฐานจิตเนรมิตน้ำเต้าขึ้นมา เทพทั้ง 5 คู่ ก็เข้าไปอยู่ในน้ำเต้า น้ำเต้าลอยจากสวรรค์มาตกบนภูเขาที่ทุ่งนาเตา ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองแถงไปทางตะวันออกเป็นระยะทางเดิน 1 วัน น้ำเต้าได้แตกออก เทพได้กลายเป็นมนุษย์ 5 คู่ ออกมาจากน้ำเต้าทีละคู่ตามลำดับ คือ ข่า แจะ ภูไท ลาวพุงขาว ฮ่อ(จีน) และแกว(ญวน) ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของมนุษย์ 5 เผ่าพันธุ์ในเวลาต่อมาคนเหล่านี้ได้แยกย้ายกันตั้งรกรากในพื้นที่ต่าง ๆสำหรับชาวภูไทตั้งบ้านเรือนที่เมืองแถง มีขุนลอคำเป็นหัวหน้า ประชากรของภูไทได้เพิ่มจำนวนถึง 33,000 คนในเวลาต่อมา และขยายตัวไปตั้งรกรากหลายเมือง ขุนบรมราชบุตรของขุนลอคำ ได้เป็นเจ้าเมืองแถงใน พ.ศ. 1274 ขุนลอบุตรของขุนบรมราชาได้มาตั้งเมืองหลวงพระบางใน พ.ศ. 1283จาก

    พงศาวดารเมืองไล กล่าวว่า ชาวภูไท ในดินแดนนี้ 2 พวกคือ

    1. ภูไทขาว อาศัยอยู่เมืองเจียน เมืองมุน เมืองบาง มีเมืองไลเป็นเมืองใหญ่ รวม 4 เมือง ดินแดนแถบนี้อยู่ใกล้ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน อากาศหนาว ชาวภูไทจึงมีผิวขาว อีกทั้งได้รับอารยธรรมจากจีน โดยเฉพาะการแต่งกายในพิธีศพ ซึ่งนิยมนุ่งขาว ห่มขาว จึงเรียกชาวภูไทกลุ่มนี้ว่า ?ภูไทขาว?
    2. ภูไทดำ อาศัยอยู่เมือง ควาย,เมืองคุง เมืองม่วย, เมืองลา เมืองโมะเมืองหวัด เมืองซาง มีเมืองแถง(แถน) เป็นเมืองใหญ่ รวมเป็น 8 เมือง ชาวภูไทกลุ่มนี้มีผิวคล้ำกว่าภูไทตอนบน และนิยมแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมืองย้อมครามเข้ม และอาศัยอยู่บริเวณแม่น้ำดำ ซึ่งเป็นแหล่งเกษตรกรรม จึงเรียกว่า ?ภูไทดำ?ชาวภูไททั้ง 2 กลุ่ม รวมกันแล้วเป็น 12 เมือง จึงเรียกว่า แคว้น ?สิบสองจุไทย?เมืองไล เมืองของชาวภูไทขาว ตั้งอยู่ในดินแดนคาบเกี่ยว หรือตะเข็บของลาว จีน และญวน เพื่อความอยู่รอด เมืองนี้จึงจำเป็นต้องอ่อนน้อมแก่ทั้ง 3 ฝ่าย ต้องส่งส่วยแก่ทุกฝ่ายเดิมแคว้นสิบสองจุไทย ขึ้นกับอาณาจักรน่านเจ้า ครั้นต่อมาไปขึ้นอยู่กับอาณาจักรโยนกเชียงแสน เมื่ออาณาจักรโยนกเชียงแสน ถูกพวกภูไทมาทำลายลง สิบสองจุไทยได้ไปขึ้นกับแคว้นหิรัญเงินยวง (ต่อมาแคว้นนี้เป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรลานนา)ใน พ.ศ.2250 อาณาจักรล้านช้างได้แตกเป็น 2 อาณาจักร คือทางเหนือ เรียกว่า อาณาจักรล้านช้างร่มขาวหลวงพระบาง ทางใต้ เรียกว่า อาณาจักรล้านช้างร่มขาวเวียงจันทน์ สิบสองจุไทยอยู่ภายใต้การดูแลของอาณาจักรแรกต่อมาบังเกิดการอัตคัดอดอยาก และความขัดแย้งระหว่างท้าวก่า หัวหน้าของชาวภูไท กับเจ้าเมืองนาน้อยอ้อยหนู (น้ำน้อยอ้อยหนู) ท้าวก่าจึงพา ชาวภูไทเป็นจำนวนมาก (ประมาณหมื่นคน) อพยพจากเมืองนาน้อยอ้อยหนูมาขอขึ้นกับเวียงจันทน์ โดยทางเวียงจันทน์ให้ไปตั้งถิ่นฐานที่เมืองวัง (อยู่ทางตะวันออกของเมืองมุกดาหาร ห่างประมาณ 150 กิโลเมตร) ชาวภูไทกลุ่มนี้ ได้ส่งส่วยมีดโต้และขวานให้เวียงจันทน์ ปีละ 500 เล่ม แต่เนื่องจากเมืองวังอยู่ชายแดนอาณาจักรล้านช้างร่มขาวเวียงจันทน์ แต่ใกล้พรมแดนเวียดนาม พวกเขาจึงได้ส่งส่วยขี้ผึ้ง 5 ปึก (ปึกหนึ่งหนัก 5 ชั่ง) ให้แก่ เจ้าเมืองคำรั้วของเวียดนามด้วย


