พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มาย้ำกันอีกครั้งนะครับ

    ห้ามพลาดโดยเด็ดขาด โปรดติดตามกันให้ดีๆ


    เก็บเงินไว้ร่วมทำบุญกันเยอะๆนะครับ
     
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ลำดับพระมหากษัตริย์ไทย[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]

    [​IMG]
    [/FONT]​



    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สมัยราชอาณาจักรสุโขทัย
    [/FONT]

    <CENTER><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์พระร่วง[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] พระนาม[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="35%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] ปี พ.ศ.[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%" height=2></TD><TD vAlign=top width="35%" height=2>
    พ.ศ. 1781- ?
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%">
    2. พระเจ้า (พ่อขุน) บางเมือง (บางตำราเขียน บาลเมือง)
    </TD><TD vAlign=top width="35%">
    พ.ศ. ? -1822
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%"></TD><TD vAlign=top width="35%">
    พ.ศ. 1822-1842
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%"></TD><TD vAlign=top width="35%">
    พ.ศ. 1842-1891
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%">
    5. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระเจ้าลิไท)
    </TD><TD vAlign=top width="35%">
    พ.ศ. 1891-1912
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%">
    6. พระมหาธรรมราชาที่ 2 (พระเจ้าไสยลือไท)
    </TD><TD vAlign=top width="35%">
    พ.ศ. 1913-1931
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%">
    7. พระมหาธรรมราชาที่ 3
    </TD><TD vAlign=top width="35%">
    พ.ศ. 1931-1962
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="65%">
    8. พระมหาธรรมราชาที่ 4
    </TD><TD vAlign=top width="35%">
    พ.ศ. 1962-1981
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

    638-659 ปีเลยนะครับ ดูลำดับความเก่าแก่ของพระเครื่องชุดนี้ น่าสนใจครับ คงต้องให้เจ้าของพระเครื่องมาบอกเล่าความเป็นมาแล้วครับ
     
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ลองย้อนยุคกลับไปดูถึงยุคสมัยต่างๆ จะเกิดความหวงแหนพระเครื่องชุดนี้มากเป็นพิเศษ

    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สมัยราชอาณาจักรศรีอยุธยา
    [/FONT]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์อู่ทอง (เดิมเรียกราชวงศ์เชียงราย)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] พระนาม[/FONT]</TD><TD vAlign=top width="41%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] ปี พ.ศ.[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%"></TD><TD vAlign=top width="41%">
    พ.ศ. 1893-1912 (19 ปี )
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]2. สมเด็จพระราเมศวร (สมัยที่ 1)[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 1912-1913 (ไม่ถึงปี)
    (ถวายราชสมบัติแด่ขุนหลวงพะงั่ว)
    [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์สุพรรณภูมิ[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]3. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) [/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 1913-1931 (18 ปี )
    เป็นพระมาตุลา (ลุง) ของสมเด็จพระราเมศวร
    [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]4. เจ้าทองลั่น [/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 1931-1931 ( 7วัน )
    (ถูกสมเด็จพระราเมศวรปลงพระชนม์ชิงราชสมบัติคืน
    [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>


