พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    <TABLE class=tborder id=post299975 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">17-08-2006, 05:54 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1195 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_299975", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 09:28 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 15,131 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 18,220 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 84,323 ครั้ง ใน 11,419 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 9974 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]




    </TD><TD class=alt1 id=td_post_299975 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ในคณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร นอกจากหลวงปู่ทั้ง 5 องค์แล้ว( 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า (หลวงปู่อิเกสาโร) 4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า (หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า หรือหลวงพ่อกบ วัดเขาสาริกา) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า (หลวงปู่หน้าปานหรือหลวงพ่อโอภาสี วัดโอภาสี อาศรมบางมด) ) ยังมีครูฝึกอีก 5 องค์ด้วยกัน แต่ท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร ท่านทราบนามครูฝึกเพียง 2 องค์( 1.ท่านเจ้า (กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ) 2.หลวงปู่แจ้งฌาณ (หลวงปู่ศุข)) แล้วยังมีพระ - เณร - อุบาสก - อุบาสิกา อีกหลายๆท่าน รวมทั้งมีปู่ฤาษี 1 องค์ก็คือ ปู่ฤาษีสิงขร ครับ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    หลวงปู่แจ้งฌาณ ชื่อจริงๆท่านคือ หลวงปู่ศุข แต่เป็นคนละองค์กับหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่าครับ

    ส่วนหลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า ท่านเป็นศิษย์ของพระโมคคัลลีบุตร ติสสเถระองค์อรหันต์การชำระพระไตรปิฎกขึ้นเป็นครั้งที่ 3 ที่พระเจ้าอโศกมหาราชท่านเป็นประธานฝ่ายฆารวาส และเป็นประธานคัดเลือกบรรดาพระอรหันต์เถระออกทำการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สิ่งที่ผมรู้มา ก็ได้เรียนรู้มาจากครูบาอาจารย์ผม ผมขอยกความดีทั้งหลายทั้งปวง แด่กับครูบาอาจารย์ผม

    แต่เรื่องความรู้นั้น ผมยังต้องเรียนรู้กันทั้งชีวิตครับ

    .
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 5 คน ( เป็นสมาชิก 4 คน และ บุคคลทั่วไป 1 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, :::เพชร:::+, dragonn, ตั้งจิต+ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    คุณdragonn ไปสมัครมานี่ครับ
    ผมไปแลกเปลี่ยนความรู้ ไม่ได้ไปป่วนบอร์ดสมเด็จโตนะครับ เรียนให้ทราบตามนี้
    http://www.somdejto.com/somdejto/index.php
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=catHead colSpan=2 height=28>ผู้ที่กำลัง online</TD></TR><TR><TD class=row1 vAlign=center align=middle rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD class=row1 align=left width="100%">Post ทั้งหมด 21 หัวข้อ
    สมาชิกทั้งหมด 16 คน
    สมาชิกล่าสุดคือ dragonn
    </TD></TR><TR><TD class=row1 align=left>ผู้ที่ online ทั้งหมด 1 คน :: ลงทะเบียน 1 คน, ซ่อน 0 คน และ 0 ผู้เยี่ยมชม [ Administrator ] [ Moderator ]
    มีผู้ใช้ online พร้อมกันสูงสุด 5 คน เมื่อ Fri Sep 21, 2007 11:28 pm
    ผู้ใช้ที่ลงทะเบียน:
    sithiphong</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ใครอื่นผมก็ไม่รู้ว่าเป็นไง แต่กะลุงน้งนู๋นี่ กื๋ย... อย่าไปยุ่งกะลุงเชียว ผมกัวแล้วๆ อย่าทำผมอีกเลย(b-wow)
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2550
    <O:p</O:p
    หนังสือวิเคราะห์พระพิมพ์สมเด็จและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า เจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุญนาค) ซึ่งเขียนโดยปรัชนี ประชากร(ท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร) ผมจะแจกให้กับผู้ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    3 ท่านแรก(ตามกติกา) จำนวน 3 เล่ม(ท่านละ 1 เล่ม) โดยมีหลักเกณฑ์ตามนี้ ต้องเป็นผู้ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งไม่น้อยกว่า 50,000 บาท(โดยที่ท่านทำบุญและขอรับพระพิมพ์จากผมตามปกติ)
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ส่วนพระสมเด็จกลักไม้ขีด ผมมอบให้ผู้ร่วมทำบุญ จำนวน 5 องค์ สำหรับ 5 ท่านแรก (ผ่านพิธีพุทธาภิเษกในวันที่ 10 กรกฎาคม 2550 ในการพุทธาภิเษกผ้ายันต์ที่พระอาจารย์นิลนำลงไปแจกผู้ปฏิบัติงานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้) องค์ผู้อธิษฐานจิต หลวงปุ่บรมครูเทพโลกอุดร 4 พระองค์(หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า ,หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า ,หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร) ,หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) ) ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ,หลวงปู่ปาน วัดบางนมโค ,หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง ,หลวงปู่โพกสะเม็ก(หลวงปู่ขี้หอม) ,สำเร็จลุน ประเทศลาว ,หลวงปู่สีทัตถ์ ฯลฯ โดยมีหลักเกณฑ์ตามนี้ ต้องเป็นผู้ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งไม่น้อยกว่า 50,000 บาท(โดยที่ท่านทำบุญและขอรับพระพิมพ์จากผมตามปกติ) <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    โดยท่านผู้ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งไม่น้อยกว่า 50,000 บาท(โดยที่ท่านทำบุญและขอรับพระพิมพ์จากผมตามปกติ) สามารถขอรับหนังสือวิเคราะห์ฯ และร่วมทำบุญเพื่อขอรับพระสมเด็จกลักไม้ขีดได้พร้อมกันครับ แต่หนังสือมีจำนวน 3 เล่มเท่านั้น ส่วนพระสมเด็จกลักไม้ขีดมีจำนวน 5 องค์ ดังนั้นท่านที่ 4 และท่านที่ 5 จะไม่ได้รับหนังสือแต่ผมจะมอบพระพิมพ์สมเด็จกลักไม้ขีดเพิ่มให้อีก 1 องค์ครับ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ผมขอสิ้นสุดการมอบหนังสือและพระสมเด็จกลักไม้ขีดในการร่วมทำบุญ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวนเงิน 50,000 บาท(รวมทั้งการร่วมทำบุญสร้างพระพุทธรูป 5 พระองค์(สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกกุสันโธ ,สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามโกนาคมน์ ,สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกัสสป ,สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามสมณโคดม ,พระศรีอาริยเมตไตร) ซึ่งผมจะแจ้งให้ทราบในโอกาสต่อไป พร้อมมณฑปรอบพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง) ผมขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงระยะเวลา ถ้าหากว่าพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งสร้างเสร็จสมบูรณ์ก่อน และถ้าหากท่านใดได้ร่วมทำบุญและประสงค์ที่จะรับหนังสือและพระสมเด็จกลักไม้ขีด ผมขอพิจารณาเป็นรายๆครับ และผมให้สิทธิ์ในการจองหนังสือวิเคราะห์ฯและพระสมเด็จกลักไม้ขีดได้นะครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    โมทนาบุญทุกประการครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    หมายเหตุ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับพิธีพุทธาภิเษก วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม 2550<O:p</O:p
    กระทู้พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้<O:p</O:p
    หลวงปู่สุภา กันตสีโล โพสที่ 6010 หน้าที่ 601<O:p</O:p
    หลวงปู่สุภา กันตสีโล โพสที่ 6034 หน้าที่ 604<O:p</O:p
    สำเร็จลุน โพสที่ 6138 หน้าที่ 614<O:p</O:p
    พระครูโพนเสม็ด (ญาคูขี้หอม) โพสที่ 6139 หน้าที่ 614<O:p</O:p
    พระอาจารย์สีทัตถ์ วัดท่าอุเทน นครพนม โพสที่ 6140 หน้าที่ 614<O:p</O:p
    พระอาจารย์สีทัตถ์ วัดท่าอุเทน นครพนม โพสที่ 6141,6142,6143 หน้าที่ 615<O:p</O:p
    พระครูโพนเสม็ด (ญาคูขี้หอม) โพสที่ 6176,6178,6179,6180 หน้าที่ 618<O:p</O:p
    พระอาจารย์สีทัตถ์ วัดท่าอุเทน นครพนม โพสที่ 6181,6182,6183,6184,6185 หน้าที่ 619<O:p</O:p
    พระครูวิหารกิจจานุการ (หลวงพ่อปาน) โพสที่ 6186,6187,6188 หน้าที่ 619<O:p</O:p
    พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) โพสที่ 6189 หน้าที่ 619<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คุณเพชร<O:p</O:p
    โพสที่ 6017 หน้าที่ 602<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คุณพันวฤทธิ์<O:p</O:p
    โพสที่ 6022 หน้าที่ 603
    โพสที่ 6103 หน้าที่ 611
    โพสที่ 6105 หน้าที่ 611