    การอพยพของชาวภูไทเข้าสู่ประเทศไทย มี 3 ระลอกด้วยกันคือ

    ระลอกที่ 1 สมัยธนบุรี ระหว่าง พ.ศ. 2321-2322 เมื่อกองทัพไทยซึ่งมีเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (รัชกาลที่ 1) กับเจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ได้นำกองทัพไทยสองหมื่นคนตีหัวเมืองลาว ตั้งแต่จำปาศักดิ์ถึงเวียงจันทน์เอาไว้ได้ หลวงพระบางซึ่งไม่ถูกกับเวียงจันทน์มาก่อนก็นำกำลังมาช่วยตีเวียงจันทน์ด้วย แม่ทัพไทยได้ให้กองทัพหลวงพระบางไปตีเมืองทันต์ (ญวนเรียก ซือหวี)เมืองมวย ซึ่งเป็นเมืองของชาวภูไทดำได้ทั้งสองเมือง แล้วกวาดต้อนชาวภูไทดำ(ลาวทรงดำ) เป็นจำนวนมากมาตั้งถิ่นฐานที่เมืองเพชรบุรี นับเป็นชาวภูไทรุ่นแรกที่มาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย
    ระลอกที่ 2 สมัยรัชกาลที่ 1 ใน พ.ศ. 2335 กองทัพเวียงจันทน์ตีหลวงพระบางแตกและจับกษัตริย์หลวงพระบางส่งกรุงเทพ ฯ ใน พ.ศ.2335-2338 กองทัพเวียงจันทน์ได้ตีเมืองแถง และเมืองพวน ซึ่งแข็งข้อต่อเวียงจันทน์ กวาดต้อนชาวภูไทดำ ลาวพวนเป็นเชลยส่งมากรุงเทพ ฯ รัชกาลที่ 1 ทรงมีรับสั่งให้ชาวภูไทดำประมาณ 4,000 คนไปตั้งถิ่นฐานที่เพชรบุรีเช่นเดียวกับชาวภูไทดำรุ่นแรก
    ระลอกที่ 3 สมัยรัชกาลที่ 3 เป็นการอพยพประชากรครั้งใหญ่ที่สุดจากฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเข้ามาอยู่ในประเทศไทย สาเหตุของการอพยพ คือ เกิดกบฎเจ้าอนุวงศ์ใน พ.ศ. 2369 - 2371 และเกิดสงครามระหว่างไทยกับเวียดนามในระหว่างปี พ.ศ.2376-2490 ยุทธวิธีของสงครามสมัยนั้น คือ การตัดกำลังฝ่ายตรงข้ามทั้งฝ่ายไทยและเวียดนามต่างกวาดต้อนประชากรในดินแดนลาวมาไว้ในดินแดนของตนสำหรับประชากรในดินแดนลาวที่ถูกไทยกวาดต้อนมาอยู่ในประเทศไทยจะมีทั้ง ภูไท กะเลิง โซ่ ญ้อ แสก โย้ย ข่า ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกกวาดต้อนมาไว้ในภาคอีสาน ส่วนลาวพวน ลาวเวียง กวาดต้อนให้มาตั้งถิ่นฐานทั้งในภาคอีสานและภาคกลางของประเทศไทย แถบฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ราชบุรี นครปฐม เป็นต้นชาวภูไทที่ถูกกวาดต้อนมาในระลอกที่ 3 จะแยกเป็น 8 กลุ่มด้วยกัน สำหรับชาวภูไทในเขตจังหวัดสกลนคร เป็นพวกที่อพยพเข้ามาในกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 8 ดังนี้
    กลุ่มที่ 3 อพยพมาจากเมืองวัง มาตั้งถิ่นฐานที่เมืองพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร (ใน พ.ศ.2513 อำเภอพรรณานิคม มี 7 ตำบล มีชาวภูไททั้ง 7 ตำบล รวม 65หมู่บ้าน 32,037 คน อำเภอเมืองสกลนคร มีภูไท 48 หมู่บ้าน ใน 13 ตำบล จาก 17 ตำบล อำเภอพังโคน มีภูไท 4 ตำบล 23 หมู่บ้าน อำเภอบ้านม่วง มีภูไท 3 ตำบล 16 หมู่บ้าน อำเภอวานรนิวาส มีภูไท 4 ตำบล 8 หมู่บ้าน อำเภอกุสุมาลย์ 2 ตำบล 4 หมู่บ้านอำเภอสว่างแดนดิน 2 ตำบล 3 หมู่บ้าน อำเภอกุดบาก 1 ตำบล 3 หมู่บ้าน อำเภอวาริชภูมิ 4 ตำบล 42 หมู่บ้าน รวมทั้งจังหวัดสกลนครมีภูไท 212 หมู่บ้าน 20,945 หลังคาเรือน 128,659 คน)
    กลุ่มที่ 8 อพยพจากเมืองกะป๋อง มาตั้งถิ่นฐานที่บ้านปลาเป้า บ้านนียกเป็นเมืองวาริชภูมิ และตั้งท้าวพระยาสุวรรณเป็นพระสุรินทรบริรักษ์ เป็นเจ้าเมืองคนแรก ใน พ.ศ. 2410 ปลายสมัยรัชกาลที่ 4 (ใน พ.ศ.2513 มีภูไทในอำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร 4 ตำบล ตำบลวาริชภูมิ 1 หมู่บ้าน ตำบลคำบ่อ 12 หมู่บ้าน ตำบลปลาโหล 9 หมู่บ้าน และตำบลเมืองลาด 7 หมู่บ้าน รวม 42 หมู่บ้าน)ชาวภูไทที่ถูกกวาดต้อน-อพยพมาตั้งภูมิลำเนา ในจังหวัดสกลนคร อย่างเป็นปึกแผ่น ได้รับความร่มเย็นเป็นสุข หัวหน้าแต่ละพวกที่แยกย้ายกันอยู่ ได้ติดต่อปรึกษากับเจ้าเมืองที่ตนอาศัยอยู่เพื่อขอตั้งเมือง เช่น เจ้าเมืองโฮงกลางสี ที่อยู่บ้านพังพร้าว ท้าวแก้ว อยู่ที่บ้านจำปา และท้าวราชนิกุล อยู่บ้านหนองหอย ก็ติดต่อกับเจ้าเมืองสกลนคร เพื่อตั้งหมู่บ้านที่ตนตั้งภูมิลำเนาอยู่เป็นเมือง คือ บ้านพังพร้าว ขอตั้งเป็นเมืองพรรณานิคมบ้านจำปา ขอตั้งเป็นเมืองจำปาชนบท และบ้านหนองหอย ขอตั้งเป็นเมืองวาริชภูมิ

