ประเทศไทยจะเกิดอุบัติภัยอย่างที่ทำนายกันจริงๆหรือไม่

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย koymoo, 25 มกราคม 2005.

  1. KritZ_2530

    KritZ_2530 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    263
    ค่าพลัง:
    +293
    โลกมันสมดุล ไม่ใช่ไปฟันธงเล่นๆ ว่าโลกร้อน เดี๋ยวมันจะเป็นอาเพท

    เรียกว่าพวกไม่เคารพกฎของธรรมชาติ มันไม่เคารพคำว่า "สมดุล"

    หัวของฝรั่ง ไม่มีคำว่าสมดุล มันชอบตัดสินทุกอย่างว่า "ร้อน" หรือ "เย็น"

    ไอ้ตรงกลางๆ มันไม่รู้จักหรอก
     
  2. KritZ_2530

    KritZ_2530 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    263
    ค่าพลัง:
    +293
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
    โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล โลกสมดุล
     
  3. KritZ_2530

    KritZ_2530 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    263
    ค่าพลัง:
    +293
    ไม่มีอะไรหรอก โลกมันก็สมดุลดี แต่ไอ้หรั่งมันใช้ชีวิตไม่สมดุลเอง!!!

    มันมีกลไกที่พยายามปรับตัวเข้าสู่สภาวะสมดุลเองแหละ

    ไม่มีอะไรมากไปกว่านี้หรอก

    ถ้าประเทศไทยใช้ชีวิตอย่างสมดุลตามคำสั่งสอนของพุทธเรา

    มันก็ไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง วางใจได้เลย ยืนยัน!!!
     
  4. KritZ_2530

    KritZ_2530 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    263
    ค่าพลัง:
    +293
    และประเทศไทยเป็นประเทศแรกของโลกที่จะพ้นจากภัยพิบัติ

    เพราะว่าเราพบว่า "โลกสมดุล" อย่าไปเก่งกว่า กฎของธรรมชาติสิ

    อย่าไปด่าโลกมันว่า "โลกร้อน" มันจะเป็นอาเพท
     
  5. KritZ_2530

    KritZ_2530 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    263
    ค่าพลัง:
    +293
    ทีนี้เชื่อแล้วหรือยังว่าการเอาของมงคลห้อยคอ
    จะเป็นการปรับสภาพจิตใจของเราให้สมดุล~!!!

    ใจคนมักคิดในแง่ลบ รักที่จะลงนรกก็ว่า!
    จึงต้องเอาของมงคล(บวก)มาห้อยคอ
    เพื่อเป็นการปรับควาสมดุล


    ทีนี้ท่านเชื่อแล้วหรือยัง รู้แล้วก็ไปปฏิบัติได้!!!
     
  6. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** อย่าเอาท้องฟ้ามาเป็นสนามรบ ****

    หลักเดียวที่มั่นคง...คือ หลักสัจจะธรรม
    หนทางหลุดพ้นทุกข์ หนึ่งไม่มีสอง....คือ โลกุตตระธรรม
    ธรรมของโลกุตตระ...คือ สัจจะ
    สัจจะ....จะนำพาสัตว์โลกหลุดพ้นทุกข์

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  7. KritZ_2530

    KritZ_2530 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    263
    ค่าพลัง:
    +293
    ใครตัดสินว่า "โลกร้อน" ประเทศนั้นก็จะโดนสาป
    อย่าไปด่าว่าโลกมันร้อน อีกหล่ะ!!!

    กฎของธรรมชาติ คือคำว่า "สมดุล" ไม่น้อยไปไม่มากไป
     
  8. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** ศึกษา รู้ให้ทันสัจจะธรรม ****

    อาจารย์ สอนให้ทำความดี สะสมบุญบารมี สอนให้มีพลัง...แต่ยังไม่พ้นทุกข์พ้นกรรม
    โลกุตตระ สอนให้พิจารณาความจริง พิจารณาเหตุผล ค้นหาตัวตนที่ส่งผลตอบแทน....
    จึงพบสัจจะธรรม หลักเดียวที่มีอยู่จริง
    พระพุทธเจ้า สอนให้ตัดลดกิเลสนิสัย ตัญหาราชามานะทิฐิทั้งมวล...ด้วยสัจจะ
    สอนให้เมตตาตน....ด้วยการกระทำตัดลดนิสัยตนเองให้ได้จริง
    เพื่อเกิดเป็นตัวตนของการกระทำ เป็นบารมีติดตัว ช่วยหนุนนำให้รอดพ้นกรรมที่จะปรากฏ

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  9. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** บรรลุอรหันต์ ****

    คือ ผู้ทำได้ใกล้เอื้อม
    สามารถตัดลดนิสัยได้จนหมดสิ้น พบเห็นอะไรก็ไม่เกิดอารมณ์

    ไม่ใช่เรื่องยาก
    คือ ต้องมีสัจจะนำการกระทำ ทุกวันเป็นประจำ วันละข้อที่ชัดเจนแล้วทำได้จริง
    นิสัยต่างๆจะลดลง และหมดไปได้ในที่สุด
    ถ้ามนุษย์คนไหนยังไม่ได้เริ่มต้นตัดลดนิสัยด้วยสัจจะ
    นิสัยเหล่านั้น ก็ยังคงกองอยู่ในตัวเอง

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  10. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,192
    ถนนเข้าท่าเทียบเรือแหลมฉบังทรุดตัวเป็นหลุมขนาดใหญ่

    [​IMG]

    ชลบุรี 20 ม.ค.-การขนส่งสินค้าที่ท่าเทียบเรือแหลมฉบังต้องหยุดชะงัก หลังถนนเข้าท่าเทียบเรือเกิดทรุดตัวเป็นหลุมขนาดใหญ่ ทำให้รถเข้ามารับส่งสินค้าไม่ได้

    สภาพถนนสายตะเคียนเตี้ย-โรงโป๊ะใน อ.บางละมุง จ.ชลบุรี ที่ทรุดตัวเป็นหลุมขนาดความกว้าง 2 เมตร ยาว 6 เมตร และลึกกว่า 3 เมตร เจ้าหน้าที่ต้องกันรถทุกชนิดไม่ให้สัญจรผ่าน เนื่องจากเกรงอันตรายที่จะเกิดขึ้น ทำให้รถขนส่งสินค้าท่าเทียบเรือแหลมฉบังที่ต้องใช้เส้นทางดังกล่าว ไม่สามารถเดินทางไปยังท่าเทียบเรือได้ เบื้องต้นเจ้าหน้าที่ได้นำดินมาถมซ่อมแซมชั่วคราว เพื่อให้ชาวบ้านใช้สัญจรได้ แต่ยังไม่อนุญาตให้รถขนส่งสินค้าผ่าน

    ด้านปลัด อบต.หนองปลาไหล กล่าวว่า ก่อนหน้านี้เพิ่งมาตรวจสอบถนนสายดังกล่าว หลังชาวบ้านพบรอยร้าว แต่ก็ไม่คิดว่าจะรุนแรง จนทำให้ถนนทรุดตัวพังลงมา โดยในวันนี้จะประสานไปยัง อบจ.ชลบุรี เพื่อเข้าตรวจสอบและปรับปรุงซ่อมแซมต่อไป.-สำนักข่าวไทย

    2010-01-20 03:08:51

    ชาวหมู่บ้านรินทร์ทองร้องขอปรับพื้นถนนทรุดก่อน

    [​IMG]

    ปทุมธานี 19 ม.ค.- “สาทิตย์” กำชับผู้ว่าฯ ปทุมธานี ให้เร่งเสนอของบฉุกเฉินแก้ปัญหาหมู่บ้านจัดสรรรินทร์ทอง ย่านลำลูกกาพื้นทรุดตัว ขณะที่ชาวบ้านร้องขอปรับพื้นถนนก่อนเป็นอันดับแรก หวั่นฝนเทท่วมหนัก

    เมื่อเวลา 16.00 น. วันนี้ (19 ม.ค.) นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ลงพื้นที่ตรวจปัญหาพื้นดินทรุดตัวอย่างมากในหมู่บ้านรินทร์ทอง ม.2 ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี กว่า 600 หลังคาเรือน โดยเฉพาะที่ได้รับผลกระทบหนักคือ ซอย 5, 6 และ 7 ทำให้อาคารชั้นสองมีรอยแยกออกมาเห็นได้ชัด ซึ่งเจ้าหน้าที่เตือนไม่ให้พักอาศัยชั่วคราว เพราะเกรงว่าอาจถล่มลงมา ขณะเดียวกันนายปรีชา บุตรศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี ได้ให้ช่างเทศบาลและหน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคเข้าตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง

    ส่วนพล.ต.ต.จตุรงค์ ภูมรินทร์ ผู้บังคับการกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค แนะให้เจ้าของบ้านสำรวจความเสียหายแล้วมาเข้าแจ้งความ ซึ่งจะดำเนินการให้เป็นคดีตัวอย่างที่เจ้าของโครงการก่อสร้างไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ส่วนการช่วยเหลือที่ชาวบ้านต้องการในเบื้องต้น คือ ปรับพื้นถนนทั้ง 3 ซอย เพราะเมื่อมีฝนตกลงมาน้ำจะท่วมซอยทันที

    พร้อมกันนี้นายสาทิตย์ ย้ำกับผู้ว่าฯ ปทุมธานี ว่าให้ทำเรื่องเสนอของบประมาณฉุกเฉิน เพื่อช่วยเหลือยกพื้นถนนให้ชาวบ้านก่อน หรืออาจต้องตอกเสาเข็มลงพื้นถนนทุกสายเพื่อรองรับไม่ให้พื้นทรุด.-สำนักข่าวไทย

    2010-01-19 18:40:34

    พบปลานับพันตัวลอยตายเกลื่อนคลองนาเกลือเมืองพัทยาเร่งเก็บพิสูจน์

    [​IMG]

    ชลบุรี 19 ม.ค.- ช่วงเย็นวันนี้ (19 ม.ค.) นายรณกิจ เอกะสิงห์ รองนายกเมืองพัทยา เปิดเผยว่า ได้รับแจ้งว่าที่บริเวณสะพานชุมชนโบ้เบ้ คลองนาเกลือ ม.4 ต.นาเกลือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี มีปลาจำนวนมากลอยตายตามกระแสน้ำ หลังเดินทางไปตรวจสอบ พบว่ามีปลาจำนวนนับพันตัวตายลอยตามกระแสน้ำ

    จากการตรวจสอบพบว่าส่วนใหญ่เป็นปลาซ็อคเกอร์ ส่วนที่เหลือมีปลานิล ปลาสวาย มีชาวบ้านบางส่วนเลือกจับปลาสวาย ปลานิล ไปรับประทาน ขณะที่เมืองพัทยาได้ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบตลอดลำคลองนาเกลือแล้ว พบว่าปลาที่ลอยตายจำนวนมากมาจากคลองนาเกลือก่อนไหลออกทะเล และพบว่าบริเวณสะพานปากคลองนาเกลือพบปลาซ็อคเกอร์ลอยตายเกลื่อนก่อนลงทะเล