    [​IMG]
    <O:p</O:p
    <!-- / message --><!-- sig -->


    สำหรับไม้ครูที่หลายๆท่านประสงค์ที่จะมีไว้ป้องกัน,คุ้มครองตนเองและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้

    ผมจะมอบให้ฟรีกับผู้ที่ร่วมทำบุญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ มีรายละเอียดดังนี้

    1.ต้องเป็นผู้ร่วมทำบุญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ มาตั้งแต่ต้นหรือเป็นผู้ร่วมทำบุญใหม่ โดยทำบุญและขอรับพระพิมพ์ตามปกติ จำนวนเงินที่ร่วมทำบุญรวมกัน(หลายๆครั้งหรือครั้งเดียว) ตั้งแต่ 55,555 บาท

    2.เมื่อร่วมทำบุญครบ 55,555 บาท แล้วจะรับไม้ครู ต้องไปรับไม้ครูที่บ้านท่านอาจารย์ประถม อาจสาครเท่านั้น

    โมทนาสาธุครับ

    รายละเอียดพระพิมพ์และวัตถุมงคล ที่มอบให้กับผู้ร่วมทำบุญในกระทู้ ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิบมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว 102 บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 189-0-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ ( http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=68899 ) จะอยู่ในหน้าแรกของกระทู้(โพสที่ 2 ถึงโพสที่ 8) ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ

    ส่วนยอดคงเหลือ ผมจะแจ้งให้ทราบในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ และกระทู้พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้เป็นระยะครับ

    พระพิมพ์ที่ผมมอบให้ท่านที่ร่วมทำบุญในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว 102 บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 189-0-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ นั้น มีความแตกต่างกันกับพระพิมพ์รุ่นเดียวกัน(องค์เดิมและองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิม)อย่างสิ้นเชิง โดยผมได้นำพระพิมพ์ของวังหน้า นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกด้วยกัน 3 ครั้ง


    1.ครั้งแรกในเดือน มกราคม 2550
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่เข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งนี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2


    2.ครั้งที่สองในเดือนกุมภาพันธ์ 2550
    ผมนำพระพิมพ์เข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สองว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2


    3.ครั้งที่สามในเดือน เมษายน (วันเสาร์ที่ 7 เมษายน 2550)
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก รับพระเมตตา,พระกรุณา และขอพระบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกกุสันโธ ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์ และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิตพระพิมพ์ให้
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สาม นี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 3 รุ่นฟ้าลิขิต

    ควรแยกเก็บจากพระวังหน้าเดิมด้วยนะครับ
    โมทนาสาธุครับ
     
  6. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 2 คน ( เป็นสมาชิก 1 คน และ บุคคลทั่วไป 1 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>ตั้งจิต </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ไปไหนกันหมดนะนี่ พอเน็ทผมดี ก็หนีกันไปหมด
    (ping)
     
  7. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    โห! เขาถึงได้ว่า ไฟ(ใต้)นี้แรงจริงๆ....
     