    เป็นต้นสำหรับชาวภูไททั้ง 8 กลุ่ม ได้ขยายจำนวนออกไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ต่าง ๆ ของภาคอีสานอย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา รวมเป็น 9 จังหวัด 33 อำเภอ 494 หมู่บ้าน สรุปได้ดังนี้


    1.จังหวัดสกลนคร 212 หมู่บ้าน 9 อำเภอ(พรรณานิคม เมืองสกลนครวาริชภูมิ พังโคน บ้านม่วง วานรนิวาส กุสุมาลย์ สว่างแดนดิน กุดบาก)
    2. จังหวัดนครพนม 131 หมู่บ้าน 5 อำเภอ (นาแก เรณูนคร ธาตุพนม ศรีสงคราม เมืองนครพนม)
    3. จังหวัดมุกดาหาร 68 หมู่บ้าน 5 อำเภอ (คำชะอีก เมืองมุกดาหาร นิคมคำสร้อย ดอนตาล หนองสูง)
    4. จังหวัดกาฬสินธุ์ 63 หมู่บ้าน 5 อำเภอ (เขาวง กุฉินารายณ์ คำม่วง สมเด็จ สหัสขันธ์)
    5. จังหวัดหนองคาย 6 หมู่บ้าน 3 อำเภอ(โซ่พิสัย บึงกาฬ พรเจริญ)
    6. จังหวัดอำนาจเจริญ 5 หมู่บ้าน 2 อำเภอ (เสนางคนิคม ขานุมาน)
    7. จังหวัดอุดรธานี 5 หมู่บ้าน 2 อำเภอ (วังสามหมอ ศรีธาตุ)
    8. จังหวัดยโสธร 3 หมู่บ้าน 1 อำเภอ (เลิงนกทา)
    9. จังหวัดร้อยเอ็ด 1 หมู่บ้าน (โพนทอง)