    จึงได้ให้เจ้าหน้าที่ช่วยกันนำซากปลาซ็อคเกอร์ไปพิสูจน์ พร้อมเตือนชาวบ้านอย่านำปลาไปรับประทาน เนื่องจากไม่ทราบว่าสาเหตุปลาตายมาจากอะไร อาจเป็นอันตรายได้.-สำนักข่าวไทย

    2010-01-19 19:33:19

    ทหารพรานสกัดจับผลักดันกลับประเทศเด็กขอทานเขมร 36 คน

    [​IMG]

    สระแก้ว 19 ม.ค. - เมื่อเวลา 15.00 น.วันนี้ (19 ม.ค.) พ.อ.วสุ เจียมสุข ผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจ กรมทหารพรานที่ 12 กองกำลังบูรพา (ผบ.ฉก.กรม.ทพ.12 กกล.บูรพา) รับเรื่องร้องเรียนจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางผ่านด่านพรมแดนอรัญประเทศ จุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ว่าได้รับความเดือดร้อนและรำคาญจากเด็กขอทานชาวเขมรจำนวนมากที่มั่วสุมอยู่บริเวณหน้าด่านพรมแดนอรัญประเทศ

    บางรายได้ฉกชิงโทรศัพท์มือถือ แล้ววิ่งหลบหนีกลับออกไปในฝั่งกัมพูชา จึงสั่งการให้ ร.อ.ชาญ ว่องไวเมธี ผู้บังคับกองร้อยทหารพรานที่ 1206 ฉก.กรม.ทพ.12 กกล.บูรพา นำกำลังออกทำการกวาดล้างจับกุมเด็กชาวเขมรที่เข้ามาขอทานบริเวณหน้าด่านพรมแดนอรัญประเทศ สามารถควบคุมได้จำนวน 36 คน เป็นเด็กชาย 16 คน และ เด็กหญิง 20 คน อายุอยู่ระหว่าง 7-14 ปี จึงนำตัวมาอบรมที่กองร้อยทหารพรานคลองลึก และสั่งห้ามเข้ามาขอทานหรือก่อความรำคาญให้กับนักท่องเที่ยวในเขตไทย ก่อนจะนำเด็กขอทานเหล่านี้ผลักดันกลับประเทศบริเวณด่านพรมแดนอรัญประเทศ

    ด้าน ร.อ.ชาญ กล่าวว่า จากการสอบถามเด็กขอทานชาวเขมรพบว่าบางรายเคยติดตามพ่อ แม่ไปขอทานอยู่ใน กทม.และพึ่งถูกทางการไทยกวาดล้างจับกุมแล้วผลักดันกลับประเทศ บริเวณด่านพรมแดนอรัญประเทศ แต่เนื่องจากในกัมพูชาไม่มีงานให้ทำจึงส่งลูกเข้ามาขอทานอยู่บริเวณตลาดโรงเกลือและด่านพรมแดนอรัญประเทศ.-สำนักข่าวไทย

    2010-01-19 18:00:06

    แม่ฮ่องสอนยึดไม้เถื่อนบนเขาป่าแม่กะไน-มอดไม้ไหวทันหนีรอด

    [​IMG]

    แม่ฮ่องสอน 19 ม.ค. - นายเดชา สัตถาผล นายอำเภอแม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน นำกำลัง อส. สนธิตำรวจ-ทหาร และหน่วยป้องกันรักษาป่าแม่กะไนกว่า 30 นาย เข้าตรวจสอบพื้นที่ป่าลำห้วยแม่สะเรียง บ้านห้วยงู หมู่ 10 ต.ป่าแป๋ อ.แม่สะเรียง ช่วงสายวันนี้ (19 ม.ค.)

    ซึ่งเจ้าหน้าที่ต้องเดินเท้าเข้าพื้นที่นานกว่า 2 ชั่วโมง และพบชาย 2 คนพากันวิ่งหนีเข้าไปในป่า เจ้าหน้าที่จึงยึดแท่นเลื่อยไว้ 3 จุด บริเวณสันเขา และไม้แปรรูปกองไว้อีกกว่า 300 แผ่น เพื่อนำมาเก็บรักษาไว้ที่หน่วยป้องกันรักษาป่าแม่กะไน โดยการขนย้ายไม้ดังกล่าวจะใช้เวลาประมาณ 2 วัน นอกจากนี้ จะเร่งขยายผลถึงขบวนการตัดไม้ทำลายป่ารายนี้มาดำเนินคดี. - สำนักข่าวไทย

    2010-01-19 16:54:44

    นักวิชาการ ม.แม่โจ้ ประสบความสำเร็จใช้ไส้เดือนกำจัดขยะ

    [​IMG]

    เชียงใหม่ 20 ม.ค.-นักวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ประสบความสำเร็จในการใช้ไส้เดือนดินกำจัด ขยะอินทรีย์ นำไปใช้จริงแล้วในหลายหน่วยงานของ จ.เชียงใหม่

    นักวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้เปิดโรงเรือนต้นแบบกำจัดขยะอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดิน โดยกำจัดขยะได้ 6 ตัน/วัน ถือเป็นโรงเรือนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ ขนาดกว้าง 36 เมตร ยาว 24 เมตร หลังจากทดลองมาเป็นระยะเวลา 1 ปีเต็ม นอกจากนี้ ยังจัดสร้างโรงเรือนต้นแบบกำจัดขยะอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดินให้หน่วยงานต่าง ๆ อาทิ โรงเรียน โรงพยาบาล และตลาดสด 5 แห่ง ใน จ.เชียงใหม่

    ซึ่งมีศักยภาพกำจัดขยะอินทรีย์ได้ 1 ตัน/วัน ควบคู่กับการถ่ายทอดความรู้ในการจัดการขยะอินทรีย์ให้ชาวบ้านในชุมชน รวมถึงเพื่อผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักมูลไส้เดือนดินจากขยะอินทรีย์ โดยเลือกใช้ไส้เดือนดินสายพันธุ์ท้องถิ่น ซึ่งหาง่ายและเป็นการช่วยเพิ่มมูลค่า โดยในระยะยาวเตรียมนำไปใช้กำจัดขยะอินทรีย์ตามบ้านเรือนประชาชนอีกด้วย.-สำนักข่าวไทย

    2010-01-20 04:58:46

    ที่มา http://news.mcot.net/local/
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. สิกขิม

    สิกขิม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,310
    ค่าพลัง:
    +6,034
    สิ่งทั้งหลาย อยู่ภายใต้กฏแห่งธรรมชาติ พึงระวังตัวระวังใจ ให้อยู่แต่ในกรอบศีลธรรม


    นั่นคือเสบียงบุญ ที่ปกป้องคุ้มครองทั้งกายและจิตวิญญาณ ไม่ว่าจะอยู่ในสถานภาพใด




    <TABLE border=1 cellSpacing=0 borderColor=#00ac00 cellPadding=5 width=620 bgColor=white><TBODY><TR><TD bgColor=#008600 align=middle>Super Volcano : ภูเขาไฟมหาประลัย </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE border=0 width=610 align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]
    มติชน

    มีมหาภัยพิบัติทางธรรมชาติใดอีกบ้างที่มีอำนาจทำลายล้างสิ่งมีชีวิตบนโลกมากกว่าคลื่นยักษ์สึนามิและอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต? คำตอบก็คือ มี

    นักวิทยาศาสตร์บอกว่า มันคือ มหาภัยพิบัติจากดาวเคราะห์น้อยหรือดาวหางชนโลก การระเบิดของรังสีแกมมาซึ่งเกิดจากการระเบิดของดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ และการระเบิดอย่างรุนแรงของภูเขาไฟที่เรียกกันว่า Super Volcano

    เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ดาวหางหรือดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่พุ่งชนโลกบริเวณแหลมยูคาตัน เม็กซิโก ทำให้ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ ส่วนการระเบิดรังสีแกมมานั้นยังคงเป็นเพียงทฤษฎีที่ยังหาหลักฐานมารองรับไม่ได้ และการระเบิดของซุปเปอร์โวลเคโนนั้นเคยเกิดขึ้นมาหลายครั้งแล้ว นับตั้งแต่ยุคเพอร์เมียน-ไทรแอสสิก ยุค "การล้มตายครั้งยิ่งใหญ่" เมื่อ 251 ล้านปีก่อน จนถึงครั้งสุดท้ายที่ "โทบา" ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อประมาณ 74,000 ปีที่ผ่านมา

    [​IMG]
    ก่อนหน้าแผ่นดินไหวนอกชายฝั่งสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียซึ่งทำให้เกิดคลื่นยักษ์สึนามิกวาดชายฝั่งของหลายประเทศในเอเชียและแอฟริกา เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ.2004 ได้เกิดปรากฏการณ์ภูเขาไฟบนโลกปะทุขึ้นหลายลูก อาทิ ภูเขาไฟเอ็ตนา บนเกาะซิซิลี ประเทศอิตาลี เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.2004

    หลังจากคลื่นสึนามิผ่านไปก็เกิดปรากฏการณ์ทั้งภูเขาไฟปะทุและแผ่นดินไหวหลายแห่งในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ค.ศ.2005 เช่น การปะทุของภูเขาไฟอาซามะ ในญี่ปุ่น การปะทุของภูเขาไฟ "คาร์ทธาลา" บนหมู่เกาะโคโมรอส ในมหาสมุทรอินเดีย และภูเขาไฟในอินโดนีเซีย 11 ลูกก็ส่อเค้าว่าจะปะทุขึ้นด้วย ส่วนแผ่นดินไหวนั้นเกิดขึ้นทั้งในอินโดนีเซียและพม่า

    [​IMG]
    ปรากฏการณ์ดังกล่าวยิ่งทำให้นักวิทยาศาสตร์และนักธรณีวิทยาเพิ่มความสนใจศึกษาและหาทางป้องกันความเสียหายจากแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดมากขึ้น และก็เริ่มให้ความสนใจกับซุปเปอร์โวลเคโนที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย

    ข้อมูลของสถาบันสมิธโซเนียน ระบุว่า ปัจจุบันนี้ประชากร 1 ใน 10 ของโลกอาศัยอยู่ในเขตอันตรายจากภูเขาไฟ มีภูเขาไฟที่ยังแอ๊คทีฟอยู่จำนวน 1,511 ลูกทั่วโลก หลายลูกอาจจะระเบิดขึ้นมาเมื่อใดก็ได้ และในจำนวนนี้มีซุปเปอร์โวลเคโนอยู่ 40 ลูก ทว่าเกือบทั้งหมดได้เคยระเบิดมาแล้ว

    ขณะที่อานุภาพทำลายล้างของภูเขาไฟธรรมดาคร่าชีวิตผู้คนได้เป็นเรือนพันเรือนหมื่นและทำลายเมืองให้ย่อยยับได้ทั้งเมือง อย่างเช่น การระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัว ในประเทศอินโดนีเซีย เมื่อ 122 ปีก่อน แต่ซุปเปอร์โวลเคโนสามารถคร่าชีวิตผู้คนเป็นเรือนล้านและทำลายทวีปได้ทั้งทวีปเลยทีเดียว