  9. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 3 คน ( เป็นสมาชิก 2 คน และ บุคคลทั่วไป 1 คน ) </TD><TD class=thead width="14%">

    </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>ตั้งจิต, :::เพชร::: </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- currently active users -->
    อ้าว คุณเพชรมาแล้ว งั้นผมไปก่อนนะ รอไม่มีใครอยู่ ผมจะมาใหม่
    คิคิ(b-smile)
     
  10. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    หึหึ ผมมารอรับท่านปาทานกลับบ้าน เพราะชอบไปค้างแรมบ้านคนอื่นเขา ไม่กลับบ้านกลับช่อง ทั้งบ้านเมืองนะฯ ทั้งบ้านสมเด็จฯ ยังจะไปเที่ยวค้างคืนที่ไหนต่อเนี่ย...สงสัยต้องขังจำกัดบริเวณ 2 อาทิตย์ จะได้หลาบจำบ้าง อิอิ(b-glass)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กันยายน 2007
  11. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    (b-2love) ไปจริงๆนะ พอดีแวะมาเปิดเน็ทดูข้อมูลหน่อยนะครับ
    ต้องทำงานต่ออีกนิด
    เดี๋วมาใหม่ครับ
    อย่าเหงานะครับ
     
  12. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ไปแบบนี้เรียกว่า "ไปอ้อยอิ่ง" ใช้ในยามลาจากแฟนที่เพิ่งจะ"ข้าวใหม่ปลามัน"เลยนะ (ping)
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ตั้งจิต [​IMG]
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 3 คน ( เป็นสมาชิก 2 คน และ บุคคลทั่วไป 1 คน ) </TD><TD class=thead width="14%">





    </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>ตั้งจิต, :::เพชร::: </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- currently active users -->
    อ้าว คุณเพชรมาแล้ว งั้นผมไปก่อนนะ รอไม่มีใครอยู่ ผมจะมาใหม่
    คิคิ(b-smile)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    กลับแล้วครับ ไปไหนไม่ได้อยู่แล้วนี่คือบ้านเราครับ

    (b-lablin)

    .
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ยอดผู้ป่วยเพราะผลข้างเคียงจากยาพุ่ง
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->http://www.thaihealth.or.th/cms/deta...update&id=8373

    เพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวในรอบ 8 ปี ยาแก้ปวดอันตรายสุด<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    หนังสือพิมพ์เดอะวอสตรีทเจอร์นัลฉบับออนไลน์รายงานว่าผลการวิจัยเรื่องผลข้างเคียงจากการใช้ยาซึ่งทำให้กับองค์การอาหารสหรัฐฯระบุว่าจำนวนผู้ที่ได้รับความเจ็บป่วยและถึงแก่ชีวิตอันเป็นผลจากผลข้างเคียงรุนแรงจากการใช้ยาได้เพิ่มสูงขึ้นกว่า 2 เท่าตัวในช่วงเวลา 8 ปี
    <O:p</O:p
    <O:p[​IMG]
    </O:p
    ทั้งนี้เป็นการวิเคราะห์และประมวลผลจากทั้งระบบเฝ้าติดตามความปลอดภัยในการใช้ยาของอย.สหรัฐฯหรือเอฟดีเองและจากการรายงานของผู้บริโภคหรือบรรดาบริษัทเจ้าของผลิตภัณฑ์ยาที่สงสัยว่าเป็นการเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตจากผลข้างเคียงของยา<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    โดยผลการวิจัยนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์อายุรเวช อาร์คไคฟ์ส อ๊อฟ อินเทอร์นอล เมดิซินเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาและเป็นการศึกษาวิเคราะห์กรณีผลกระทบจากใช้ยาในลักษณะที่มีความรุนแรงและเกิดขึ้นในระหว่าง ปี ค.ศ. 1998 และ 2005 โดยทีมนักวิจัยร่วม 2 ทีม จากสถาบันเพื่อความปลอดภัยในการใช้ยา ในรัฐเพนซิลเวเนีย และโรงเรียนแพทย์แห่งมหาวิทยาลัย เวค ฟอเรสต์ ในรัฐแคโรไลนา<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สำหรับกรณีการเสียชีวิตจากผลข้างเคียงของยาที่รวมเข้ามาในการศึกษานี้เป็นการกรณีการเสียชีวิตที่ผ่านการสอบสวนจากเอฟดีเอแล้วและสรุปว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับผลข้างเคียงของยาจริงหรือมีสาเหตุมาจากผลข้างเคียงของยาโดยตรง ซึ่งอาจจะเป็นยาชนิดเดียวหรือหลายชนิดร่วมกันก็ตาม
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    และคำนิยามที่นักวิจัยได้ให้ไว้เกี่ยวกับขอบเขตของคำว่า “ผลข้างเคียงที่รุนแรง” หมายรวมถึงกรณีที่นำไปสู่การเสียชีวิต ก่อให้เกิดความพิการแต่กำเนิด ทำให้ทุพลภาพ ต้องนำส่งโรงพยาบาล และเป็นภัยต่อชีวิตจนต้องได้รับการรักษาด้วยยา<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    โดยการวิจัยนี้พบว่า ตั้งแต่ ปีค.ศ. 1998 ถึง 2005 มีการรายงานกรณีผลข้างเคียงจากการใช้ยาอย่างรุนแรงสะสมทั้งสิ้น 467,809 กรณี และถ้าดูสถิติรายปีจะพบว่าเพิ่มขึ้นจาก 34,966 รายในปี 1998 เป็น 89,842 ในปี 2005 และในจำนวนนี้เป็นกรณีที่ถึงแก่ชีวิต 5,519 ราย ในปี 1998 ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็น 15,107 รายในปี 2005 <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    นอกจากนี้แล้วรายงานฉบับนี้ยังระบุอีกด้วยว่าโดยภาพรวมแล้วอัตราการเพิ่มขึ้นของกรณีการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากผลข้างเคียงร้ายแรงของการใช้ยาเพิ่มขึ้นสูงกว่าถึง 4 เท่าตัวเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการโตของจำนวนครั้งในการจ่ายยาในแผนกผู้ป่วยนอกซึ่งเพิ่มจาก 2.7 พันล้านครั้ง เป็น 3.8 พันล้านครั้งในช่วงเวลาเดียวกัน<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    โทมัส เจ มอร์ ซึ่งหนึ่งในผู้เขียนผลการวิจัยนี้กล่าวว่า สิ่งที่น่าตกใจประการหนึ่งก็คือว่ายาที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาตโดยอย.หลังจากพบว่าไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคกลับคิดเป็นเพียงแค่ส่วนเล็ก ๆ ในกรณีการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากผลข้างเคียงรุนแรงของยาเท่านั้นเอง<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    และยิ่งไปกว่านั้นคือยา 2 ตัวที่พบว่าเป็นสาเหตุของกรณีผลค้างเคียงรุนแรงของยาเป็นยาในกลุ่มยาแก้ปวดชนิดแรง คือ oxycodone และ fentanyl