    วัฒนธรรมการแต่งกาย

    โดยลักษณะทางสังคม ชาวภูไท(ผู้ไทย) เป็นกลุ่มที่มีความขยัน และอดออมเป็นพิเศษ และมีวัฒนธรรมในเรื่องการถักทอเสื้อผ้าเด่นชัด จึงปรากฎเสื้อผ้าชนิดต่างๆ ทั้งฝ้าฝ้าย ผ้าไหมในกลุ่มชาวภูไท(ผู้ไทย) โดยเฉพาะผ้าแพรวานับว่ามีวัฒนธรรมเรื่องเสื้อผ้าเด่นชัดมาก

    ผ้าซิ่น วัฒนธรรมของกลุ่มภูไทที่เด่นชัด คือ การทอผ้าซิ่นหมี่ตีนต่อเป็นผืนเดียวกับผ้าผืน เช่น ตีนต่อขนาดเล็ก กว้าง 4 ถึง 5 นิ้ว (มือ) ที่เรียกว่า ตีนเต๊าะ เป็นที่นิยมในหมู่ภูไท ทอเป็นหมี่สาด มีหม้อย้อมคราม จนเป็นสีครามเกือบเป็นสีดำ แต่ชาวบ้านเรียกว่า?ผ้าดำ? หรือซิ่นดำ ลักษณะเด่นของซิ่นหมี่ชาวภูไท คือการทอและลวดลาย เช่น ทอเป็นลายขนาดเล็กๆ นอกจากนี้มีลายอื่น ๆ เช่น หมี่ปลา หมี่ตุ้ม หมี่กระจัง หมี่ข้อ ทำเป็นหมี่คั่น มิได้ทอเป็นหมี่ทั้งผืน แต่หากมีลายต่าง ๆ มาคั่นไว้ สีที่นิยมคือ สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีม่วง พื้นมักใช้เครือหูกฝ้ายสีเปลือกอ้อย นอกจากนี้ยังพบผ้ามัดหมี่ฝ้ายขาวสลับดำในกลุ่มผู้ไทย
    เสื้อ นิยมทำเป็นเสื้อแขนกระบอกสามส่วนติดกระดุมธรรมดา กระดุมเงิน หรือเหรียญสตางค์ เช่น เหรียญสตางค์ห้า สตางค์สิบ มาติดเรียงเป็นแถว นิยมใช้เป็นผ้าย้อม ครามเข้มใน ราว พ.ศ. 2480 โดยมีผู้นำผ้าขลิบแดงติดชายเสื้อ เช่น ที่คอสาบเสื้อปลายแขนเพื่อใช้ในการฟ้อนภูไทสกลนคร และใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน

    ผ้าห่ม การทอผ้าผืนเล็ก ๆ เป็นวัฒนธรรมของชาวกลุ่มพื้นอีสานมานานแล้วผ้าห่มใช้สำหรับห่มแทนเสื้อกันหนาว ใช้คลุมไหล่ เช่นเดียวกับไทยลาวที่นิยมใช้ผ้าขาวม้าพาดไหล่ ผ้าห่มของกลุ่มชนต่าง ๆ ในเวลาต่อมามีขนาดเล็ก ทำเป็นผ้าสไบเป็นส่วนแทนประโยชน์ใช้สอย เดิมคือห่มกันหนาว หรือปกปิดร่างกายส่วนบน โดยการห่มทับเสื้อ ผ้าห่มของภูไทที่เรียกว่า ผ้าจ่อง เป็นผ้าทอด้ายยืน มีเครื่องลาย เครื่องพื้นหลายแบบนอกจากนี้ยังมีผ้าแพรวานอกจากผ้าจ่องแล้ว ชาวภูไทยังมีผ้าลาย ซึ่งใช้เป็นผ้ากั้นห้อง หรือใช้ห่มแทนเสื้อกันหนาวหรือต่อกลาง 2 ผืน เป็นผ้าห่มขนาดใหญ่พอสมควร แต่ผ้าลายที่มีชื่อคือผ้าลายบ้านนางอย อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร การแต่งกายของชาวภูไท ยังนิยมสายสร้อยคอ สร้อยข้อมือ ข้อเท้า (ก้องแขน ก้องขา) ทำด้วยโลหะเงิน เกล้าผมเป็นมวยสูงตั้งตรงในสมัยโบราณใช้ผ้ามนหรือแพรมน ทำเป็นผ้าสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ม้วนผูกมวยผมอวดลายผ้าด้านหลังใน ปัจจุบันใช้ผ้าแถบเล็ก ๆ สีแดงผูกแทนแพรมน
     
  20. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ชาวภูไท ที่สกลนคร
    <TABLE border=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffcc00>ข้อมูลท่องเที่ยว จังหวัดสกลนคร
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffff99> ข้อมูลท่องเที่ยว อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffecd9 vAlign=top><TABLE border=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top>อำเภอเมือง