    [​IMG]การระเบิดของภูเขาไฟที่รุนแรงที่สุดครั้งสุดท้าย คือการระเบิดของภูเขาไฟ "แทมโบรา" ในประเทศอินโดนีเซีย เมื่อปี ค.ศ.1815 ซึ่งมีความรุนแรงกว่าการระเบิดของภูเขาไฟเมาต์เซนต์เฮเลนส์ (Mount St Helens) ในรัฐวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี ค.ศ.1980 ถึง 10 เท่า เมือง 2 เมืองและผู้คน 8,000 คนจมอยู่ใต้ลาวาและเถ้าถ่านของมันยังทำให้ผิวโลกได้รับแสงอาทิตย์น้อยลงถึง 20%


    ความรุนแรงของการระเบิดขนาดไหนถึงจะเป็นซุปเปอร์โวลเคโน นักธรณีวิทยากำหนดค่าชี้วัดระดับความรุนแรงของภูเขาไฟเรียกว่า Volcano Explosivity Index (VEI) เป็นสเกลตั้งแต่ 0-8 คล้ายกับมาตรวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว ที่กำหนดเป็นริกเตอร์ ค่า VEI ที่สูงกว่าหมายถึงความรุนแรงที่มากกว่าและมีโอกาสเกิดขึ้นน้อยกว่าด้วย

    ตัวอย่างเช่นการระเบิดของภูเขาไฟที่อุทยานแห่งชาติเยลโลสโตน สหรัฐอเมริกา เมื่อ 2.1 ล้านปีก่อนมีค่า VEI เท่ากับ 8 ซึ่งมีความรุนแรงมากกว่าการระเบิดของภูเขาไฟโทบาในอินโดนีเซีย เมื่อ 74,000 ปีก่อน ซึ่งมีค่า VEI เท่ากับ 7 ถึง 10 เท่า ภูเขาไฟทั้งสองลูกนี้คือซุปเปอร์โวลเคโน และเมื่อเทียบกับความรุนแรงของภูเขาไฟแทมโบราแล้วมันมีความรุนแรงมากกว่าอย่างเทียบกันไม่ได้เลย
    <TABLE style="WIDTH: 74px; HEIGHT: 45px" border=0 cellSpacing=10><TBODY><TR><TD>[​IMG]
    แกรนด์ แคนยอน ในอุทยานแห่งชาติเยลโลสโตน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    โปสเฟสเซอร์ Bill McGuire ผู้เชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยลอนดอน บอกว่าซุปเปอร์โวลเคโนเป็นการระเบิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก "การระเบิดของมันใหญ่พอที่จะทำลายทุกสิ่งทุกอย่างรอบๆ และก็มากพอที่จะส่งผลกระทบต่อทุกๆ คนบนดาวเคราะห์ดวงนี้"

    ฟังดูแล้วน่าขนพองสยองเกล้า แล้วมันมีโอกาสจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้หรือไม่และในอาณาบริเวณใด นักธรณีวิทยายังไม่มีคำตอบให้เรา ทว่าขณะนี้นักธรณีวิทยาของสหรัฐกำลังเฝ้าจับตามองซุปเปอร์โวลเคโนใต้อุทยานแห่งชาติเยลโลสโตน (Yellowstone National Park) รัฐไวโอมิง


    ภูเขาไฟใต้อุทยานแห่งชาติเยลโลสโตนเป็นหนึ่งในซุปเปอร์โวลเคโนของโลกที่นักธรณีวิทยากำลังถกเถียงกันว่ามันยังแอ๊คทีฟอยู่หรือไม่ ปัจจุบันอุทยานแห่งนี้ตั้งอยู่บนภูเขาไฟโบราณ ใต้ดินลึกประมาณ 5 ไมล์เป็นหินที่หลอมละลายและก๊าซจำนวนมหาศาล จุดดึงดูดใจนักท่องเที่ยวมากที่สุดคือน้ำพุร้อนซึ่งเกิดจากความร้อนของภูเขาไฟใต้พื้นผิวของมันนั่นเอง ปล่องภูเขาไฟใต้อุทยานเยลโลสโตนมีขนาดถึง 1,500 ตารางไมล์ ในขณะที่ปล่องภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์มีขนาด 2 ตารางไมล์ มันมีขนาดใหญ่กว่ากันมาก
    <TABLE style="WIDTH: 115px; HEIGHT: 45px" border=0 cellSpacing=10><TBODY><TR><TD>[​IMG]
    การระเบิดของภูเขาไฟเมาต์เซนต์เฮเลนส์ (ภาพเอพี เฮเลนส์/ภาพเอพีไอ)

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ภูเขาไฟเยลโลสโตนระเบิดครั้งแรกเมื่อ 2.1 ล้านปีก่อน และนักธรณีวิทยาเชื่อว่าวงจรการระเบิดอาจจะเกิดขึ้นในทุกๆ 600,000-700,000 ปี โดยครั้งหลังสุดเกิดขึ้นเมื่อ 640,000 ปีที่ผ่านมา ตัวเลขนี้ดูเหมือนว่าขณะนี้อยู่ในช่วงเวลาที่มันจะเกิดขึ้นอีกครั้งหรือผ่านไปแล้วก็ได้

    ถ้าภูเขาไฟเยลโลสโตนระเบิดอีกครั้งมันจะมีความรุนแรงมากเพียงใด นักธรณีวิทยาบอกว่าลองเปรียบเทียบกับการระเบิดของภูเขาไฟเมาต์เซนต์เฮเลนส์ในปี ค.ศ.1980 ดูก็แล้วกัน ภูเขาไฟเมาต์เซนต์เฮเลนส์พ่นเถ้าถ่านมากถึง 1.4 พันล้านคิวบิกหลาและปกคลุมพื้นที่มากกว่า 22,000 ตารางไมล์ แต่การระเบิดของภูเขาไฟเยลโลสโตนเมื่อ 640,000 ปีก่อนนั้นพ่นเถ้าถ่านมากกว่าถึง 8,000 เท่า และนี่ก็ยังไม่ใช่การระเบิดที่รุนแรงที่สุดของมันด้วย

    แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญภูเขาไฟส่วนใหญ่จะมีความเห็นตรงกันว่าภูเขาไฟเยลโลสโตนอาจจะระเบิดได้อีกครั้ง แต่ก็คงจะอีกนานมาก หรือไม่ระเบิดเลยอีกเลยก็ได้ แต่เพื่อความไม่ประมาทวันนี้มันกำลังถูกศึกษาอย่างใกล้ชิดมากขึ้น

    หากมันจะระเบิดอีกครั้งเราจะรู้ล่วงหน้าหรือไม่ ผู้เชี่ยวชาญภูเขาไฟเชื่อว่าจะมีสัญญาณเตือนล่วงหน้าก่อนเป็นเวลานานหลายสิบปีหรืออาจเป็นศตวรรษเลยก็ได้ สัญญาณที่ว่านั้นก็คือ จะเกิดแผ่นดินไหว พื้นดินแยก การปะทุขนาดเล็กและองค์ประกอบของลาวาที่มันปล่อยออกมาเปลี่ยนแปลง ซึ่งโชคดีที่วันนี้ยังไม่มี


    <TABLE style="WIDTH: 72px; HEIGHT: 45px" border=0 cellSpacing=10><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>Super Volcano : ���������һ�����
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** รอดพ้นกรรม คือ ตัดลดนิสัยได้จริง ****

    โลกกำลังเย็นลง โลกจะอบอุ่นขึ้น
    น้ำจากทางช้างเผือก มาเพิ่มปริมาณน้ำในโลก
    ความสมบูรณ์ จะกลับมาเหมือนในยุคโบราณ
    โลกกำลังปรับตัว พิบัติต่างๆ เกิดขึ้นบ้าง
    เรื่องความรุนแรง ไม่ว่าเกิดมาชาติไหนๆ ก็ไม่เคยพบเคยเห็น
    ขอให้พยายามตัดลดกิเลสนิสัยของตัวเอง ให้ได้จริงวันละข้อ
    เป็นสัจจะประจำวันของตนเอง ทุกวัน
    เป็นบารมีติดตัวไป

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  13. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** ไม่โกงตัวเอง ****

    คนขี้โกง...ก็ต้องปลดนิสัยชอบโกง
    รักษาคำพูดตัวเอง รักษาสิ่งที่กล่าวปฏิญาณไปแล้ว
    ไม่ทำตามคำปฏิญาณ ก็คือโกงตัวเอง
    โกงสัญญาของตัวเอง
    ทำได้ ทำไม่ได้....ดินฟ้าอากาศ คือสักขีพยาน

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  14. วรเดช

    วรเดช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,753
    ค่าพลัง:
    +6,146
    ข่าว: สมิทธ-โสรัจจะ ฟันธง กลางปีเกิดสึนามิ โดนไทยเต็มๆ

    <SCRIPT type=text/javascript><!-- google_ad_client = "pub-0032874521947222"; /* 468x15, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 3/13/09 */ google_ad_slot = "7657140061"; google_ad_width = 468; google_ad_height = 15; //--> </SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js"> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT>

    [​IMG] สึนามิ

    อดีตผู้อำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติ แห่งชาติ กับ โหรชื่อดังฉายา “นอสตราดามุสเมืองไทย” ทำนายตรงกัน กลางปีนี้ประเทศไทยเจอสึนามิถล่มหนักแน่ๆ…
    หลังจากเป็นที่ฮือฮากับรายงานข่าวจากต่างประเทศ เมื่อคณะผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยาจากประเทศไอร์แลนด์เหนือ
    นำโดย ศาสตราจารย์จอห์น แมคคลอสคีย์ สถาบันวิจัยนิเวศวิทยาแห่งมหาวิยาลัยอัลส์เตอร์ ไอร์แลนด์เหนือ ซึ่งเป็นกลุ่มนักวิชาการที่ขึ้นชื่อว่าทำนายเหตุการณ์สึนามิได้แม่นยำมากที่สุด ได้ส่งจดหมายเตือนภัยว่าอาจจะเกิดคลื่นยักษ์ที่เป็นผลมาจากแผ่นดินไหวถล่มชายฝั่งเกาะสุมาตราในอนาคตอันใกล้
    คำเตือนที่ว่านั้นยิ่งสร้างความสะพรึงกลัวให้กับคนไทย เมื่อมันมาตรงกับคำทำนายของนักวิชาการและโหราศาสตร์ชื่อดังก่อนหน้านี้ ที่ว่าสึนามิจะเกิดขึ้นในอีกไม่ช้า ที่สำคัญประเทศไทยจะได้รับความเสียหายมากมายกว่าสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2547
    ผู้สื่อข่าวไทยรัฐออนไลน์สอบถามไปยัง ดร.สมิทธ ธรรมสโรช อดีตผู้อำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ผู้ที่เคยทำนายว่าประเทศไทยจะเกิดสึนามิครั้งใหญ่อีกครั้งในอนาคตอันใกล้ โดยเขาเห็นด้วยกับคำเตือนของศาสตราจารย์สถาบันวิจัยนิเวศวิทยาแห่งมหาวิยาลัยอัลส์เตอร์ ไอร์แลนด์เหนือ และว่าถ้าเกิดสึนามิครั้งนี้ ประเทศไทยจะได้รับผลกระทบผู้คนจะล้มหายตายจากมากมายกว่าครั้งที่แล้วมาก
    “ปี ที่แล้วผมมีโอกาสเข้าไปร่วมประชุมกับนักวิจัยญี่ปุ่น ซึ่งเขาก็พูดถึงเรื่องของศาสตราจารย์จอห์น แมคคลอสคีย์ ออกมาบอกว่าอีกไม่นานจะเกิดสึนามิอีกครั้ง ในส่วนประเทศไทย จะได้รับผลกระทบมากๆ เพราะว่ารอยเลื่อนแผ่นดินที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2547 มันเลื่อนแค่เศษ 1 ส่วน 4 เท่านั้น ดังนั้นจะเหลืออีกเศษ 3 ส่วน 4 ที่ยังไม่เกิด ซึ่งแผ่นดินมันค่อยๆ เลื่อนขึ้นมาทางเหนือระหว่างเกาะนิโคบาและเกาะอันดามัน โดยการเลื่อนในครั้งนี้มันจะเขยิบเข้ามาใกล้กับชายฝั่งของประเทศไทยมากขึ้นจากครั้งที่แล้ว”
    [​IMG] สมิทธ ธรรมสโรช