    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์อู่ทอง[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สมเด็จพระราเมศวร (สมัยที่ 2)[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 1931-1938 ( 7ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]5. สมเด็จพระเจ้ารามราชาธิราช [/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    พ.ศ. 1938-1952 (14 ปี )
    (ถวายราชสมบัติแด่สมเด็จพระนครรินทราธิราช)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2> </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์สุพรรณภูมิ[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]6. สมเด็จพระนครินทราธิราช หรือ สมเด็จพระอินทราชา[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 1952-1967 (15 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]7. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา)[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 1967-1991 ( 24 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 1991-2031 ( 40 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]9. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระอินทราราชาที่ 2)[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2031-2034 ( 3 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]10. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระเชษฐา) [/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2034-2072 ( 38 ปี )
    ทรงเป็นพระราชอนุชาของสมเด็จพระบรมราชาที่ 3
    [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]11. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (หน่อพุทธางกูร)[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2072-2076 ( 4 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]12. พระรัษฎาธิราช[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2076-2077 ( 5 เดือน )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]13. สมเด็จพระไชยราชาธิราช[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2077-2089 ( 12 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]14. พระยอดฟ้า หรือ พระแก้วฟ้า [/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2029-2091 ( 2 ปี )
    (ถูกขุนวรวงศาธิราชปลงพระชนม์ชิงราชบัลลังก์)
    [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]15. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2091-2111 ( 20 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]16. สมเด็จพระมหินทราธิราช [/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2111-2112 ( 1 ปี )
    (เสียกรุงศรีอยุธยาแกพม่าครั้งที่ 1)
    [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2> </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์สุโขทัย
    (ไม่เรียกราชวงศ์พระร่วง เพราะเป็นเพียงเชื้อสาย)
    [/FONT] ​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]17. สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2112-2133 ( 31 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]18. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2133-2148 ( 15 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]19. สมเด็จพระเอกาทศรถ[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2148-2153 ( 5 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]20. เจ้าฟ้าเสาวภาคย์[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2153-2153[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]21. สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม [/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2153-2171 ( 17 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]( ข้อ 19-21 ลงปีพุทธศักราชตามข้อมูลใหม่ที่นักประวัตืศาสตร์ค้นคว้าจากหลักฐานเก่า ๆ ซึ่งสอดคล้องกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ในรัชสมัย ข้อมูลเดิมคือ สมเด็จพระเอกาทศรถครองราชย์ พ.ศ. 2148-2163 เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ครองราชย์ พ.ศ. 2163-2163 และสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมครองราชย์ พ.ศ. 2163-2171 )
    [/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]22. สมเด็จพระเชษฐาธิราช[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2171-2172 ( 8 เดือน )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]23. สมเด็จพระอาทิตย์วงศ์[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2172-2172 ( 28 วัน )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์ปราสาททอง[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]24. สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง [/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2172-2199 ( 27 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]25. สมเด็จเจ้าฟ้าไชย[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2199-2199 ( 3-4 วัน )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]26. สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2199-2199 ( 2 เดือน )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]27. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2199-2231 ( 32 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์บ้านพลูหลวง[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]28. สมเด็จพระเพทราชา[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2231-2246 ( 15 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]29. สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือ สมเด็จพระเจ้าเสือ (ขุนหลวงสรศักดิ์)[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2146-2251 ( 5 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]30. สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2251-2275 ( 24 ปี ) [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]31. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2275-2301 ( 26 ปี )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]32. สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด)[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2301-2301 ( 2 เดือน )[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]33. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ (บางตำราเขียน สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์)[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2301-2310 ( 9 ปี )
    (เสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ 2 )
    [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>

    [​IMG]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สมัยราชอาณาจักรธนบุรี [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์ธนบุรี[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="59%"></TD><TD vAlign=top width="41%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2310-2325[/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สมัยราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ราชวงศ์จักรี [/FONT]​
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="70%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] พระนาม[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] ปี พ.ศ.[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    พ.ศ. 2325-2352
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    2. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    พ.ศ. 2352-2367
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    3. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    พ.ศ. 2367-2394
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    4. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    พ.ศ. 2394-2411
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    5. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    พ.ศ. 2411-2453
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    6. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    พ.ศ. 2453-2468
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    7. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    พ.ศ. 2468-2477
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    8. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    พ.ศ. 2477-2489
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="70%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]9. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช[/FONT]​
    </TD><TD vAlign=top width="30%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ.ศ. 2489-ปัจจุบัน[/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมจะกำหนดใน 3 ลักษณะการร่วมทำบุญครับ
    คือ

    1.ผู้ที่ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งแล้ว ร่วมบุญมากกว่า ...... บาท
    จะมอบให้ผู้ร่วมทำบุญ ....... บาท

    2.ผู้ที่ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งแล้ว ร่วมบุญตั้งแต่ .... ถึง .... บาท
    จะมอบให้ผู้ร่วมทำบุญ ..... บาท