    ที่มา :<O:p</O:p
    ข้อมูลจาก : สำนักข่าวต่างประเทศ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ<O:p</O:p
    ภาพประกอบ : Team www.thaihealth.or.th
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.positioningmag.com/Magazine/Details.aspx?id=63042


    พิษบาทแข็ง <HR class=b>สุกรี แมนชัยนิมิต
    Positioning Magazine กันยายน 2550

    เงินบาทแข็งค่า กำลังกลายเป็น “บทเรียน” ครั้งใหญ่ ที่คนไทยทุกคนต้องเรียนรู้ อะไร คือต้นตอของปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของไทยต้องตกต่ำ ถึงขั้นที่ภาคส่งออกของไทยต้องทยอยปิดโรงงาน คนตกงานนับหมื่นคน พิษสงของค่าเงินบาทยังส่งผลให้ ยอดโฆษณาหดหาย ยอดขายรถยนต์ต่ำ ธุรกิจท่องเที่ยวออกอาการโคม่า เพราะเหตุใด ยาแก้พิษเงินบาทของแบงก์ชาติจึงใช้ไม่ได้ผล และดูเหมือนว่าอาการไข้ของพิษบาทแข็งกลับยิ่งทรุดหนัก ยิ่งมาเจอแรงปัญหา สินเชื่อบ้าน Subprime ของสหรัฐอเมริกา ที่ซัดกระหน่ำไปทั่วโลก ถึงเวลาแล้วหรือยัง ที่ประเทศไทยต้องมาค้นหาตัวเองเพื่อกำหนด Positioning ใหม่ในการหาที่ยืนบนโลกใบนี้

    พนักงานกว่า 6 พันคน ที่เคยตื่นเช้า เข้าโรงงานเพื่อทำงานทุกวัน เป็นอย่างนี้มานานนับ 10 ปีที่โรงงานไทยศิลป์ อาคเนย์ อิมพอร์ต เอ็กซ์พอร์ต ย่านสมุทรปราการ แต่สำหรับตั้งแต่เช้าวันที่ 11 กรกฎาคม 2550 พวกเขาถูกเลิกจ้าง!

    ขณะที่เจ้าของโรงงานไทยศิลป์ฯ ออกมาแถลงพร้อมน้ำตาถึงภาระที่รับไม่ไหวกับการรับออเดอร์ผลิตชุดกีฬาให้กับ ”ไนกี้ และอาดิดาส” ทั้งที่ผลิตให้นานนับสิบปี แต่นานเกือบปีแล้วที่สู้ต้นทุนไม่ได้กับคู่แข่ง และปัญหา “ค่าเงินบาทแข็ง” ทำให้ยิ่งขาดทุนหนักยิ่งขึ้น จนปิดกิจการอย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม 2550

    ชีวิตที่เคว้งคว้าง ไร้งานทำ จนมาถึงการปิดถนนประท้วง และต่อรองกับนายจ้างเพื่อจ่ายค่าชดเชย กลายเป็นประเด็นข่าวที่ย้ำให้เห็นว่าปัญหาเศรษฐกิจ และ “ค่าเงินบาทแข็ง” ไม่ใช่เรื่องที่ควรถูกเพิกเฉยอีกต่อไป ไม่ว่าเบื้องหน้าเบื้องหลังของการปิดโรงงานจะมาจากสาเหตุใดก็ตาม แต่ที่ชัดเจนคือ “บาทแข็งค่า” คือหนึ่งในสาเหตุของปัญหา เพราะในอีกไม่กี่วันต่อมาพนักงาน 4 พันคนของบริษัทยูเนี่ยนฟุตแวร์ จำกัด (มหาชน) ก็ต้องอยู่ในชะตากรรมเดียวกับพนักงานไทยศิลป์ฯ

    กรณีของยูเนี่ยนฟุตแวร์ ถูกกระตุ้นให้คนสนใจปัญหา ”ค่าเงินบาทแข็ง” มากยิ่งขึ้น เพราะยูเนี่ยนฟุตแวร์ เป็นทั้งผู้ผลิตรองเท้าตามออเดอร์ (OEM) ให้แบรนด์ดัง ๆ ของต่างประเทศ และยังพยายามสร้างแบรนด์รองเท้าของตัวเองคือ “ดี-แมค” ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในเครือยักษ์ใหญ่สิ่งทออย่าง “สหยูเนี่ยน”

    รวมแล้วกว่า 1 หมื่นชีวิตภายใน 1 เดือนที่เป็นเหยื่อของปัญหา ”เงินบาทแข็งค่า” ในยุคเศรษฐกิจไทยปี 2550

    หมื่นชีวิตเหยื่อบาทแข็ง

    คนงานไทยศิลป์ฯ และยูเนี่ยนฟุตแวร์ รวมแล้วเกือบ 1 หมื่นชีวิตที่ต้องตกงาน เป็นเหยื่อของปัญหาเงินบาทแข็งค่า นอกเหนือจากพนักงานอีกนับหมื่นคนในโรงงานขนาดเล็กที่ต้องปิดตัวอย่างเงียบๆ แต่ความลำบากของคนงานนั้นหนักหนาสาหัสมากเกินกว่าความเงียบจะบดบังไว้ได้ เพราะนอกจากตัวพนักงานแล้ว ยังมีครอบครัวที่เดือดร้อนไปพร้อมๆ กันอีกหลายหมื่นคน

    ปัญหา ”เงินบาทแข็งค่า” จึงไม่เพียงแต่ทำให้ผู้ส่งออกสินค้ามีรายได้ลดลงเท่านั้น แต่เมื่อคนงานตกงาน ผลพวงที่ตามมาคือกำลังซื้อของคนไทยหดลงอย่างน่าใจหาย และนี่คือปมใหม่ที่จะก่อให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจลุกลามตามมา

    เห็นได้จากเครื่องวัดสัญญาณอันตรายทางเศรษฐกิจล่าสุดคือ ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ที่แถลงโดย ”ธนวรรธน์ พลวิชัย” ผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจ และธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ว่า ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทยเดือนกรกฎาคม 2550 ต่ำสุดในรอบ 66 เดือน มาอยู่ที่ 70.0 เป็นความเชื่อมั่นต่ำกว่า 100 ต่อเนื่องนาน 39 เดือน

    เมื่อความเชื่อมั่นในภาวะเศรษฐกิจลดลง ก็ทำให้ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับโอกาสการหางานทำอยู่ที่ 70.8 และดัชนีความเชื่อมั่นเกี่ยวกับรายได้ในอนาคตอยู่ที่ 86.6 จากเดือนมิถุนายน 2550 ความเชื่อมั่นอยู่สูงกว่า และหากเทียบกับความเชื่อมั่นในเดือนกุมภาพันธ์แล้วถือว่าต่ำกว่ามาก

    สาเหตุหนึ่งที่ดึงความเชื่อมั่นลดลง คือ ”บาทแข็งค่า” ในเดือนกรกฎาคมอยู่ที่ 33.80 บาทต่อดอลลาร์ จากเดือนมิถุนายน อยู่ที่ 34.54 บาท

    นอกจากนี้ยังมีสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่แถลงดัชนีความเชื่อมั่นของภาคอุตสาหกรรมไทยในเดือนกรกฎาคมเช่นเดียวกัน ว่าลดลงมาอยู่ที่ 72.7 จากมิถุนายนอยู่ที่ 80.9 เป็นความเชื่อมั่นที่ต่ำสุดในรอบ 4 ปี หรือต่ำกว่า 100 มาต่อเนื่อง 16 เดือน เพราะสาเหตุที่เรื้อรังมานานเกี่ยวกับสถานการณ์การเมือง และถูกกระหน่ำด้วยปัญหาค่าเงินบาท ที่ทำให้ยอดคำสั่งซื้อ และยอดขายลดลง

    สรุปสาเหตุที่ทั้ง 2 ความเชื่อมั่นลดลงชัดเจน คือ อัตราแลกเปลี่ยนที่เงินบาทแข็งค่าขึ้น เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ปัญหาเศรษฐกิจโลก ราคาน้ำมัน และการเมืองในประเทศ

    สัญญาณร้าย หนี้คนไทยพุ่ง

    สิ่งสะท้อนที่ทำให้เห็นว่าปัญหาเศรษฐกิจเริ่มรุนแรงและเข้าใกล้ตัวมากขึ้น ต้องอ้างอิงถึงผลสำรวจสภาพหนี้ครัวเรือนของประชาชนล่าสุด โดยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ที่สำรวจเมื่อวันที่ 10-15 สิงหาคม 2550 พบว่าคนไทย 1 บ้าน มีหนี้ 132,262 บาท มากกว่าปี 2549 อยู่ที่ 116,839 บาท โดยหนี้ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่หรือประมาณ 54% บอกว่ากู้มาเพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน จากปี 2549 ที่มีเพียง 35% ที่บอกว่ากู้มาเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือการกู้เพื่อซื้อที่อยู่อาศัยลดลงอย่างเห็นได้ชัด คือปี 2550 จำนวน 6.4% บอกว่ากู้เพื่อซื้อที่อยู่อาศัย แต่ปี 2549 กู้เพื่อซื้อที่อยู่อาศัยถึง 16.8%

    หากมองภาพรวมแล้วหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีในปีขณะนี้อยู่ที่ 31.23% ของจีดีพี สูงกว่าปีก่อนอยู่ที่ 29.09% ซึ่งอัตราที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 30% โดยคาดว่าจีดีพีปี 2550 จะเติบโตประมาณ 4% ด้วยมูลค่า 8.34 ล้านล้านบาท

    ผลที่เกิดขึ้นใกล้ตัวมากยิ่งขึ้น ยังวัดได้จากพฤติกรรมของผู้บริโภคในการจับจ่ายใช้สอยสิ่งของต่างๆ เช่น ยอดขายรถยนต์ช่วงเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2550 มียอดรวมเพียง 3.34 แสนคัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนถึง 10.8% จากภาวะปกติยอดขายรถเฉลี่ยเติบโตถึง 10%

    หรือแม้แต่อุตสาหกรรมโฆษณา ที่บริษัทนีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) รายงานว่า เม็ดเงินโฆษณาในช่วง 6 เดือนแรกปี 2550 มีมูลค่า 43,603 ล้านบาท ลดลง 0.48% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนที่มีมูลค่า 43,813 ล้านบาท ซึ่งแน่นอนเพราะความไม่เชื่อมั่นของเจ้าของสินค้าและบริการในการทำตลาด จากความไม่เชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ไม่มั่นใจต่อภาวะเศรษฐกิจ จึงทำให้ชะลอการใช้จ่ายเพื่อใช้สื่อโฆษณา

    นี่คือสภาพปัญหา ”เงินบาทแข็งค่า” ที่เกิดปมตั้งแต่ธุรกิจส่งออก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมสิ่งทอที่มีคนงานนับแสนคนในเกือบ 2 พันโรงงาน และกำลังลุกลามไปยังอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นอาหารแช่แข็ง และเครื่องใช้ไฟฟ้า ส่งผลถึงปากท้องของชาวบ้าน ซึ่งทั้งนักวิชาการ นักธุรกิจ ต่างส่งสัญญาณเตือนว่า หากไม่เฝ้าระวัง ติดตามสาเหตุอย่างใกล้ชิด เพื่อหามาตรการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา อาจเกิดวิกฤตเศรษฐกิจรอบใหม่ขึ้นมาได้

    นอกเหนือจากนี้ยังต้องลุ้นทุกครั้งกับทางการ ทั้งธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือแบงก์ชาติในการออกมาตรการต่างๆ เพื่อบริหารค่าเงิน การลุ้นกับรัฐบาล ”ขิงแก่” ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพราะยิ่งเวลาผ่านไป ค่าเงินบาทยิ่งแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมาตรการกระตุ้นไร้ผล หรือหากบางเวลาที่อ่อนค่าลง อย่างในช่วงต้นเดือนสิงหาคม 2550 ก็เป็นเพราะปัญหาเศรษฐกิจโลก จากการที่นักลงทุนถอนเงินออกจากตลาดหุ้นทั่วโลกรวมทั้งตลาดหุ้นไทย เพราะผลกระทบจากปัญหา ”ซับไพร์ม โลน” ในสหรัฐอเมริกา แต่ก็คือเหตุการณ์พาไปชั่วคราว หาได้เป็นเพราะฝีมือการบริหารค่าเงินให้อ่อนลงของทางการแต่อย่างใด