    ดร.สมิทธ กล่าวต่อว่า ครั้งนี้ไม่จำเป็นต้อง 9 ริกเตอร์เหมือนกับครั้งที่แล้ว เรียกว่าขอให้เกิดสึนามิขึ้นเมื่อใด ประเทศไทยจะได้รับผลกระทบมหาศาล
    “คำนวณ ง่ายๆ ว่าสึนามิครั้งที่แล้วมันไกลจาก 6 จังหวัดภาคใต้ถึง 1,200 กิโลเมตร แต่รอยเลื่อนอีกเศษ 3 ส่วน 4 มันอยู่ใกล้ประเทศไทยเพียง 300-400 กิโลเมตา ดังนั้นถ้าเกิดสึนามิขึ้นไม่ว่าจะกี่ริกเตอร์ ประเทศไทยจะได้รับความเสียหายมากกว่าครั้งที่แล้วแน่นอน”
    ถามว่าจังหวัดไหนบ้างที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุด ดร.สมิทธ กล่าวว่า คงไม่พ้น 6 จังหวัดที่โดนสึนามิครั้งที่แล้วถล่ม
    “ที่ น่ากลัวที่สุดก็ไล่ไปตั้งแต่ จ.ระนอง, พังงา, ภูเก็ต, กระบี่, ตรัง และสตูล และเรื่อยลงไปอีกซึ่งมันจะกินพื้นที่มากๆ อย่างไรก็ดี สิ่งที่ผมกล่าวมาทั้งหมดปัจจัยหลักก็ต้องดูจุดเกิดสึนามิที่แน่นอนอีกที ซึ่งไม่มีใครพยากรณ์ได้ตรงเป๊ะๆ แต่รวมๆ แล้ว 6 จังหวัดที่ว่าโดนผลกระทบมหาศาลมากๆ ถ้าไม่เฝ้าระวัง ซึ่งเรื่องนี้ในการประชุมเรื่องสึนามิที่ประเทศไทยเมื่อปีที่แล้วเราพูดกันเยอะ แต่ก็เขาก็ไม่ได้บอกชัดเรื่องเกี่ยวกับประเทศไทย ระบุแต่ถ้าเกิดสึนามิอีกครั้ง ตั้งแต่พม่าโดนหมด อย่างแผ่นดินไหวที่เฮติในครั้งนี้ บางคนก็พยากรณ์ว่าอีกนานจะเกิด 10-100 ปี แต่ผมเชื่อว่ามันพยากรณ์ไม่ได้ อยู่ๆ มันเกิดตูมขึ้นมา ภายใน 1-5 ปีนับจากนี้อาจไม่เกิดก็ได้ หรืออาจจะเกิดพรุ่งนี้ก็ได้ ไม่มีใครพยากรณ์ได้ ประเทศไทยก็เหมือนกัน แต่เราก็ทำได้แค่ระวังตัว”
    สำหรับวิธีป้องกัน อดีตผู้อำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กล่าวว่า ประเทศไทยก็ต้องมีระบบเตือนภัยที่ดี
    ซึ่ง อาจจะช่วยผ่อนหนักให้เป็นเบา ซึ่งเห็นคนในพื้นที่บอกว่า ทุ่นเตือนภัยก็แบตฯ หมด หอเตือนภัยก็ใช้การได้ไม่หมด ทั้งนี้ ตนคงพูดอะไรไม่ได้มาก เพราะโดนรัฐฟ้องอยู่ข้อหาหมิ่นประมาท “สิ่งที่ผมทำได้ก็คือ ปัจจุบันผมทำมูลนิธิเตือนภัยโดยไม่หวังกำไรทำงานคู่ขนานไปกับศูนย์เตือนภัย พิบัติแห่งชาติของรัฐ โดยมูลนิธิเรามีหน้าที่เตือนภัยทำเหมือนกับศูนย์เตือนภัยพิบัติทุกๆ อย่าง โดยเรามีเครือข่ายจากลูกทุ่งเน็ตเวิร์คกระจายเสียงทั้งหมด 81 สถานี ทั้งเอฟเอ็ม เอเอ็มทั่วประเทศที่จะติดตามความเหตุการณ์พร้อมกับเตือนภัยได้ 24 ชั่วโมง โดยมีสถานีวิทยุให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายสนุนค่าใช้จ่าย”
    สุดท้าย ดร.สมิทธ ฝากไปถึงประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยว่า มูลนิธิจะพยายามเตือนให้ทราบล่วงหน้าว่า ภัยธรรมชาติชนิดไหนจะเกิดขึ้นที่ไหน เราจะทำให้ดีที่สุดขอให้ติดตามรับฟังเครือข่ายและสถานีวิทยุของเรา โดยสามารถสอบถามและแจ้งเหตุได้ที่ โทร.0-2888-2215 ได้ 24 ชั่วโมง
    [​IMG] โสรัจจะ นวลอยู่

    ด้านโหรชื่อดัง นายโสรัจจะ นวลอยู่ ฉายานอสตราดามุสเมืองไทย ผู้ที่เคยทำนายประเทศไทยจะเกิดสึนามิใหญ่ อีกทั้งยังฟันธงอีกว่า กลางปีนี้ประเทศไทยจะมีสึนามิอีกครั้ง กล่าวว่า​
    “ตามดวง ดาวจริงแล้วมีเกณฑ์กลางปีนี้ 100% ซึ่งผมดูจากดวงดาวแล้ว กลางปีนี้ค่อนข้างจะน่าเป็นห่วงมากๆ เพราะว่าดาวที่สำคัญอย่าง ดาวเสาร์ อยู่ในภพอริของดวงเมือง อีกทั้งราหูมาอยู่ในภพที่ 9 ซึ่งตรงนี้มีผล มากๆ คือดาวสองดวงนี้ทำมุมกัน แล้วดาวพฤหัสก็เกี่ยวกับน้ำ พฤหัสอยู่ในตำแหน่งที่ไม่ค่อยดี อย่างไรก็ดี ผมก็คิดว่าเป็นไปได้ว่าประเทศไทยมีโอกาสใกล้เคียงจะเกิดทั้งแผ่นดินไหวแล้วก็เกิดสึนามิด้วย โดยเฉพาะชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริมชายฝั่ง หรือแถบอันดามันตั้งแต่ระนองลงไปอันตรายมากๆ”
    เมื่อถามถึงวิธีป้องกัน โหรชื่อดังกล่าวว่า เป็นเรื่องที่ยากมากๆ เพราะว่ามันเป็นกฎแห่งดวงดาว ที่มาบรรจบกับภัยธรรมชาติ
    “สิ่งที่เตือนได้นอกจากการทำบุญแล้ว ผมอยากให้ภาครัฐใส่ใจตรวจสอบเครื่องเตือนภัยต่างๆ ให้สมบูรณ์แบบ ส่วนประชาชนก็ต้องคอยระมัดระวังฟังศูนย์เตือนภัย ซึ่งอาจจะทำให้เหตุการณ์ที่หนักหนาสาหัสในกลางปีนี้ทุเลาลงไปได้” นายโสรัจจะกล่าว.
    • ขอบคุณเนื้อหาข่าวจาก
    • [​IMG]
     
  15. วรเดช

    วรเดช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,753
    ค่าพลัง:
    +6,146
    อุโบสถใหม่ วัดธรรมมงคล

    <SCRIPT type=text/javascript><!-- google_ad_client = "pub-0032874521947222"; /* mthai-picpost-bottom-toptaab */ google_ad_slot = "4997989514"; google_ad_width = 728; google_ad_height = 15; //--> </SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js"> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT>
    [​IMG] รูปขนาด 800 x 537 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 800 x 537 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 800 x 536 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 800 x 537 pixel
    <SCRIPT type=text/javascript><!-- google_ad_client = "pub-0032874521947222"; /* mthai picpost view_picpost */ google_ad_slot = "2672557467"; google_ad_width = 728; google_ad_height = 90; //--> </SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js"> </SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("ads_core.google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT>




    <IFRAME id=truehits height=17 marginHeight=0 src="/stat.php?pagename=view_picpost" frameBorder=0 width=14 allowTransparency marginWidth=0 scrolling=no></IFRAME>

    <!-- reply --><FORM id=frmDel method=post name=frmDel action=http://webboard.mthai.com/delete.php>

    [​IMG] รูปขนาด 800 x 537 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 800 x 537 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 537 x 800 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 537 x 800 pixel
    2




    [​IMG] รูปขนาด 537 x 800 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 800 x 537 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 537 x 800 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 537 x 800 pixel
    3



    [​IMG] รูปขนาด 537 x 800 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 800 x 537 pixel
    [​IMG] รูปขนาด 800 x 537 pixel
    สุดท้าย




    </FORM>
     
  16. Saisawan

    Saisawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +296
    [​IMG]

    แผ่นดินไหว! เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนตัวอย่างฉับพลันของพื้นดิน เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่ทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่ในประเทศไทยของเราก็ตาม เพียงแต่ว่าโอกาสที่จะเกิดขึ้นและสร้างความเสียหายในบ้านเรานั้นน้อยมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ เช่น ประเทศอินโดนีเซีย และญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศที่มีกิจกรรมทางแผ่นดินไหวมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก พูดง่ายๆ คือเกิดแผ่นดินไหวขึ้นทุกวันในญี่ปุ่น แล้วแต่ว่าจะรุนแรงและสร้างความเสียหายมากน้อยแค่ไหน หลังจากแผ่นดินไหวทางตอนเหนือของเกาะสุมาตราก็มีแผ่นดินไหวย่อยๆ ตามมาแทบทุกวันหรือที่เรียกกันว่า after shocks โดยมีขนาดต่างๆ ตั้งแต่เล็กๆ ถึงใหญ่ขนาด 7.0-8.0 ริคเตอร์ จนกระทั่งปัจจุบันนี้ก็ยังเกิดขึ้นต่อเนื่อง

    ลองย้อนกลับมาดูประเทศไทยกันบ้าง จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่า 7.0 ริคเตอร์ขึ้นในประเทศไทย เช่นมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่รอยเลื่อนในอ.ศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเกิดแผ่นดินไหวขึ้นบ่อยครั้งโดยเฉพาะในปีพ.ศ. 2526 ที่มีขนาดวัดได้ถึง 5.9 ริคเตอร์ และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครเพียงสองสามร้อยกิโลเมตรเท่านั้น ความเสียหายที่เกิดขึ้นจะมากน้อยเพียงใดถ้าเป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่กว่านี้ คงไม่มีใครทำนายได้ โดยเฉพาะในปัจจุบันที่มีสิ่งก่อสร้างมากมาย สิ่งที่ทำได้คือภาวนาว่าอย่าให้เกิดขึ้นเป็นดีที่สุด “แผ่นดินไหวไม่ได้คร่าชีวิตคน แต่สิ่งที่มนุษย์สร้างต่างหากที่คร่าชีวิตคน !”