    3.ผู้ที่ไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    จะมอบให้กับผู้ร่วมทำบุญ ....... บาท

    รายชื่อท่านที่ร่วมทำบุญ ผมแจ้งให้ทราบว่า ตั้งแต่ลำดับที่ 1 ถึงลำดับที่ 179 ถือว่าเป็นผู้ที่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งครับ

    รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 สิงหาคม 2007
  5. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    เข้าใจการเมือง การปกครองของสมัยพระเจ้าลิไทกันก่อน จะได้ทราบภูมิหลังของพุทธศาสนาในสมัยนั้นเป็นอย่างไร

    นำข้อมูลจาก"ฐานข้อมูลพระปกเกล้า"มาเผยแพร่
    http://www.kpi.ac.th/kpidb/politicalDetail.asp?politicalID=16&politicalPageID=35#


    ภูมิหลังประวัติศาสตร์

    [​IMG] (อ่าน 969)


    1.2 ลักษณะของการเมืองการปกครอง

    1.2.1 การปกครองแบบปิตุราชาธิปไตย (พ่อปกครองลูก)

    เมื่อแรกก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัยยังมีอาณาเขตไม่กว้างขวาง จำนวนพลเมืองยังมีไม่มาก และกำลังอยู่ในระยะการก่อสร้างตนเพื่อความเป็นปึกแผ่น จึงยังคงมีความเคยชินอยู่กับการปกครองแบบดั้งเดิม ซึ่งยึดถือความสัมพันธ์ทางครอบครัวเป็นหลัก ด้วยเหตุนี้ พระมหากษัตริย์สุโขทัยในระยะต้นจึงทรงวางพระองค์ประดุจบิดาของประชาชน ทรงปกครองดูแลไพร่บ้านพลเมืองอย่างใกล้ชิดและด้วยความเอาใจใส่ เหมือนดั่งพ่อบ้านดูแลรับผิดชอบลูกบ้านของตน ในขณะเดียวกันก็ทรงอำนาจสิทธิ์ขาดเหนือชีวิตของลูกบ้านด้วย การปกครองแบบนี้ก่อให้เกิดพระมหากษัตริย์แบบปิตุราชา ซึ่งมักจะใช้คำนำหน้าพระนามว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 สิงหาคม 2007
  6. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    สั่นหัวใจอย่างแรง
    (tm-love)
     
  7. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    โอ้ว คุณเพชรนี่ ฝ่ายวิชาการ แต๊แต๊
    (||)
     
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    สงสัยว่าคุณหนุ่มอาจจะต้องให้ลงชื่อตามคิวจองไว้ก่อนนะครับ พระเครื่องมีจำกัดเพียง 100 องค์ ไม่ใช่หรือ??? หรือมีมากกว่านั้น...
     
  9. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 7 คน ( เป็นสมาชิก 4 คน และ บุคคลทั่วไป 3 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>ตั้งจิต, :::เพชร:::, aries2947, sithiphong </TD></TR></TBODY></TABLE>น้องเอ คิดไรอยู่ครับ มีไรก็พูดมาเลยฤาว่าหลับแล้วอิอิ
     
  10. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ขอจองคิว 1 ครับ
    แหะๆ ไม่มีไรครับ แค่ทดลองความไวเฉยๆ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    สงสัยว่าคุณหนุ่มอาจจะต้องให้ลงชื่อตามคิวจองไว้ก่อนนะครับ พระเครื่องมีจำกัดเพียง 100 องค์ ไม่ใช่หรือ??? หรือมีมากกว่านั้น...
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ผมคงได้รับมาเพื่อมอบให้กับผู้ร่วมทำบุญไม่ถึง 100 องค์ครับ เพราะว่าจะมีงานทอดกฐินพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งอีก แต่ยังไม่รู้ว่าจะได้มากี่องค์ครับ

    .
     