    พระธาตุเชิงชุม ตั้งอยู่ในวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ปลายถนนเจริญเมือง ในเขตเทศบาลเมืองสกลนคร เป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูน ฐานรูปสี่เหลี่ยม สูงประมาณ 24 เมตร ยอดฉัตรทองคำเหนือองค์พระธาตุเชิงชุมทำด้วยทองคำบริสุทธิ์มีน้ำหนัก 247 บาท มีซุ้มประตู 4 ด้าน ข้างในทึบ สร้างครอบรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้าสี่พระองค์ ซึ่งหมายถึง พระกกุสันธะ พระโกนาคม พระกัสสะปะ และพระโคตมะหรือพระศรีอารียเมตตรัย (คือ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ชาวพุทธศาสนิกชนเคารพสักการะบูชาอยู่ทุกวันนี้) สร้างขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานชัด แต่นับเป็นปูชนียสถานสำคัญคู่บ้านคู่เมืองสกลนครมาแต่โบราณ ภายในวิหารใกล้พระธาตุเชิงชุม เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อองค์แสนอันศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพนับถือ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดสกลนคร ทุกวันพระในตอนค่ำจะมีประชาชนไปบูชากราบไหว้พระธาตุ และหลวงพ่อองค์แสนเป็นจำนวนมาก งานประจำปีของพระธาตุเชิงชุมจะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 9 ค่ำ ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนยี่ของทุกปี (กำหนดตามจันทรคติ)

    หนองหาน เป็นทะเลสาบน้ำจืด ที่มีชื่อเสียง และกว้างใหญ่มากแห่งหนึ่งของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 123 ตารางกิโลเมตร เป็นแหล่งรับน้ำตกของลำห้วยต่าง ๆ หลายสาย และยังเป็นต้นน้ำของลำน้ำก่ำซึ่งไหลลงสู่แม่น้ำโขงที่อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม อำนวยประโยชน์ในด้านการเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การประมง ซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวบ้านในชุมชนรอบหนองหาน ระดับน้ำในหนองหานลึกประมาณ 3-8 เมตร ในบริเวณหนองหานมีเกาะต่าง ๆ กว่า 20 เกาะ เช่น เกาะดอนสวรรค์ ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุด บนเกาะมีวัดร้าง และพระพุทธรูปเก่าแก่ นอกจากนั้นตามเกาะต่าง ๆ เหล่านี้จะมีต้นไม้ใหญ่ขึ้นอยู่มากมาย เป็นที่อยู่อาศัยของนกนานาชนิด บางเกาะได้สร้างศาลาพักร้อน เช่น เกาะแก้ว เกาะดอนสะคาม และเกาะดอนสะทุง ฯลฯ ซึ่งในเวลากลางวันสาหร่ายที่อยู่ใต้พื้นน้ำ เมื่อแดดส่องลงในน้ำจะเห็นสาหร่ายเป็นสีทอง

    สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ตั้งอยู่ติดกับหนองหาน บริเวณตำบลธาตุเชิงชุม ในตัวเมืองเป็นสวนสาธารณะที่สวยงาม มีเนื้อที่ประมาณ 120 ไร่ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้เสด็จเป็นองค์ประธานพิธีเปิด เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2530 มีลักษณะเป็นสวนล้อมสระน้ำขนาดใหญ่ ชื่อสระพังทอง เป็นสระโบราณ เชื่อกันว่าสร้างมาพร้อมกับการสร้างพระธาตุเชิงชุม ภายในบริเวณสวนประกอบด้วยสวนไม้ดอกไม้ประดับ สวนป่า สวนน้ำ สวนหิน สวนออกกำลังกาย และน้ำพุที่สูงราว 69 เมตร ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาหาความรู้ ด้านพฤกษศาสตร์ได้อีกด้วย สวนแห่งนี้เปิดตั้งแต่เวลา 04.00-21.00 น. นอกจากนั้นยังมี สวนเทิดพระเกียรติ 60 พรรษา มหาราชินี สร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษา เมื่อ พ.ศ. 2536 เป็นสวนขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนพื้นที่ ประมาณ 80 ไร่ อยู่ที่บ้านหนองบัวใหญ่ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 22 เส้นทางสายสกลนคร-บ้านธาตุ แล้วเลี้ยวขวาเข้าไปอีกประมาณ 200 เมตร จะถึงบริเวณสวนซึ่งครอบคลุมพื้นที่ดอนขาม ดอนลังกาภายในบริเวณประกอบด้วยสวน พฤกษชาติ ศาลาพักร้อน น้ำพุ จุดชมวิว ที่อาศัยของนกนานาชนิด และยังเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวสกลนคน

    สถานแสดงพันธุ์ปลาน้ำจืด ตั้งอยู่ในสถานีประมงน้ำจืด ถนนใสสว่าง ภายในจัดแสดง และให้ความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ปลาชนิดต่าง ๆ ที่ค้นพบในภาคอีสาน เช่น ปลาเผือก ปลาหอม ปลาเสือตอ ปลาออสก้าร์ลาย ปลาจันทร์เทศ เป็นต้น ผู้ที่สนใจสามารถเข้าชมได้ทุกวันจันทร์-ศุกร์ ในเวลาราชการ

    ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสกลนคร อยู่ภายในสถาบันราชภัฏสกลนคร ถนนนิตโย ตำบลธาตุนาแวง เป็นที่แสดงสิ่งของ เครื่องใช้ของชนเผ่าต่าง ๆ พร้อมภาพประวัติ และเอกสารแสดงความเป็นมาทางศิลปวัฒนธรรม ติดต่อให้เข้าชม โทร. (042) 711274 เปิดบริการตั้งแต่เวลา 08.30-16.30 น.

    พระธาตุดุม อยู่ที่วัดพระธาตุดุม บ้านธาตุดุม ตำบลงิ้วดอน ถนนสาย รพช. ทางไปโรงเรียนพัฒนาศึกษา ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 3 กิโลเมตร มีปรางค์องค์เดียวสร้างด้วยศิลาแลงสมัยเดียวกับพระธาตุนารายณ์เจงเวง แต่องค์ปราสาทเล็กกว่ามีเพียงยอดเดียวไม่มีฐานรองรับ พบทับหลังทั้ง 4 ด้าน ด้านทิศเหนือเป็นภาพนารายณ์บรรทมสินธุ์ นอกจากนี้ยังมีภาพเทวดาทรงพาหนะเหนือหน้ากาลประกอบด้วยสัตว์ต่าง ๆ เช่น ช้าง สิงห์ และลายใบไม้ม้วน การกำหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ศิลปะเขมรแบบบาปวน

    พิพิธภัณฑ์อาจารย์มั่น ภูริทัตโต ตั้งอยู่ในวัดป่าสุทธาวาส การเดินทาง ไปตามถนนสุขเกษมจนถึงศูนย์ราชการจังหวัดมีทางแยกซ้ายไปอีกประมาณ 250 เมตร ตัวพิพิธภัณฑ์มีลักษณะการก่อสร้างแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ประยุกต์ สร้างด้วยกระเบื้องดินเผา ภายในพิพิธภัณฑ์มีรูปหล่อเหมือนองค์ของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ในท่านั่งสมาธิ และมีตู้กระจกบรรจุอัฐิของท่านที่แปรสภาพเป็นแก้วผลึกใสสีขาว ยกฐานสูงพื้นปูด้วยหินอ่อน พร้อมทั้งตู้แสดงเครื่องอัฐบริขาร รวมทั้งประวัติความเป็นมาของท่านตั้งแต่เกิดจนมรณภาพพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต กำเนิดในสกุลแก่นแก้ว ที่ตำบลโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ 15 ปี และอุปสมบทเมื่ออายุ 22 ปี ที่วัดเลียบ จังหวัดอุบลราชธานี ท่านเป็นพระที่ยึดมั่นในปฏิมาธุดงด์กรรมฐานเป็นวัตร มีพระในสายเดียวกับท่านอีกหลายองค์ที่ได้เข้ามาปฏิบัติ และฝึกวิปัสสนากรรมฐานตามแนวของท่าน เช่น หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ขาว อาลนาโย หลวงปู่แหวน สุจินต์โน เป็นต้น ต่อมาท่านได้ย้ายจากการธุดงค์กรรมฐานเข้ามาจำพรรษาที่วัดป่าสุทธาวาส และมรณภาพเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492

    สะพานขอม หรือสะพานหิน อยู่ก่อนเข้าตัวเมือง เป็นโบราณสถานเล็ก ๆ ริมถนนสายสกลนคร-อุดรธานี สันนิษฐานว่าเป็นสะพานโบราณที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเส้นทางสัญจรจากตัวเมืองสกลนครไปยังนอกเมือง เนื่องจากบริเวณนี้เดิมเป็นที่ลุ่มน้ำท่วมขัง สะพานที่เห็นในปัจจุบันก่อด้วยศิลาแลง ซึ่งสร้างขึ้นใหม่หลังจากของเดิมได้ถูกรื้อทิ้งเพื่อก่อสร้างถนน