    หน้าที่ 2 - สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว

    หลายคนอาจสงสัยว่าแผ่นดินไหวเกิดขึ้นได้อย่างไร ทำไมแผ่นดินไหวจึงเกิดขึ้นบ่อยครั้งในตอนเหนือของเกาะสุมาตรา หรือในประเทศญี่ปุ่น แล้วทำไมถึงไม่ค่อยมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นในประเทศไทยบ้าง แผ่นดินไหวขนาด 5.9 หรือ 7.2 ริคเตอร์ที่ใช้กันอยู่หมายความว่าอย่างไร มนุษย์สามารถทำนายแผ่นดินไหวได้หรือไม่ ทำไมแผ่นดินไหวเกิดในอินโดนีเซียแต่สามารถรู้สึกได้แม้อยู่ห่างไกลถึงกรุงเทพก็ตาม หรือแม้กระทั่งในอลาสก้าที่ห่างออกไปเป็นพันๆ กิโลเมตร และอื่นๆ อีกหลากหลายคำถาม ดังนั้นจุดประสงค์ของบทความนี้ก็เพื่อเผยแพร่พื้นฐานความรู้ทั่วๆ ไปเกี่ยวกับแผ่นดินไหวให้ผู้สนใจได้รับทราบ โดยพยายามใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้

    โครงสร้างของโลกของเรา

    ก่อนที่จะอธิบายให้เข้าใจกันได้อย่างง่าย เราต้องมาดูโครงสร้างของโลกเราก่อน โลกของเราก็คล้ายกับไข่ไก่ คือเมื่อผ่าออกมาจะเห็นเป็นชั้นๆ โลกของเราก็แบ่งออกเป็นชั้นๆ เช่นกัน โดยมนุษย์เราอาศัยอยู่บนเปลือกโลก (crust) แต่เปลือกโลกที่ว่านี่มีความหนาเฉลี่ยประมาณ 10 กิโลเมตรถ้าเป็นเปลือกโลกแบบภาคพื้นสมุทร (เช่นเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก) และประมาณ 40 กิโลเมตรถ้าเป็นเปลือกโลกแบบภาคพื้นทวีป (เช่นเหนือทวีปเอเชีย) ใต้เปลือกโลกลงไปเป็นสสารที่ไม่ใช่ของแข็งและของเหลวเลยทีเดียว แต่คล้ายกับยางมะตอยหรือยาสีฟันแต่อยู่ที่อุณหภูมิสูงมากที่เรียกว่าแมนเทิล (mantle)

    ทีนี่ให้เรานึกว่าเปลือกโลกของเราไม่ได้เป็นแผ่นเดียวกันตลอด แต่แตกแยกออกเป็นแผ่นๆ คล้ายๆ กับเกมจิกซอ ซึ่งเราเรียกว่าแผ่นเปลือกโลกหรือแผ่นธรณีภาค หรือเพลท (plate) ซึ่งรวมเอาเปลือกโลกและแมนเทิลชั้นบนเข้าไว้ด้วยกัน เนื่องจากเปลือกโลกของเราไม่ได้เป็นแผ่นเดียวกันและวางตัวอยู่บนสสารคล้ายของเหลว มันจึงสามารถเคลื่อนตัวไปมาได้ แต่ด้วยอัตราที่ช้ามาก เช่นประมาณ 1-6 เซนติเมตรต่อปี ดังนั้นเมื่อมันมีการเคลื่อนที่ก็จะทำให้แต่ละแผ่นสามารถเกิดการชนกัน การเสียดสีกัน การแยกห่างออกจากกันที่บริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลกได้ ซึ่งถือว่าเป็นบริเวณที่เกิดแผ่นดินไหวและมีภูเขาไฟมากที่สุด และมีอยู่หลายบริเวณบนโลก เช่นบริเวณรอบๆ มหาสมุทรแปซิฟิก ที่เรียกกันว่า Ring of Fire ซึ่งรวมญี่ปุ่น อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์เข้าไว้ด้วย


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    รูปที่ 2 แสดงการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก เหนือเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย

    สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว

    ย้อนกลับมาที่อินโดนีเซีย เกาะสุมาตราตั้งอยู่บนขอบของแผ่นเปลือกโลกเหล่านี้ โดยอยู่บนแผ่นเปลือกโลกยูโรเซีย (หรือแผ่นเปลือกโลกซุนดราเมื่อพิจารณาเป็นแผ่นเปลือกโลกย่อย) และมีแผ่นเปลือกโลกอินเดียมุดตัวลงใต้แผ่นเปลือกโลกยูโรเซีย ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นจำนวนมากในบริเวณนี้ และนอกจากนี้ยังทำให้เกิดภูเขาไฟขึ้นอีกหลายลูกตามรอยต่อในบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกอินเดียมุดตัวลงใต้แผ่นเปลือกโลกยูโรเซีย เช่น ภูเขาไฟมิราปิที่กำลังประทุอยู่ในขณะนี้ เป็นต้น

    อัตราการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกในบริเวณต่างตามขอบเปลือกโลกยูโรเซียแสดงไว้ในรูปที่ 3 (ลูกศรสีแดง) รวมทั้งตำแหน่งที่เกิดภูเขาไฟเหนือเกาะสุมาตรา (รูปสามเหลี่ยม)












    [​IMG]
     
  17. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    ถ้าตามที่ ดร.สมิทธ ได้พยากรณ์ ไว้จริงๆ ผมว่า สิ่งที่น่าห่วง คือ เขื่อนศรีนครินท์ กาญจนบุรี ครับ
     