  12. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ศาสนาในสมัยพระเจ้าลิไทรุ่งเรืองมากครับ ลองดูประเพณีที่สะท้อนความเป็นชาวพุทธ และเทิดทูนพระพุทธศาสนาอย่างไร การจะเข้าใจชนชาติใดให้ลองมองผ่านวัฒนธรรม และประเพณีของชนชาตินั้น

    ผมก็แปลกใจอยู่เหมือนกันว่า การที่ผมเพิ่งกลับจากทำบุญทางเหนือ ผมชอบจังหวัดกำแพงเพชรเป็นพิเศษ หรือชะรอยจะไปเกี่ยวพันกับพระเครื่องกรุนี้ เหมือนมีสัญญาณบางอย่างว่าจะต้องได้อะไรบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางครั้งนี้ ที่แท้คือพระเครื่องในสมัยพระเจ้าลิไทนี้เอง...สาธุ

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=right colSpan=2 height=40><TABLE height=20 width=160 align=right border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top width="40%">[​IMG] </TD><TD width="60%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>ประเพณีนบพระ-เล่นเพลงในแผ่นดินพระเจ้าลิไท จังหวัดกำแพงเพชร <TD></TD><TR><TD>จังหวัด : กำแพงเพชร <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><DD>กำหนดการจัดงานช่วงเดือนมีนาคม ของทุกปี</DD><DD> </DD><TD></TD><TR><TD><DD>ประเพณีนบพระ-เล่นเพลงของชาวกำแพงเพชรนั้น ได้นำคำในศิลาจารึกนครชุม หลักที่ ๓ มาเป็นชื่องาน มีความว่า \"ผู้ใดไหว้นบ กระทำบูชาพระศรีรัตนมหาธาตุ และพระศรีมหาโพธิไซร้ มีผล อานิสงส์พร่ำเสมอดังได้นบพระผู้เป็นเจ้า...\" คำว่า \"นบ\" เป็นคำโบราณ แปลว่า ไหว้ ดังนั้น การนบพระจึง หมายความว่า ไหว้พระ </DD><TD></TD><TR><TD><DD></DD><TD></TD><TR><TD><DD>สำหรับคำว่าเล่นเพลง คือ การละเล่นสนุกสนานพื้นบ้าน โดยมีการร้องเพลงพื้นบ้าน มีชาย หญิงร่วมร้องและร่ายรำเป็นที่สนุกภายหลังจากได้ทำบุญทำกุศลแล้ว </DD><TD></TD><TR><TD><DD></DD><TD></TD><TR><TD><DD>งานประเพณีนบพระ-เล่นเพลงในแผ่นดินพระเจ้าลิไท จัดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ด้วย ความร่วมมือของจังหวัดกำแพงเพชร กรมศิลปากร และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย </DD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    จองกันแบบนี้ ผมจะตกเก้าอี้เอา....อิอิ (((((ทำไมเรามาก่อน ไผลไปอยู่คิวหลังหว่า )))))
     
  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137


















    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=right colSpan=2 height=40>
    จิตที่คิดดี การกระทำที่ประเสริฐ ย่อมสมควรแก่การกล่าวคำ
    โมทนาสาธุ...
    <TABLE height=20 width=160 align=left border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="40%">
    </TD><TD width="60%">
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=left border=0><TBODY><TR><TD> <TD></TD><TR><TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ตั้งจิต [​IMG]
    ขอจองคิว 1 ครับ
    แหะๆ ไม่มีไรครับ แค่ทดลองความไวเฉยๆ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ระวังนะครับ จะตกไปอยู่ท้ายขบวน คิคิคิ

    (||)
    (||)
    (||)
    .
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    ผู้ที่เคยอ่านประวัติหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ซึ่งเขียนโดยท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร คงจะทราบถึงความเกี่ยวพัน พระพิมพ์หรือพระเครื่องบางกรุเกี่ยวข้องกับหลวงปู่ท่านโดยตรง เข่นกรุวัดป่ามะม่วงครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมขออนุญาตมาลงอีกครั้งนะครับ