    ปัญหาเศรษฐกิจรอบนี้ จึงถือเป็นการตอกย้ำอีกครั้งให้เห็นถึงโครงสร้างเศรษฐกิจของไทยที่อ่อนแอ เพราะทุกครั้งที่เจอแรงลมจากต่างชาติ เศรษฐกิจไทยก็ต้องล้ม ป่วยไข้ทุกครั้งไป ซึ่งอย่างน้อย 3 ครั้งกับวิกฤตค่าเงินบาทในช่วง 26 ปีที่ผ่านมา หลังเจ็บปวดเยียวยาด้วยยาหลายขนาน ทั้งถูก ผิด แล้ว ประเทศไทยต้องใช้เวลาอีกหลายปีกว่าจะฟื้นและแข็งแรง วนเวียนอยู่อย่างนี้ตลอดเวลา

    อย่างไรก็ตาม ในอีกด้านหนึ่งของ ”เงินบาทที่แข็งค่า” มีหลายคนพูดถึงด้านดีที่เกิดขึ้น เช่น อย่างน้อยน้ำมันไม่ขึ้นราคา แม้ว่าจะไม่ค่อยลดลงก็ตาม หรือการไปเรียนต่างประเทศในราคาที่ถูกลง การไปท่องเที่ยวต่างประเทศถูกลง การซื้อของจากต่างประเทศถูกลง หรือการซื้อเครื่องจักรมาลงทุนถูกลง แต่จะมีประโยชน์เพียงใด เมื่อซื้อเครื่องจักรมาผลิตสินค้า แต่ไม่มีคนซื้อ หรือแม้แต่การเกิดธุรกิจใหม่ๆ ของธนาคารก็ได้รับผลดีจากผลิตภัณฑ์ทางการเงินมากขึ้น

    แต่ทั้งหมดคือต้องชั่งน้ำหนักอย่างดีว่าใครได้ ใครเสีย เพื่อให้เศรษฐกิจประเทศมีสมดุล

    หา Positioning เพื่อทางรอด

    สำหรับผู้ประกอบการแล้ว ค่าเงินบาทที่สร้างปัญหาให้เศรษฐกิจ และธุรกิจมาแล้วอย่างน้อย 3 ครั้ง น่าจะเพียงพอแล้วกับความเจ็บปวด และสูญเสีย หลายคนบอกว่าถึงเวลาที่ควรเริ่มต้นย้อนกลับมาดูตัวเอง ค้นหา Positioning ที่ลงตัว และปรับตัวเพื่อให้อยู่รอดปลอดภัยมากที่สุด “นวัตกรรม และความสร้างสรรค์” คือบทสรุปที่หลายธุรกิจต้องมีเป็นอาวุธสู้รบกับตลาดโลก เช่นข้อเสนอแนะของ ”บัณฑูร ล่ำซำ” ซีอีโอของธนาคารกสิกรไทย และมีอย่างน้อย 3 กรณีศึกษาในธุรกิจสิ่งทอ ที่สามารถสร้างตัวเองประสบความสำเร็จในตลาดโลก ไม่ว่าจะเป็น จิม ทอมป์สัน ฟลายนาว หรือ พาสายา จากความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างจุดต่างของสินค้าในตลาดต่างประเทศ

    การเริ่มต้น ณ เวลานี้ในการสร้างความแข็งแกร่งให้ธุรกิจตัวเองอาจไม่ทันการกับปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น แต่หากยังไม่เริ่มประเทศไทยอาจไม่มีที่ยืนบนแผนที่โลกก็เป็นได้
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.mahidol.ac.th/mahidol/ra/rapc/

    ทำอย่างไรจึงจะอยู่อย่างมีความสุข


    [หน้าหลัก] ......[หน้าสุขภาพจิตน่ารู้]
    ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
    นางจิรา เติมจิตรอารีย์ พยาบาลจิตเวช ภาควิชาจิตเวชศาสตร์


    <CENTER>
    </CENTER>ความเอ๋ย ความสุข
    ใครๆทุกคน ชอบเจ้า เฝ้าวิ่งหา
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
    http://www.mahamakuta.inet.co.th/buddhism/somdet/somdet.htm

    สมเด็จพระสังฆราชกรุงรัตนโกสินทร์ รวม ๑๙ พระองค์

    <CENTER><TABLE borderColor=#0000ff cellSpacing=1 borderColorDark=#ff00ff width="100%" borderColorLight=#00ff00 border=1 top?><TBODY><TR><TD align=middle width=219></TD><TD vAlign=top align=middle width=150>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงษญาณ (ศุข)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=131>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงษญาณ
    (มี)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=132>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงษญาณ (สุก)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=137>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงษญาณ (ด่อน)

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=219>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงษญาณปริยัติ
    ยวราสังฆราชาบดี สมเด็จพระสังฆราช (นาค)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=150>[​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (พระองค์เจ้าวาสุกรี)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=131>[​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=132>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (สา ปุสสเทว)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=137>[​IMG]
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส (พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ)

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=219>[​IMG]
    สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ (หม่อมเจ้าภุชงค์)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=150>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (แพ ติสสเทโว)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=131>[​IMG]
    สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์
    (ม.ร.ว. ชื่น นภวงศ์)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=132>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (ปลด กิตติโสภโณ)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=137>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (อยู่ ญาโณทโย)

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=219>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (จวน อุฏฐายี)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=150>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (ปุ่น ปุณณสิริ)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=131>[​IMG]
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
    (วาสน์ วาสโน)

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=132>[​IMG]
    สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช


    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.mahamakuta.inet.co.th/buddhism/somdet/somdet01.htm

    ๑. สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) วัดระฆังโฆษิตาราม
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=200 height=204 rowSpan=6>[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>ภูมิลำเนาเดิม</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>(ไม่ปรากฏ)</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันประสูติ

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>(ไม่ปรากฏ)</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสถาปนา</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>พ.ศ.๒๓๒๕ ในรัชกาลที่ ๑</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>เดือน ๕ ปีขาล พ.ศ. ๒๓๓๗ ในรัชกาลที่ ๑</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>พระชนมายุ</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>(ไม่ปรากฏ)</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=459 colSpan=3 height=34>ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๑๑ ปีเศษ
    [NEXT]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    <HR width="50%" color=#0000ff SIZE=1>สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)
    วัดระฆังโฆสิตาราม
    พระองค์ที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    พระประวัติเบื้องต้น

    สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรก
    แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ท่านก็เคยทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช
    มาแล้วครั้งหนึ่ง ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแต่
    ในขณะนั้นเกิดความวุ่นวายกันไปทั่วทั้งราชอาณาจักรและพระพุทธจักร ท่านจึงต้อง
    พ้นจากตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชไประยะหนึ่ง
    สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) แต่เดิมคงจะเรียกว่าพระอาจารย์ศรี ทรงผนวชเป็น
    พระภิกษุอยู่ที่วัดพนัญเชิง อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อกรุงศรี
    อยุธยาเสียแก่พม่าในแผ่นดินพระเจ้าเอกทัศน์ วัดวาอารามถูกเผาวอดวาย
    พระภิกษุสามเณรต่างก็พากันหลบภัยไปอยู่ตามวัดต่างๆ ในต่างจังหวัด
    พระอาจารย์ศรีก็ได้หลบภัยไปจำพรรษาอยู่ที่วัดแห่งหนึ่งในเมืองนครศรีธรรมราช
    ที่ซึ่งพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาโดยตลอด ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๓๑๒
    สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ทรงยกทัพไปปราบก๊กเจ้านคร ซึ่งตั้งตัวเป็นใหญ่
    ที่เมืองนครศรีธรรมราช จึงได้อาราธนาพระอาจารย์ศรีขึ้นมาจำพรรษาอยู่ ณ
    วัดบางหว้าใหญ่ (ปัจจุบัน คือ วัดระฆังโฆสิตาราม) เนื่องด้วยทรงคุ้นเคย และรู้จัก
    เกียรติคุณของพระอาจารย์ศรี มาตั้งแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ในขณะนั้น
    พระอาจารย์ดีทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่ก่อน แต่ต่อมาภายหลัง
    สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงทราบว่า พระอาจารย์ดีเคยบอกที่ซ่อนทรัพย์
    ของผู้อื่นให้แก่พม่าเมื่อเวลาถูกขังอยู่ จึงโปรดให้ถอดออกจากตำแหน่งสมเด็จพระ
    สังฆราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ขึ้นแทน

    การปกครองคณะสงฆ์

    การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยเริ่มต้นของกรุงธนบุรีเป็นไปด้วยสันติสุข ด้วยเหตุที่
    สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงอุปถัมภ์กับสนับสนุนทุกวิถีทาง แต่พอเข้าปลาย
    ยุคกรุงธนบุรี การพระศาสนาก็เริ่มเสื่อมลง เนื่องด้วยสมเด็จพระเจ้าตากสินทรง
    สติฟั่นเฟือน ทรงถอดสมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ออกจากตำแหน่ง บ้านเมืองเกิด
    ความเดือดร้อนไปทุกหนแห่งจนกระทั่งสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก(ทองด้วง)
    ได้เข้ามาแก้ไขเหตุการณ์บ้านเมืองให้กลับสงบลง และปราบดาภิเษกขึ้นเป็น
    ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระ
    พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แล้วทรงจัดการให้บ้านเมืองอยู่ในสภาพปกติ
    และเจริญขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในด้านพระพุทธศาสนา ในปีที่เสด็จขึ้นครอง
    ราชสมบัตินี้ สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ได้รับสถาปนาดำรงตำแหน่งสมเด็จ
    พระสังฆราชอีกครั้งหนึ่ง การพระศาสนารุ่งเรืองขึ้นมาก

    การสังคายนาพระไตรปิฎก

    พ.ศ. ๒๓๓๑ เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงมี
    พระราชประสงค์จะให้รวบรวมและสังคายนาพระไตรปิฎกที่กระจัดกระจาย
    ครั้งเสียกรุงให้ถูกต้องและครบสมบูรณ์นั้น สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ก็ได้
    รับสั่งให้ประชุมพระราชาคณะ ที่วัดบางหว้าใหญ่ ทรงเลือกพระราชาคณะ
    ได้ ๒๘ รูป และราชบัณฑิตยาจารย์ ๓๒ คน ทำสังคายนาที่วัดนิพพานาราม
    (คือ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์) โดยจารึกลงในใบลานใหญ่ เสร็จแล้ว
    พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงให้ปิดทองทึบทั้ง
    หน้าปกและหลังปก ทรงโปรดให้เรียกว่า
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.mahamakuta.inet.co.th/buddhism/somdet/somdet02.htm

    ๒. สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข) วัดมหาธาตุ
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=200 height=204 rowSpan=6>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>ภูมิลำเนาเดิม</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=306 height=34>(ไม่ปรากฏ)</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันประสูติ

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=306 height=34>(ไม่ปรากฏ)</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสถาปนา</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=306 height=34>ปีขาล พ.ศ. ๒๓๓๗ ในรัชกาลที่ ๑</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=306 height=34>วันพุธ เดือน ๖ แรม ๑๑ ค่ำ ปีชวด พ.ศ. ๒๓๕๙ ในรัชกาลที่ ๒
    (๑๗ เมษายน ๒๓๕๙)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>พระชนมายุ</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=306 height=34>ประมาณ ๘๐ พรรษา</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=466 colSpan=3 height=34>ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๒๑ ปี เศษ
    [NEXT]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <HR width="50%" color=#0000ff SIZE=1>สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)
    วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์
    พระองค์ที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    พระประวัติเบื้องต้น