  18. สาวปีใหม่

    สาวปีใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    1,004
    ค่าพลัง:
    +2,368
    แผ่นดินไหว เขื่อนวิบัติ : ภัยที่ต้องป้องกัน ก่อนวัวหายแล้วล้อมคอก
    ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ searin ๑๗ มกราคม ๒๕๔๗
    เห ตุการณ์สึนามิได้บอกกับสังคมไทยว่าแผ่นดินไหวกับคนไทยไม่ได้เป็นเรื่องไกล ตัวอีกต่อไป แต่น่าเสียดายที่ความสนใจในการป้องกันภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวต่างมุ่งไปที่ สึนามิเป็นหลัก ไม่ได้ให้ความสำคัญกับแผ่นดินไหวในประเทศ
    ความ จริงแล้ว แผ่นดินไหวที่สร้างความเสียหายต่อประเทศไทยมี ๒ ลักษณะคือ แผ่นดินไหวที่มีศูนย์อยู่นอกประเทศ ส่วนใหญ่มาจากแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในจีนและพม่า เช่นแผ่นดินไหวในปี ๒๕๓๘ ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณพรมแดนจีน-พม่า สร้างความเสียหายให้กับอาคารในภาคเหนือของประเทศหรือแผ่นดินไหวในพม่าเมื่อ ปี ๒๔๗๓ สร้างความเสียเล็กน้อยให้กับกรุงเทพฯ
    <table width="393" align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="216">[​IMG]</td> <td width="10"> </td> <td width="167" bgcolor="#d9fcff">
    ภาพเขื่อนบอล์ล ฮิลล์ พังเมื่อ 2506 เนื่องจากการทรุดตัวตามแนวเลื่อน ของเปลืิอกโลก
    </td> </tr> </tbody></table> แผ่น ดินไหวลักษณะที่ ๒ คือ แผ่นดินไหวในประเทศ กรมอุตุนิยมวิทยาได้ระบุถึงประวัติแผ่นดินไหวในประเทศไทยว่า เกิดขึ้นทุกภาคของประเทศ แต่ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในภาคเหนือ รองลงมาคือภาคกลาง(หมายถึงฝั่งตะวันตก) และภาคใต้ ส่วนแผ่นดินไหวภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกนั้นเกิดขึ้นน้อยสุด
    ความ จริงแล้ว คนไทยมีประสบการณ์ภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวมานานแล้ว ตั้งแต่ในอดีต เช่น แผ่นดินไหวเมื่อปี ๒๐๘๘ มีศูนย์กลางที่เชียงใหม่ทำให้ยอดเจดีย์หลวงสูง ๘๖ เมตรหักพังลงมาเหลือ ๖๐ เมตร ส่วนแผ่นดินไหวในประเทศที่สำคัญในยุคหลังๆ ก็เช่น
    แผ่น ดินไหวขนาด ๕.๖ ริกเตอร์เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๘ มีศูนย์กลางที่ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก เกิดความเสียหายเล็กน้อยบริเวณใกล้จุดศูนย์กลาง
    แผ่น ดินไหวขนาด ๕.๙ ริกเตอร์ เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๒๖ มีศูนย์กลางใกล้อ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ สร้างความเสียหายเล็กน้อยต่ออาคารในกรุงเทพฯ
    ล่า สุดคือแผ่นดินไหวขนาด ๕.๑? ริกเตอร์ เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๓๗ มีศูนย์กลางที่ อ.พาน จ.เชียงราย สร้างความเสียหายเล็กน้อยถึงปานกลางให้กับอาคาร โรงพยาบาล โรงเรียน และวัดหลายแห่ง
    อย่างไรก็ตาม แผ่นดินไหวในประเทศอาจจะเคยมีขนาดมากกว่านี้เพราะข้อมูลนี้เป็นข้อมูลภายในประเทศ
    รศ. เป็นหนึ่ง วานิชชัย แห่งสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ระบุในบทความซึ่งตีพิมพ์ในมติชนเมื่อวัน ที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๓๘ ว่า หากนำข้อมูลแผ่นดินไหวนอกประเทศมาดูจะพบว่าประเทศไทยเคยมีแผ่นดินไหวถึง ๖.๕ ริกเตอร์มาแล้ว โดยมีศูนย์กลางที่จังหวัดแพร่ เมื่อปี ๒๔๗๖
    รศ. เป็นหนึ่ง ยังระบุว่า แผ่นดินไหวครั้งนั้นนับได้ว่ามีขนาดใกล้เคียงกันกับแผ่นดินไหวที่ทำความเสีย หายรุนแรงแก่นครลอสแอนเจลิสเมื่อเดือนมกราคม ๒๕๓๗
    สาเหตุ หนึ่งที่เราให้ความสำคัญกับแผ่นดินไหวในประเทศน้อยก็เพราะว่า จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ในป่าเขาห่างจากชุมชนจึงสร้างความเสียหายแค่เล็ก น้อยถึงปานกลาง ประกอบกับความรู้เรื่องแผ่นดินไหวในประเทศไทยเพิ่งมีความก้าวหน้าเมื่อ ประมาณ ๒๐ ปีนี้เอง
    <table width="247" align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="154">[​IMG]</td> <td width="10"> </td> <td width="83" bgcolor="#dffbfd">แผนที่แผ่นดินไหว ในจังหวัดกาญจนบุรี ระหว่าง ปี 2523 - 2530
    </td> </tr> </tbody></table> ปัจจุบัน ความรู้ด้านธรณีวิทยาที่ก้าวหน้าทำให้เราทราบว่าประเทศไทยมีแนวเลื่อนของเปลือกโลกซึ่งแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มดังนี้
    ๑) เขตภาคเหนือ มีกลุ่มแนวเลื่อนแม่ทาที่โค้งโอบเชียงใหม่ กลุ่มแนวเลื่อนเชียงแสน กลุ่มแนวเลื่อนแพร่ และกลุ่มแนวเลื่อนเถิน
    ๒) เขตภาคตะวันตก มีกลุ่มแนวเลื่อนศรีสวัสดิ์ กลุ่มแนวเลื่อยเมย-อุทัยธานี และกลุ่มแนวเลื่อนเจดีย์สามองค์
    ๓) เขตภาคใต้ มีกลุ่มแนวเลื่อนระนองที่พาดผ่านตั้งแต่อ่าวไทยลงไปทางตะวันตกเฉียงใต้ผ่าน ระนองถึงทะเลอันดามัน และกลุ่มแนวเลื่อนคลองมะรุยซึ่งขนานกับแนวเลื่อนระนอง โดยแนวเลื่อนหลักพาดผ่านตั้งแต่อ่าวไทย อ่าวบ้านดอนที่สุราษฎร์ธานีลงไปยังกระบี่และภูเก็ต
    แนวเลื่อนเหล่านี้มีขนาดยาวหลายร้อยกิโลเมตรซึ่งสามารถทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้
    กระนั้น ก็ตาม ความเชื่อที่ว่าประเทศไทยปลอดภัยจากแผ่นดินไหวก็ยังฝังรากลึกอยู่ในสังคมไทย โดยเฉพาะในบรรดาวิศวกรก่อสร้าง และนั่นทำให้ความเสี่ยงจากภัยพิบัติแผ่นดินไหวในปัจจุบันสูงมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากตึกสูงและเขื่อนที่ถูกสร้างขึ้นมากมายในยุคปัจจุบัน
    หลัง สึนามิ การที่ กทม.มีแนวคิดทบทวนกฎกระทรวงเกี่ยวกับการสร้างอาคารจึงเป็นเรื่องน่ายินดี แต่สำหรับเขื่อนแล้ว ดูเหมือนว่ายังน่าเป็นห่วง แม้มีข่าวว่ากรมชลประทานเตรียมของบประมาณ ๓,๐๐๐? ล้านบาทเพื่อปรับปรุงให้เขื่อนปลอดภัยจากแผ่นดินไหวก็ตาม
    ทั้ง นี้ก็เพราะภัยพิบัติจากเขื่อนพังกับอาคารพังเนื่องจากแผ่นดินไหวนั้นแตกต่าง กัน เพราะไม่ได้มีแค่เรื่องของความแข็งแรงในการก่อสร้างแต่ยังมีมติต่างๆ อีกมากมาย
    ก่อนอื่นเราจะต้อง เข้าใจก่อนว่า ในระดับนานาชาติ มีการยอมรับกันมานานแล้วว่าเขื่อนที่สร้างบนแนวเลื่อนของเปลือกโลกกับแผ่น ดินไหวนั้นเป็นของคู่กัน
    ศาสตราจารย์ บรูซ เอ. โบลต์ แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเบอร์กเลย์ ระบุไว้ในหนังสือเรื่องแผ่นดินไหว (Earthquake) ว่า น้ำในเขื่อนที่สร้างขึ้นบริเวณแนวเลื่อนของเปลือกโลกเปรียบเสมือนตัวการใน การลั่นไก (triggering) ทำให้เกิดแผ่นดินไหว ซึ่งมีผลมาจากน้ำหนักของน้ำที่ไปกระตุ้นให้เกิดพลังงานในชั้นหิน ผู้ที่รายงานแผ่นดินไหวลักษณะนี้คนแรกคือคาร์เคอร์ (Carder) เมื่อ ปี พ.ศ.๒๔๘๘ ซึ่งพบการเกิดแผ่นดินไหวจากเขื่อนฮูเวอร์ในอเมริกา ซึ่งเป็นเขื่อนยุคใหม่แห่งแรกของโลก
    ใน ชั้นแรกคิดกันว่า แผ่นดินไหวลักษณะนี้เป็นขนาดเล็กๆ ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายใดๆ แต่ต่อมาก็เกิดแผ่นดินไหวกับเขื่อนอื่นๆ อีกหลายเขื่อนที่มีการสร้างหลังเขื่อนฮูเวอร์ ที่รุนแรงก็เช่น ภายหลังการสร้างเขื่อนคอยนา (Koyna) ในอินเดีย ทำให้เกิดแผ่นดินไหวเมื่อปี ๒๕๑๐ ทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง ๑๗๗ คน บาดเจ็บ ๑,๕๐๐ คน บ้านเรือนเสียหายเป็นจำนวนมาก ทั้งที่บริเวณนั้นไม่เคยเกิดแผ่นดินไหวมาก่อน
    ขณะที่ศาสตราจารย์ปริญญา นุตาลัย ได้แบ่งสาเหตุการวิบัติของเขื่อนจากแผ่นดินไหวออกเป็น ๓ ลักษณะ