    ผมจะกำหนดใน 3 ลักษณะการร่วมทำบุญครับ คือ

    1.ผู้ที่ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งแล้ว ร่วมบุญมากกว่า ...... บาท
    จะมอบให้ผู้ร่วมทำบุญ ....... บาท

    2.ผู้ที่ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งแล้ว ร่วมบุญตั้งแต่ .... ถึง .... บาท
    จะมอบให้ผู้ร่วมทำบุญ ..... บาท

    3.ผู้ที่ไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    จะมอบให้กับผู้ร่วมทำบุญ ....... บาท

    รายชื่อท่านที่ร่วมทำบุญ ผมแจ้งให้ทราบว่า ตั้งแต่ลำดับที่ 1 ถึงลำดับที่ 179 ถือว่าเป็นผู้ที่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งครับ

    รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งครับ

    โมทนาสาธุครับ

    มาย้ำกันอีกครั้งนะครับ

    ห้ามพลาดโดยเด็ดขาด โปรดติดตามกันให้ดีๆ

    เก็บเงินไว้ร่วมทำบุญกันเยอะๆนะครับ <!-- / message --><!-- sig -->
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 10 คน ( เป็นสมาชิก 7 คน และ บุคคลทั่วไป 3 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, :::เพชร:::+, aries2947+, ศ.รุ่งเรือง, guawn+, parasite_moll, Pichet-m </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมาชิกคับคั่งตอนเกือบดึกครับ

    .
     
  19. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ก่อนจะได้ชมพระเครื่ององค์จริงกัน มาชมพระบูชาที่สร้างในสมัยพระเจ้าลิไทกันก่อนว่าสวยงาม และศักดิ์สิทธิ์ขนาดไหน และหากมีวาสนาบารมีที่จะได้พระเครื่องชุดนี้กันแล้ว เกิดความศรัทธาอยากไปกราบไหว้สักการะพระพุทธรูปบูชาจะไปไหว้พระพุทธรูปบูชากันที่ไหนดีที่มีเชื้อสาย หรือสื่อเดียวกัน



    <DD>วัดสังกัสรัตนคีรี ตั้งอยู่เชิงเขาสะแกกรัง สุดถนนท่าช้าง ในเขตเทศบาลเมือง ภายในวิหาร ประดิษฐานพระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองอุทัยธานี เป็นพระเนื้อสำริดปางมารวิชัย สร้างในสมัยพระเจ้าลิไท ฝีมือช่างสุโขทัย ส่วนเศียรกับส่วนองค์พระ เข้าใจว่าเป็นชิ้นส่วนซึ่งนำมาจากพระคนละองค์ และอาจจะซ่อมเป็นองค์เดียวกัน ก่อนที่จะนำมาไว้ที่เมืองอุทัยธานีจากบริเวณลานวัด มีบันไดขึ้นไปสู่ยอดเขาสะแกกรัง449 ขั้น หรือใช้ทางหลวงหมายเลข 3220 เป็นระยะทาง 4 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวบริเวณสนามกีฬาจังหวัด ไปตามทางขึ้นสู่ยอดเขา จากบนยอดเขา จะมองเห็นทิวทัศน์เมืองอุทัยธานี และมีสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งคือ ระฆังใบใหญ่ที่ชาวอุทัยธานีร่วมกันสร้างเมื่อ พ.ศ. 2443 ถือกันว่าเป็นระฆังศักดิ์สิทธิ์ ใครที่ไปเที่ยวอุทัยธานีแล้วไม่ได้ขึ้นไปตีระฆังใบนี้ ก็เท่ากับไปไม่ถึงอุทัยธานี ในบริเวณยังเป็นที่ประดิษฐาน พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก แห่งรัชกาลที่ 1 ซึ่งมีพระนามเดิมว่านายทองดี ประสูติที่เมืองสะแกกรังนี้เอง มีพิธีถวายสักการะพระราชานุสาวรีย์แห่งนี้ ในวันที่ 6 เมษายนของทุกปี ซึ่งตรงกับช่วงที่ดอกสุพรรณิการ์ หรือฝ้ายคำ ดอกไม้ประจำจังหวัดอุทัยธานี <DD>ภายในวัดสังกัสรัตนคีรีมีวิหารพระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ เป็นวิหารที่สร้างขึ้นใหม่ สำเร็จเมื่อ พ.ศ. 2520 และอัญเชิญพระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ประดิษฐาน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2520 สร้างเป็นวิหารที่มีทางขึ้น 3 ทาง คือด้านหน้าและด้านข้างตกแต่งด้วยลายกนกสวยงาม โดยเฉพาะบานหน้าต่างจำหลักกนกเปลวประกอบกับตัวละครในรามเกียรติ์จับคู่ เช่นทศกัณฐ์กับนางมณโฑ พระรามกับนางสีดา พระรามกับอินทราชิต หนุมานกับยักษ์ เป็นต้น ส่วนบานประตูเป็นจำหลักไม้แผ่นเดียว นำพุทธประวัติบางตอนมาสลักประกอบกับลายกนกและเถาต้นไม้ เช่น ปางประสูติ ปางออกบวช ปางนิพพาน ปางเสด็จจากดาวดึงส์ ปางตรัสรู้ ซึ่งแกะสลักนูนและลงสีงดงามมาก ที่น่าสังเกตคือการผสมรูปนกแบบจีนลงบนลายกนกไทยตามใจเจ้าภาพที่บริจาคเงินสร้างบานประตูดูสดุดตา