    ปราสาทพระธาตุนารายณ์เจงเวง ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดพระธาตุนารายณ์เจงเวง บ้านธาตุ ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 5 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางสายสกลนคร-อุดรธานี ทางหลวงหมายเลข 22 ถึงบริเวณบ้านธาตุซึ่งอยู่ก่อนถึงสี่แยกถนนเลี่ยงเมืองเล็กน้อยแล้วเลี้ยวซ้ายเข้าไปอีก 400 เมตร เป็นพระธาตุประกอบด้วยปรางค์องค์เดียว สร้างด้วยหินทรายบนฐานศิลาแลงขนาดใหญ่ สลักลวดลายลงบนเนื้อหิน มีทับหลังจำหลักภาพพระกฤษณะฆ่าสิงห์ ในรูปแบบศิลปะเขมร สมัยบาปวน ลักษณะคล้ายกับปราสาทหินของขอมที่ปรากฏหลายแห่งภาคอีสาน ลวดลายสลักหินบนซุ้มประตู หน้าต่างยังมีลักษณะสมบูรณ์ปรากฏชัด ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นฝีมือของผู้หญิงสร้างทั้งหมด เพื่อแข่งขันกับผู้ชายที่สร้างพระธาตุภูเพ็ก รูปแบบและศิลปะกำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 งานประเพณีของพระธาตุเจงเวงจะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 11 ค่ำ-15 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปี

    พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ ตั้งอยู่กลางเทือกเขาภูพาน บนเส้นทางหลวงสายสกลนคร -กาฬสินธุ์ เส้นทางหลวงหมายเลข 213 ห่างจากตัวเมืองสกลนคร 13 กิโลเมตร มีทางแยกเข้าไปทางด้านขวามือ ตามเส้นทางหลวงหมายเลข 2106 เป็นสถานที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระราชวงศ์ ในคราวเสด็จแปรพระราชฐานเยี่ยมพสกนิกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณสถานที่ตั้งเป็นป่าไม้ร่มรื่น มีไม้ดอกไม้ประดับตกแต่งไว้อย่างสวยงาม ในระหว่างที่ไม่ได้ประทับอยู่ที่พระตำหนัก อนุญาตให้ประชาชนทั่วไปเข้าชมได้ทุกวัน โดยทำหนังสือถึงสำนักเลขาธิการพระราชวัง พระบรมมหาราชวัง ถนนหน้าพระลาน กรุงเทพฯ 10200 และเมื่อได้รับหนังสือตอบรับแล้วจึงจะเดินทางไปชมได้

    อุทยานแห่งชาติภูพาน มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในเขตของอำเภอเมือง อำเภอพรรณานิคม อำเภอภูพานจังหวัดสกลนคร และอำเภอสมเด็จ อำเภอห้วยผึ้ง อำเภอกุดบาก จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ 655 ตารางกิโลเมตร หรือ 415,439 ไร่ ประกาศเป็นอุทยานฯ เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2525 ที่ทำการอุทยานฯ ตั้งอยู่บนเทือกเขาภูพาน ตามเส้นทางสายสกลนคร-กาฬสินธุ์ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 25 กิโลเมตร ภายในอุทยานฯ มีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ได้แก่
    น้ำตกคำหอม และ โค้งปิ้งงู อยู่ห่างจากจังหวัดประมาณ 14 กิโลเมตร บริเวณใกล้เคียงกันจะเป็นที่ตั้งของน้ำตกต่าง ๆ อีกหลายแห่ง เช่น น้ำตกเหวสินธุ์ชัย น้ำตกตาดโตน น้ำตกสามหลั่น น้ำตกสาวไห้ ผาหินซ้อน อยู่ท่ามกลางป่าไม้ที่ร่มเย็น และหน้าทางเข้าน้ำตกคำหอม บนถนนสายสกลนคร-กาฬสินธุ์ เป็นช่วงที่คดเคี้ยวไปมาเหมือนกับงูเลื้อย มีหลักกิโลเมตรที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยตั้งอยู่ริมทาง ตกแต่งด้วยไม้ดอก ไม้ประดับเป็นทัศนียภาพที่สวยงาม การคมนาคมเข้าแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้สะดวก และปลอดภัย สามารถเดินทางเข้าถึงตลอดทั้งปี สำหรับน้ำตกต่าง ๆ จะมีน้ำเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น