    สมเด็จพระสังฆราช (ศุข) ทรงมีพระประวัติในเบื้องต้นเป็นมาอย่างไร
    ไม่ปรากฏหลักฐานเช่นเดียวกับสมเด็จพระสังฆราช (ศรี) เมื่อครั้ง
    กรุงธนบุรี ทรงเป็นพระราชาคณะที่ พระญาณสมโพธิ อยู่วัดมหาธาตุ ถึง
    พ.ศ. ๒๓๒๓ ในสมัยกรุงธนบุรี ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระธรรมเจดีย์
    มาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑
    แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดให้เลื่อนเป็นพระพนรัตน ซึ่งเป็นตำแหน่งรอง
    สมเด็จพระสังฆราช ดังที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงอธิบายไว้
    ว่า
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.mahamakuta.inet.co.th/buddhism/somdet/somdet03.htm

    ๓. สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี) วัดมหาธาตุ
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=200 height=204 rowSpan=6>[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>ภูมิลำเนาเดิม</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=316 height=34>(ไม่ปรากฏ)</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันประสูติ

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=316 height=34>วันพุธ เดือน ๘ ขึ้น ๑๒ ค่ำ ปีมะเมีย (๑๕ กรกฏาคม ๒๒๙๓)
    ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกษฐแห่งกรุงศรีอยุธยา
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสถาปนา</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=316 height=34>วันพฤหัสบดี เดือน ๙ แรม ๗ ค่ำ ปีชวด พ.ศ. ๒๓๕๙
    ในรัชกาลที่ ๒
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=316 height=34>วันเสาร์ เดือน ๑๐ แรม ๗ ค่ำ ปีเถาะในรัชกาลที่ ๒
    (๑๑ กันยายน ๒๓๖๒)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>พระชนมายุ</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=316 height=34>๗๐ พรรษา</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left width=476 colSpan=3 height=34>ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๓ ปี ๑ เดือน
    [ NEXT]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    <HR width="50%" color=#0000ff SIZE=1>สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)
    วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์
    พระองค์ที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    พระประวัติเบื้องต้น

    สมเด็จพระสังฆราช (มี) มีพระประวัติในเบื้องต้นเป็นมาอย่างไร ไม่ทราบ
    รายละเอียด ปรากฏเพียงว่าประสูติเมื่อครั้งรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกษฐ
    แห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพุธ เดือน ๘ ขึ้น ๑๒ ค่ำ ปีมะเมีย จุลศักราช
    ๑๑๑๒ ตรงกับวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๒๙๓ เมื่อครั้งกรุงธนบุรี ทรงเป็น
    พระเปรียญเอก อยู่วัดเลียบ (วัดราชบูรณะ)
    ครั้น พ.ศ. ๒๓๒๕ เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
    ปราบดาภิเษกและสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดตั้ง
    เป็นพระราชาคณะที่พระวินัยรักขิต แทนตำแหน่งที่ พระอุปาฬี ซึ่งเป็น
    ตำแหน่งพระราชาคณะสามัญมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา โดยทรงพระราชดำริ
    ว่า ที่พระอุปาฬี ต้องกับนามพระอรหันต์ จึงโปรดให้แปลงนามเสียใหม่เป็น
    พระวินัยรักขิต ฉะนั้น สมเด็จพระสังฆราช (มี) จึงทรงเป็นพระราชาคณะ
    ในราชทินนามที่พระวินัยรักขิต เป็นรูปแรก
    พ.ศ. ๒๓๓๗ ในรัชกาลที่ ๑ โปรดให้เลื่อนขึ้นเป็นที่ พระพิมลธรรม
    ในคราวเดียวกับที่ทรงตั้งสมเด็จพระสังฆราช (ศุข) และสมเด็จพระพนรัตน
    วัดโพธาราม (วัดพระเชตุพน)
    ถึงรัชกาลที่ ๒ เมื่อสมเด็จพระพนรัตน วัดโพธาราม (วัดพระเชตุพน)
    ถึงมรณภาพราวต้นรัชกาล จึงทรงตั้งเป็น สมเด็จพระพนรัตน
    สมณทูตไปลังกาครั้งแรกในยุคกรุงรัตนโกสินทร์

    เมื่อครั้งทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ สมเด็จพระพนรัตน สมเด็จพระสังฆราช (มี)
    ได้ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจที่สำคัญครั้งหนึ่ง คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธ
    เลิศหล้านภาลัยทรงมีพระราชดำริให้พระสงฆ์ไทยออกไปสืบข่าวพระศาสนา
    ยังลังกาทวีป แต่เนื่องจากสมเด็จพระสังฆราช (ศุข) ขณะนั้นทรงชราภาพ
    จึงทรงมอบหมายให้สมเด็จพระพนรัตน (มี) เป็นผู้จัดสมณทูตเพื่อออกไป
    ยังลังกาทวีปในครั้งนั้น อนึ่ง เมื่อสมณทูตไทยกลับมาคราวนั้น ได้หน่อ
    พระศรีมหาโพธิเมืองอนุราธบุรีเข้ามาด้วย ๖ ต้น ปลูกไว้ที่เมืองกลันตัน
    ต้นหนึ่ง ปลูกที่เมืองนครสองต้น ได้เข้ามาถวายสามต้น โปรดให้ปลูกไว้ที่
    วัดสุทัศน์ต้นหนึ่ง วัดมหาธาตุต้นหนึ่ง วัดสระเกศต้นหนึ่ง
    พระกรณียกิจครั้งนี้นับว่าเป็นพระเกียรติประวัติที่สำคัญ เพราะเป็นการรื้อฟื้น
    ศาสนไมตรีระหว่างไทยกับลังกาที่เริดร้างกันมากว่าครึ่งศตวรรษขึ้นมาอีกครั้ง
    หนึ่ง ทั้งเป็นการปูทางให้แก่สมณทูตไทยในรัชกาลต่อมา ซึ่งยังผลให้คณะสงฆ์
    ไทยและลังกามีการติดต่อสัมพันธ์กันใกล้ชิดยิ่งขึ้น อันเป็นการเอื้อประโยชน์
    แก่กันและกันในทางพระศาสนาในเวลาต่อมาเป็นอันมาก

    สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    พ.ศ. ๒๓๕๙ ในรัชกาลที่ ๒ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข) สิ้นพระชนม์
    พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงทรงตั้งสมเด็จพระพนรัตน (มี)
    เป็นสมเด็จพระสังฆราช ในราชทินนามว่า
     

แชร์หน้านี้

Loading...