    </DD>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 สิงหาคม 2007
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ชมพระพุทธรูป 3 รุ่นในสมัยสุโขทัย

    ขอบคุณข้อมูลจาก
    http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.heritage.thaigov.net/religion/prapoot/a17.jpg&imgrefurl=
    http://www.heritage.thaigov.net/religion/prapoot/index2.htm&h=280&w=127&sz=
    22&hl=th&start=0&um=1&tbnid=e1aFy3Lf2gBVQM:&tbnh=114&tbnw=52&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2588%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B4%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%2597%26svnum%3D10%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN



    <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    [SIZE=+1]<CENTER>| ย้อนกลับ | สมัยทวาราวดี | สมัยศรีวิชัย | สมัยลพบุรี | สมัยเชียงแสน |[/SIZE]


    [SIZE=+1]| สมัยอู่ทอง | สมัยอยุธยา | สมัยรัตนโกสินทร์ | </CENTER><HR><CENTER>[SIZE=+2]สมัยสุโขทัย [/SIZE]</CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>อยู่ในห้วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ นับตั้งแต่พ่อขุนบางกลางท่าวเจ้าเมืองบางยาง และพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราดได้ร่วมกันตีได้เมืองสุโขทัย พ่อขุนบางกลางท่าวได้รับสถาปนาเป็นเจ้าเมืองสุโขทัย ประกาศอิสรภาพไม่ขึ้นกับขอม และได้มีพระมหากษัตริย์ปกครองกรุงสุโขทัยต่อมาอีกหลายพระองค์ ตั้งอาณาจักรสุโขทัยเป็นปึกแผ่น <CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>ในห้วงเวลาดังกล่าว พุทธศาสนาในลังกาเจริญรุ่งเรืองมาก บรรดาพระสงฆ์ในสุวรรณภูมิอันได้แก่ ไทย พม่า มอญ พากันไปศึกษาพุทธศาสนาในลังกาเป็นอันมาก และได้มีพระสงฆ์ชาวลังกา เข้ามาเผยแพร่ พุทธศาสนาในดินแดนส่วนนี้ด้วย โดยในระยะแรกมาอยู่ที่นครศรีธรรมราช ต่อมาจึงขึ้นไปอยู่สุโขทัย และเชียงใหม่ ดังนั้นพระพุทธรูปในยุคนี้จึงได้แบบอย่างมาจากลังกา ลักษณะโดยทั่วไปมีดังนี้คือ รัศมียาว เส้นพระศกขมวดก้นหอย ส่วนมากไม่มีไรพระศก พระขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระหนุเสี้ยม หัวพระถันโปน ชายสังฆาฏิยาว ปลายมี ๒ แฉก และย่นเป็นเขี้ยวตะขาบ ฐานส่วนใหญ่เป็นแบบฐานเอียง ตอนกลางโค้งเข้าด้านใน ตรงข้ามกับสมัยเชียงแสน <TABLE cellPadding=10 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><DD>[SIZE=+1]พระพุทธรูปสมัยนี้ แบ่งออกเป็น ๓ รุ่น ด้วยกัน คือ <DD>รุ่นแรก มีวงพระพักตร์กลมแบบลังกา <DD>รุ่นที่สอง มีวงพระพักตร์ยาว และพระหนุเสี้ยม <DD>รุ่นที่สาม น่าจะสร้างในรัชสมัยพระมหาธรรมราชา หรือ พระเจ้าลิไท พระองค์ทรงหาหลักฐานต่าง ๆ จากพระไตรปิฎก มาประกอบการสร้างพระพุทธรูป จึงได้เกิดพระพุทธรูปแบบสุโขทัยขึ้นอีกแบบหนึ่ง ได้แก่ พระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ วงพระพักตร์ รูปไข่คล้ายแบบอินเดีย ปลายนิ้วพระหัตถ์เสมอกันทั้ง ๔ นิ้ว [/SIZE]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE><HR><CENTER>[SIZE=+2]สมัยอู่ทอง [/SIZE]</CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>อยู่ในห้วงพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๒๐ พื้นที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย พระพุทธรูปแบบนี้ แบบผสมระหว่างศิลปะแบบทวาราวดีลพบุรี และสุโขทัย แบ่งออกได้เป็น ๓ รุ่น คือ <DD>รุ่นที่ ๑ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ เป็นฝีมือช่างไทย แต่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะแบบ ทวาราวดี ลักษณะโดยทั่วไปมีพระรัศมีทั้งแบบต่อม นูนเป็นกระเปาะ และคล้ายทรงฝาชีเตี้ย พระพักตร์เหลี่ยม มีไรพระศกเป็นกรอบรอบวงพระพักตร์ แบ่งส่วนพระเกษากับพระนลาฎ เส้นพระเกศาละเอียด พระหนุ ค่อนข้างแหลม พระนาสิกค่อนข้างแบน พระโอษฐ์แบะ <DD>ชายสังฆาฏิยาว ชายขอบอันตรวาสก (สบง) ด้านบนเป็นสัน <DD>ฐานหน้ากระดาษ ด้านหน้าเป็นร่องเข้าด้านใน ด้านหลังเรียบและโค้งออก <DD>รุ่นที่ ๒ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ได้รับอิทธิพลจากศิลปะขอมมากขึ้น ลักษณะส่วนใหญ่เหมือนรุ่นที่ ๑ ที่ต่างกัน คือ รุ่นนี้มีรัศมีเป็นเปลว พระพักตร์เป็นรูปสี่เหลี่ยมมากขึ้น พระนาสิกโค้งมากขึ้น พระหนุสี่เหลี่ยม <CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>รุ่นที่ ๓ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ได้รับอิทธิพลจากศิลปะสุโขทัย จึงทำแบบสุโขทัยเป็นส่วนใหญ่ มีลักษณะ พระกายค่อนข้างสูง พระพักตร์รูปไข่ มีไรพระศกเป็นแถบแบนกว้างกันระหว่างพระนลาฏกับเส้นพระศก พระรัศมีเป็นเปลวแบบสุโขทัย แต่ด้านหลังเรียบ ระหว่างเส้นพระศกกับพระรัศมีมีแถบกั้น สังฆาฏิมีขนาดใหญ่ <DD>ฐานเป็นแบบหน้ากระดานสองแผ่นซ้อนกัน มีร่องตรงกลางเว้าเข้า ด้านหลังโค้งออกและเรียบ


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    [/SIZE]

    </DD>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 สิงหาคม 2007

แชร์หน้านี้

Loading...