    ผานางเมินและลานสาวเอ้ อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ ตามเส้นทางเดินเท้าประมาณ 700 เมตร และ 2 กิโลเมตร ตามลำดับ สองข้างทางจะเป็นป่าพลวงไปตลอดถึงริมหน้าผา ซึ่งเป็นลาดหินทอดยาวหันหน้าไปทางทิศตะวันตกมองเห็นธรรมชาติเบื้องล่างได้อย่างชัดเจนสวยงาม ส่วนด้านล่างหน้าผามีทางเดินไปลานสาวเอ้ ซึ่งเป็นลานหินธรรมชาติที่สวยงาม อยู่ท่ามกลางป่าเขา และบริเวณหน้าผาสูงชัน ในเดือนสิงหาคม-ตุลาคม จะได้พบเห็นดอกไม้ขึ้นสลับสี เป็นทุ่งกว้าง เหมาะสำหรับพักผ่อน ถ่ายภาพ และชมธรรมชาติ
    น้ำตกห้วยใหญ่ อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ ประมาณ 12 กิโลเมตร ลักษณะเป็นลำน้ำที่ยุบตัวลงลดหลั่นเป็นชั้น ๆ รายล้อมด้วยสภาพป่าเขาทึบที่ร่มเย็น

    ถ้ำเสรีไทย อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร เป็นถ้ำที่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝ่ายเสรีไทยได้ใช้เป็นที่สะสมอาวุธ และเสบียง เพราะเป็นทำเลที่เหมาะสม ปกปิดด้วยป่าไม้ที่เขียวชอุ่ม และบริเวณเดียวกันมีร่องรอยการขุดแต่งเป็นสนามบินลับด้วย
    น้ำตกปรีชาสุขสันต์ ตั้งอยู่ในเทือกเขาภูพาน เขตอำเภอเมือง ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 24 กิโลเมตร ตามเส้นทางสายสกลนคร-อุดรธานี ลักษณะเป็นน้ำตกที่ไหลมาตามลานหินลาดเขาลดหลั่นเป็นชั้น บางช่วงคล้ายสไลเดอร์ มีความยาว 12 เมตร อยู่ท่ามกลางสภาพป่าไม้ที่สมบูรณ์ สามารถลงเล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย น้ำจะมีมากในฤดูฝน การคมนาคมสะดวก สามารถเข้าถึงตัวน้ำตกได้ตลอดปี
    สถานที่พัก ทางอุทยานฯ มีบริการบ้านพัก จำนวน 2 หลัง ราคา 20 บาท/คน/คืน เรือนแถว พักได้ 36 คน ราคา 20 บาท/คน/คืน เต็นท์ให้เช่า ราคา 50 บาท/คน/คืน และในกรณีที่นักท่องเที่ยวนำเต็นท์ไปเอง คิดค่าบำรุงสถานที่ ราคา 30 บาท/คน/คืน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ อุทยานแห่งชาติภูพาน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร. (042) 715180

    ชาวภูไท บ้านโนนหอม ตำบลโนนหอม อยู่ห่างจากตัวเมืองไปตามเส้นทางสกลนคร- นาแก (ทางหลวงหมายเลข 223) ประมาณ 13 กิโลเมตร มีทางแยกขวาอีกประมาณ 2 กิโลเมตร ชาวภูไทที่บ้านโนนหอมนี้อพยพมาจากฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง เมื่อประมาณ 100 กว่าปีแล้ว และยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวภูไทไว้ ติดต่อการแสดงจัดพาแลง และการฟ้อนรำของชาวภูไทล่วงหน้าที่ ศูนย์สาธิตการตลาดบ้านโนนหอม เลขที่ 5 หมู่ที่ 2 ตำบลโนนหอม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000

    ภาพรอยสลักผาสามพันปีที่ภูผายล ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านนาผาง ตำบลกกปลาซิว ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 38 กิโลเมตร ภูผายลเป็นที่ตั้งของสำนักสงฆ์ ในบริเวณนั้นมีภาพแกะสลักบนหน้าผาหินเป็นรูปภาพต่าง ๆ แสดงชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ ที่ใช้ของแข็งขูดขีดลงบนหน้าผา เช่น ภาพสัตว์ คน ไร่นา เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีธรรมชาติรอบข้างเป็นป่าเขาที่สวยงาม การเดินทางจากตัวอำเภอเต่างอยไปตามเส้นทางสายอำเภอเต่างอย-ศรีวิชาไป 5 กิโลเมตร แวะเข้าสู่บ้านม่วง-นาอ่าง และเดินทางต่อผ่านบ้านโพนบก-โพนแพง และบ้านนาผางตามลำดับ รวมระยะเส้นทางประมาณ 35 กิโลเมตร ก่อนถึงภูผายล จากบ้านนาผางขึ้นไปจะเป็นถนนลาดยางจนถึงหน้าผาหิน และมีบันไดขึ้นสู่หน้าผายอดเขา ตามระยะทางสามารถแวะพักตามจุดชมวิว ซึ่งมีก้อนหินทรายตั้งวางเป็นระยะ บางแห่งรูปคล้ายเพิงพัก หรือแท่นที่นั่ง

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 กรกฎาคม 2011

แชร์หน้านี้

Loading...