    ลักษณะ แรก เกิดจากหินใต้เขื่อนเลื่อนตามแนวเลื่อนทำให้ตัวเขื่อนฉีกขาดออกจากกัน ตัวอย่างเช่น การพังของเขื่อนบอลด์วินฮิลล์ในลอสแอนเจลิส เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๐๖ ทำให้มีผู้เสียชีวิต ๕ คน บริษัทประกันภัยจ่ายค่าเสียหาย ๑๒? ล้านเหรียญ และมีการฟ้องร้องตามมาอีกมากมาย
    ลักษณะ ที่สอง เกิดจากการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ตัวอย่างเช่น เขื่อนแวนนอร์แมน (Van Norman Dam) ในลอสแอนเจลิส ทำให้สันเขื่อนด้านเหนือน้ำถล่มลงมา
    ลักษณะ ที่สาม เกิดจากมวลดินถล่มลงมาในอ่างเก็บน้ำ ทำให้เกิดคลื่นยักษ์ในอ่างเก็บน้ำ เช่น เขื่อนไวยอนต์ (Vaiont Dam) ในประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๐๖ ได้เกิดมวลหินถล่มลงมาทำให้เกิดคลื่นยักษ์กระฉอกล้นออกจากเขื่อนและพัดพาเอา บ้านเรือนท้ายเขื่อนมีผู้เสียชีวิตมากกว่า ๒,๖๐๐ คน
    ใน ประเทศไทยเองก็เคยเกิดเหตุการณ์ทำนองนี้ นั่นก็คือ การเกิดแผ่นดินไหวขนาด ๕.๙ ริกเตอร์ เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๒๖ มีศูนย์กลางใกล้อ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ ทำให้หินแตกเลื่อนออกจากกันยาวประมาณ ๔ กิโลเมตร และทำให้เกิดดินถล่มลงในอ่างเก็บน้ำหลายแห่งและทำให้เกิดคลื่นยักษ์ตามมา โชคดีที่บริเวณดินถล่มห่างจากตัวเขื่อนมาก จึงไม่เกิดหายนะอย่างเขื่อนไวยอนต์
    อย่าง ไรก็ตาม ประเด็นความปลอดภัยของเขื่อนกับแผ่นดินไหวในประเทศไทยมักถูกละเลยจากนัก สร้างเขื่อนดังจะเห็นได้จากรายงาน การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่มักประเมินว่า แนวเลื่อนของเปลือกโลกที่สร้างเขื่อนนั้นตายแล้ว ทั้งนี้ก็เพราะเหตุผลทางการเมืองเพียงเพื่อให้เขื่อนได้รับการอนุมัติ
    ผู้ เขียนเชื่อว่า คนท้ายเขื่อนคงตกใจไม่น้อยที่หลังเหตุการณ์สึนามิ กรมชลประทานได้เตรียมของบประมาณถึง ๓,๐๐๐ ล้านบาทเพื่อหาทางป้องกันเขื่อนจากแผ่นดินไหว นั่นหมายความว่าที่แท้แล้ว เขื่อนนั้นไม่ปลอดภัย ทั้งที่ก่อนหน้านี้นักสร้างเขื่อนยืนยันมาตลอดว่าเขื่อนของพวกเขาปลอดภัยจาก แผ่นดินไหวแน่นอน
    นอกจาก เขื่อนของกรมชลประทานแล้ว ยังมีเขื่อนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) อีกหลายเขื่อนที่สร้างบนแนวเลื่อนของเปลือกโลก และมีความเสี่ยงสูงไม่น้อยไปกว่าเขื่อนของกรมชลประทาน โดยเฉพาะเขื่อนเขาแหลมที่สร้างบนแนวเลื่อนเจดีย์สามองค์ เขื่อนศรีนครินทร์ที่สร้างบนแนวเลื่อนศรีสวัสดิ์ และเขื่อนเชี่ยวหลานที่สร้างในเขตแนวเลื่อนคลองมะรุย
    แม้ กฟผ.จะอ้างว่าได้ออกแบบเขื่อนให้รองรับการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวแล้ว และ กฟผ.มีเครื่องวัดแผ่นดินไหวที่ทันสมัยติดตั้งอยู่ที่เขื่อนศรีนครินทร์ แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่าเขื่อนของ กฟผ.จะปลอดภัยจากแผ่นดินไหว
    เขื่อน บอลด์วินฮิลล์เป็นตัวอย่างได้ดีเพราะขณะที่การสำรวจเพื่อจะสร้างเขื่อนแห่ง นี้ มีการพบแนวเลื่อน ๓ แนว แต่ผู้สำรวจคิดว่าแนวเลื่อนเหล่านี้จะไม่เลื่อนอีก กระนั้นก็ตาม นักสร้างเขื่อนก็ยังออกแบบเผื่อให้เขื่อนป้องกันแผ่นดินไหวถึง ๐.๒ g (ค่า g คือความเร่งของแรงดึงดูดโลก) เขื่อนแห่งนี้เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นตัวอย่างยอดเยี่ยมทางวิศวกรรมไม่ว่าใน การออกแบบ วิธีก่อสร้าง และการติดตามผล มีระบบการตรวจสอบประสิทธิภาพของเขื่อนตลอดเวลา แต่เขื่อนก็พังลงมาในที่สุด
    [​IMG]
    การพังของเขื่อนแห่งนี้ ทำให้เราเห็นนัยสำคัญสองประการคือ
    ประการ แรก ไม่ว่าเราจะมีความเชื่อมั่นทางวิศวกรรมอย่างไร แต่ก็อาจจะไม่สามารถป้องกันไม่ให้เขื่อนวิบัติจากแผ่นดินไหวได้ อาจยกเว้นถ้าเราใช้เงินจำนวนมหาศาลเพื่อให้เขื่อนแข็งแรง แต่ก็มีคำถามว่าคุ้มหรือไม่ ดังนั้นวิธีป้องกันที่ดีที่สุดก็คือไม่สร้างเขื่อนในเขตแนวเลื่อนของเปลือก โลก ประการที่สอง เราไม่สามารถฝากการป้องกันภัยพิบัติเขื่อนจากแผ่นดินไหวให้กับบรรดา วิศวกรนักสร้างเขื่อนได้
    ดัง นั้น เราจึงควรระงับโครงการเขื่อนที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวเนื่องจากจะสร้าง บนแนวเลื่อนของเปลือกโลก เช่น เขื่อนแก่งเสือเต้น เป็นต้น
    ส่วน กรณีเขื่อนที่สร้างไปแล้วนั้น ผู้เขียนใคร่ขอเสนอว่า ควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจัดทำแผนรับมือกับภัยพิบัติเขื่อนพังจากแผ่นดิน ไหว
    ในระยะเร่งด่วน ควรมุ่งไปที่เขื่อนที่มีความเสี่ยงสูงมากที่สุดก่อน นั่นคือเขื่อนเขาแหลม เขื่อนศรีนครินทร์ เขื่อนเชียวหลาน และเขื่อนบางลาง เนื่องจากเขื่อนทั้งสี่แห่งมีหลักฐานว่าระหว่างการก่อสร้างมีปัญหาด้านธรณี วิทยาและทำให้งบการก่อสร้างบานปลายมาก
    สำหรับเขื่อนเชี่ยวหลานและเขื่อนบางลาง ยังเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวที่ทำให้เกิดสึนามิที่ผ่านมาด้วย
    รายงาน จากชาวบ้านที่พบหลุบยุบมากมายทางภาคใต้หลังเกิดสึนามิคือสัญญาณเตือนว่า เขื่อนทางภาคใต้อาจมีความ เสี่ยงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่ต่อเนื่องมาจากการเลื่อนตัว ของเปลือกโลกเมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคมที่ผ่านมา
    ส่วนเขื่อนอื่นๆ ที่อยู่ในข่ายที่ต้องจัดทำแผนคือเขื่อนทางภาคเหนือและภาคตะวันตกของประเทศ เช่น เขื่อนแม่งัด เขื่อนแม่กวง ฯลฯ
    ที่ สำคัญก็คือ การป้องกันภัยพิบัติของเขื่อนจากแผ่นดินไหวต้องเป็นการร่วมมือกันของหน่วย งานต่างๆ นอกเหนือไปจากหน่วยงานสร้างเขื่อน เช่น กรมทรัพยากรธรณี กรมอุตุนิยมวิทยา มหาดไทย องค์กรภาคเอกชน นักวิชาการ และที่สำคัญคือผู้ที่อยู่ท้ายเขื่อนซึ่งป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการอพยพใน กรณีเขื่อนวิบัติ
    ผู้เขียนจำ ได้ว่า ก่อนหน้าเกิดสึนามิประมาณ ๒ เดือน มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ชาวบ้านท้ายเขื่อนเขาแหลมและเขื่อนศรีนครินทร์ และกลุ่มอนุรักษ์กาญจน์ได้ร่วมกับสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจัด ให้มีการสัมมนา เพื่อหาแนวรับมือกับการวิบัติของเขื่อนในกาญจนบุรี
    สิ่ง ที่น่าตกใจก็คือ ตัวแทนจังหวัดที่รับผิดชอบการป้องกันภัยไม่เข้าใจแม้แต่น้อยว่า การป้องกันภัยพิบัติจากเขื่อนคืออะไร นอกจากกล่าวว่าจังหวัดมีกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายค่าเสียหายแล้ว ขณะที่ตัวแทน กฟผ.ระบุว่า กฟผ.มีแผนการป้องกันภัยแล้วพร้อมกับชูแผนหนาปึกให้ที่ประชุมดู แต่ก็บอกว่าเปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลลับ ต้องขออนุญาตจากผู้บริหารก่อนท่ามกลางชาวบ้านที่ต้องหันมามองตากันปริบๆ แม้ว่าพวกเขาคือผู้ที่จะได้รับผลกระทบโดยตรงหากเขื่อนวิบัติ
    ทัศนะ ของ กฟผ.นี้เองที่ผู้เขียนไม่มั่นใจว่าการป้องกันภัยพิบัติจากเขื่อนพังจะเป็น จริงได้ เพราะวิธีคิดของนักสร้างเขื่อนยังมองว่าแผนการป้องกันภัยพิบัติเขื่อนพัง เป็นความลับและแยกคนในสังคมออกไป ทั้งๆ ที่คนคือหัวใจของการป้องกันภัยพิบัติเขื่อนพังจากแผ่นดินไหว
    ทัศนะ เช่นนี้บอกให้เรารู้ว่าตราบใดที่นักสร้างเขื่อนยังคิดอยู่ในบริบททางการ เมืองแบบเก่า ต่อให้เพิ่มงบประมาณอีกกี่พันล้านก็ตาม เราก็ไม่มีทางหลีกเลี่ยงหายนะจากการวิบัติของเขื่อนจากแผ่นดินไหวได้



    ขอบพระคุณแหล่งที่มา


    http://www.livingriversiam.org/thai/thai/thaidam_a6.htm
     
  19. สาวปีใหม่

    สาวปีใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    1,004
    ค่าพลัง:
    +2,368
    <table width="95%" border="0" cellpadding="3" cellspacing="0"><tbody><tr><td width="100%">
    <center><table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <td valign="middle" align="right">[​IMG]
    Click here to visit the Website
    </td> </tr> </tbody></table> </center>​
    </td> </tr> <tr> <td width="100%"><table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">[​IMG]</td> <td valign="top" width="10" align="center">[​IMG]</td> <td valign="top"><table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="100%" bgcolor="#a5b6cb"><b><blink><marquee border="0" scrolldelay="80" behavior="alternate" loop="3" bgcolor="#a5b6cb">ท วี ป เ ลื่ อ น - แ ผ่ น ดิ น ไ ห ว</marquee></blink></b>
    ภัยที่ไม่อาจพยากรณ์ </td> </tr> <tr> <td width="100%">เรื่อง : ยุทธวงษ์ วงษ์ทอง / ภาพประกอบ : วิชาญ เจริญศิลป์</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> "ภัยพิบัติทางธรรมชาติจะเริ่มโจมตีเราอีกครั้ง เมื่อความหวาดกลัวครั้งสุดท้ายได้เลือนหายไป" ภาษิตญี่ปุ่นกล่าวไว้เช่นนั้น
    สำหรับชาวญี่ปุ่นแล้ว ภัยธรรมชาติอาจเป็นเหมือนส่วนหนึ่งในชีวิต ที่ต้องทำใจยอมรับ และต้องเตรียมพร้อมที่จะตั้งรับ
    ตลอดเวลาอันยาวนาน มหันตภัยทางธรรมชาติ ตีคู่ขับเคี่ยว กับความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ ราวกับจะทดสอบ ความอดทนพากเพียร ตลอดจนความดื้อรั้นที่จะเอาชนะ
    ไม่เพียงญี่ปุ่น แต่ทั่วทุกมุมโลกที่ถูกภัยทางธรรมชาติถล่มทำลาย เทคโนโลยีการป้องกัน- เตือนภัยที่ทันสมัย แนวคิดทางสถาปัตยกรรมใหม่ ๆ มากมายได้ถูกค้นคิดขึ้น เพื่อรับมือกับมหันตภัยเหล่านี้ แต่ก็ดูจะได้ผลเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
    และในบรรดาภัยพิบัติจากธรรมชาติ ดูเหมือนไม่มีอะไรที่ร้ายแรง และยากจะรับมือได้เท่า �แผ่นดินไหว�
    โลกเกิดแผ่นดินไหวทุกวัน และแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ก็อาจเกิดขึ้นได้ทุกสองถึงสามเดือน ตลอดแนวแผ่นดินไหวในที่ต่างๆ ของโลก
    ปี ๒๕๓๘ ที่โกเบ ประเทศญี่ปุ่น แรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวขนาด ๗.๒ ริคเตอร์ ส่งผลให้อาคารบ้านเรือนถล่มทลาย และมีผู้เสียชีวิตกว่า ๖,๐๐๐ คน
    และเฉพาะปี ๒๕๔๒ เพียงปีเดียว ก็มีแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เกิดขึ้นแล้ว อย่างน้อยสามครั้ง ทั้งที่ตุรกี โคลัมเบีย และไต้หวัน ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตร่วม ๒ หมื่นราย
    เราอาจอยู่ห่างไกลจากแนวแผ่นดินไหว จนเกินจะตื่นตระหนกกับปรากฏการณ์นี้ แต่คงไม่ไกลจนไร้ประโยชน์ ที่จะทำความรู้จักกับมัน
    <hr size="1" width="90%" color="#a5b6cb"> </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" bgcolor="#a5b6cb">ทฤษฎีทวีปเลื่อน กับการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก</td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> แผ่นดินไหวเกิดจากอะไร ?
    เราคงไม่อาจตอบคำถามนี้ได้หากปริศนาเกี่ยวกับผืนทวีปยังไม่คลี่คลาย
    ก่อนหน้าปี ค.ศ. ๑๙๑๒ ผืนทวีปที่เราอาศัยอยู่ ยังคงเป็นที่มาของคำถามมากมาย นักโบราณชีววิทยาผู้ศึกษาเกี่ยวกับซากดึกดำบรรพ์ ของสิ่งมีชีวิตโบราณ สงสัยว่าสิ่งมีชีวิตพัฒนาขึ้นมาได้อย่างไร เหตุใดสิ่งมีชีวิตหลายชนิดบนพื้นที่ต่าง ๆ ที่อยู่ห่างไกลคนละซีกโลก จึงมีความคล้ายคลึงกัน และทำไมซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์บก ซึ่งไม่สามารถว่ายน้ำข้ามมหาสมุทรไปได้ จึงมีปรากฏอยู่ตามทวีปต่าง ๆ เหมือน ๆ กัน นักธรณีวิทยามีคำถามว่า เหตุใดในประเทศอินเดียซึ่งอยู่ในเขตร้อน จึงพบหลักฐานยืนยันว่า สภาพพื้นที่หลายแห่งเคยถูกปกคลุมด้วยน้ำแข็ง และเกาะกรีนแลนด์ซึ่งอยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ กลับพบซากหินปะการัง อันเกิดแต่เฉพาะในน่านน้ำเขตร้อนเท่านั้น ส่วนนักภูมิศาสตร์ก็ยังต้องการคำตอบว่า เหตุใดแนวขอบชายฝั่งตะวันออก ของทวีปอเมริกาใต้ และชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ที่อยู่ห่างกันถึง ๕,๐๐๐ กิโลเมตร จึงมีรูปร่างที่ดูเหมือนว่าจะสามารถนำมาต่อเข้ากันได้สนิท ราวกับแผ่นดินทั้งสองเคยเป็นผืนเดียวกัน ฯลฯ
    ทฤษฎีต่าง ๆ ที่มีอยู่ในเวลานั้น อาจตอบคำถามเหล่านี้ได้เพียงบางข้อ โลกเพิ่งได้รับคำตอบที่คลี่คลายข้อสงสัยที่กล่าวมาทั้งหมดได้ ก็เมื่อ อัลเฟรด เวเกเนอร์ นำเสนอทฤษฎีใหม่ของเขา ที่รู้จักกันในเวลาต่อมาในชื่อ "ทฤษฎีทวีปเลื่อน" (Continental Drift)
    อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener ค.ศ. ๑๘๘๐-๑๙๓๐) นักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน มีคำถามอยู่ในใจเช่นเดียวกับนักภูมิศาสตร์ เกี่ยวกับแนวขอบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ของทวีปอเมริกาใต้ และแอฟริกาที่ดูจะต่อเข้ากันได้สนิท คล้ายชิ้นส่วนของภาพต่อจิกซอว์ เขาตั้งสมมุติฐานว่า การต่อเข้ากันได้สนิท อาจหมายความว่าทวีปทั้งสอง เคยเป็นผืนแผ่นดินเดียวกัน ก่อนที่จะแยกออกจากกันอย่างที่เห็นในปัจจุบัน และถ้าเป็นเช่นนั้นจริง ก็แสดงว่าผืนทวีปขนาดยักษ์มีการเคลื่อนที่
    เพื่อพิสูจน์สมมุติฐานนี้ เวเกเนอร์จึงได้ศึกษาวิชาแขนงอื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ธรณีวิทยา และสิ่งมีชีวิตโบราณ และได้พบว่าไม่เพียงแต่รูปร่าง ของชายฝั่งมหาสมุทรทั้งสองทวีปจะสอดคล้องกันเท่านั้น แต่ลักษณะทางธรณีวิทยา และซากสิ่งมีชีวิตโบราณที่พบก็คล้ายคลึงกันด้วย แสดงว่าทวีปได้แยกจากกันหลังจากที่สัตว์ และพืชตายลง และฝังอยู่ในชั้นหิน
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> ในปี ค.ศ. ๑๙๑๒ เวเกเนอร์ได้ประกาศทฤษฎี การเคลื่อนที่ของทวีปเป็นครั้งแรก ทฤษฎีนี้ได้แพร่หลายในปี ค.ศ. ๑๙๑๕ พร้อม ๆ กับหนังสือของเขาที่ชื่อ ที่มาของทวีปและมหาสมุทร (The Origin of Continents and Ocean) เวเกเนอร์ได้อธิบายว่า แผ่นดินทุกทวีปมีร่องรอย อันอาจประกบเข้าให้กลายเป็นทวีปมหึมาทวีปเดียวได้ และได้ให้นามผืนทวีปนี้ว่า "พังเกีย" (Pangaea) เขาเชื่อว่าในสมัยแรกที่มีแผ่นดินนั้น มหาทวีปพังเกีย อยู่แถบซีกโลกทางใต้ และเพิ่งจะแตกแยกออก ในราวยุคไดโนเสาร์ คือเมื่อประมาณ ๑๘๐ ล้านปีมานี้ จนกลายมาเป็นทวีปต่าง ๆ อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
    แต่เนื่องจากนักวิชาการส่วนใหญ่ในสมัยนั้น ยังไม่เชื่อว่า ในโลกนี้จะมีแรงอะไรที่มีพลังมากพอ ที่จะผลักดันให้ผืนทวีปเลื่อนออกจากกันได้ และทฤษฎีทวีปเลื่อน ของเวเกเนอร์เองก็ไม่อาจตอบคำถามสำคัญข้อนี้ ดังนั้นจึงมีผู้โต้แย้งทฤษฎีของเวเกเนอร์ โดยอ้างว่าความคล้ายคลึงกันของพืช ที่เวเกเนอร์กล่าวถึง อาจจะมาจากเมล็ด และละอองเกสรที่ปลิวมาตามลม ส่วนความคล้ายคลึงกันของสัตว์ที่อยู่ต่างทวีป ก็อาจเกิดจากสัตว์ขนาดใหญ่เดินข้ามมหาสมุทร ในบริเวณที่มีสะพานเชื่อมต่อกัน เช่นบริเวณอะแลสกา- ไซบีเรีย แต่สะพานนี้ได้ยุบหายไปในทะเล ในบางช่วงเวลา แนวคิดโต้แย้งเหล่านี้ ได้ทำให้ทฤษฎีทวีปเลื่อนถูกละทิ้งไปจากวงการศึกษา ไปจนตลอดชีวิตของเวเกเนอร์
    จนมาถึงช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ มีการพัฒนาเทคโนโลยี และเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยมากขึ้น ทำให้มีผู้คิดหาคำตอบในคำถามสำคัญ ที่ยังคงค้างไว้ในทฤษฎีทวีปเลื่อน ของเวเกเนอร์จนเป็นผลสำเร็จ ผู้ที่ให้คำตอบนี้เป็นนักธรณีวิทยา แห่งมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน สหรัฐอเมริกา ชื่อ แฮรี เฮส (Harry Hammond Hess ค.ศ. ๑๙๐๖-๑๙๖๙) เฮสเชื่อในทฤษฎีทวีปเลื่อน ของเวเกเนอร์มาตั้งแต่ต้น และยังได้ศึกษาเพิ่มเติมในแนวคิดของ อาร์เทอร์ โฮล์มส์ (Arthur Holmes) นักธรณีวิทยาชาวอังกฤษช่วงทศวรรษ ๑๙๓๐ จนในที่สุดเมื่อ ค.ศ. ๑๙๕๙ เฮสก็ได้ประกาศแนวคิด เกี่ยวกับการแยกตัวกันของพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก และได้ตีพิมพ์เผยแพร่แนวคิดนี้ ลงในหนังสือชื่อ History of Ocean Basins ในปี ค.ศ. ๑๙๖๒ แนวคิดดังกล่าวเป็นส่วนสำคัญ ในการพัฒนาไปสู่ ทฤษฎีทวีปเลื่อนยุคใหม่ เฮสกล่าวว่าท้องมหาสมุทรแอตแลนติก มีสันเขาอยู่ใต้น้ำ ผ่ากลางมหาสมุทรตั้งแต่เหนือจรดใต้ สันเขาใต้น้ำนี้ เกิดจากแมกม่า หรือหินละลายภายใต้เปลือกโลกที่ดันตัวขึ้นมา ตรงรอยแยกของแผ่นทวีป ทำให้เกิดพื้นมหาสมุทรใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ พื้นมหาสมุทรที่เกิดใหม่นี้ จะดันพื้นมหาสมุทรเดิมให้ค่อย ๆ ขยับห่างออกจากกันทีละน้อย เป็นเวลาติดต่อกันหลายร้อยล้านปี ด้วยเหตุนี้ทวีปอเมริกาจึงค่อย ๆ เคลื่อนจากทวีปแอฟริกาทีละน้อย ๆ และแยกจากกันเช่นที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> ความรู้ใหม่นี้ถือเป็นเรื่องน่าตื่นเต้นในเวลานั้น จึงได้มีการค้นคว้ากันอย่างกว้างขวางเพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติม เฮสได้ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์แห่งรัฐนาวีอเมริกัน ชื่อ โรเบิร์ต ดิเอซ (Robert S. Dietz) พิสูจน์ความจริงนี้ ให้เห็นด้วยการสำรวจพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก จนเป็นผลสำเร็จโดยอาศัยหลักการสะท้อนคลื่นเสียงใต้น้ำ นักทำแผนที่ในยุคนั้น ได้เดินทางทิ้งระเบิดจากเรือสำรวจ เพื่อตรวจจับเสียงสะท้อนใต้ท้องทะเล เป็นระยะทางนับพันกิโลเมตร ในที่สุดก็สามารถจัดทำแผนที่พื้นมหาสมุทรทั่วโลก ทีมสำรวจได้พบสันเขาใต้น้ำเพิ่มขึ้น ในมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิกเป็นแนวยาว เชื่อมติดต่อกันกับสันเขาใต้น้ำ ในมหาสมุทรแอตแลนติก ภาพของโลกที่ได้จากการสำรวจครั้งนี้ดูเหมือนลูกเบสบอล ที่เต็มไปด้วยรอยตะเข็บ
    เฟรเดอริก ไวน์ (Frederick Vine) และ ดรัมมอนด์ แมททิวส์(Drammond Matthews) สองนักธรณีวิทยาแห่งสหราชอาณาจักร ได้พยายามอธิบายเรื่องทวีปเลื่อน โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับสนามแม่เหล็กโลก และคุณสมบัติของหินละลาย ซึ่งมีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ เมื่อหินละลายพุ่งขึ้นมาสู่เปลือกโลก สารแม่เหล็กที่มากับหินละลาย จะวางตัวตามแนวแม่เหล็กโลกในทิศเหนือใต้ในขณะนั้น เมื่อสนามแม่เหล็กโลกเปลี่ยนแปลงไป ก็จะทำให้แนวงอกของทวีปเปลี่ยนตาม และทำให้ทวีปเลื่อนอย่างเปลี่ยนทิศทาง
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> จอห์น ทูโซ วิลสัน (John Tuzo Wilson ค.ศ. ๑๙๐๘-๑๙๙๓) นักภูมิฟิสิกส์ชาวแคนาดา เป็นอีกผู้หนึ่งที่เสนอแนวความคิดสำคัญ ที่ช่วยให้ทฤษฎีทวีปเลื่อนยุคใหม่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในวัยหนุ่มวิลสันเข้าศึกษาระดับปริญญาเอก ที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ซึ่งในขณะนั้น แฮรี เฮส มาเป็นอาจารย์ผู้บรรยาย ที่มีอายุมากกว่าเพียงสองปี วิลสันสนใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ที่ฮาวายและหมู่เกาะภูเขาไฟใกล้เคียง โดยได้ตั้งสมมุติฐานว่า หมู่เกาะเหล่านี้อาจถือกำเนิดมาจาก Hot Spot อันเป็นพลังงานความร้อนมหาศาล ของหินละลายที่พวยพุ่งขึ้นมา จากส่วนลึกของชั้นแมนเทิล (mantle) ใต้เปลือกโลก สมมุติฐานเรื่อง Hot Spot ได้ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อ ค.ศ. ๑๙๖๓ ใน The Canadian Journal of Physics
    อีกสองปีถัดมา วิลสันได้ให้ข้อสังเกตอีกประการหนึ่ง ต่อปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น บริเวณรอยเลื่อนซานอันเดรส (San Andreas) มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ว่า มีลักษณะไม่เหมือนกับขอบของแผ่นเปลือกโลกที่อื่น ๆ นั่นคือ ไม่ได้จัดอยู่ในลักษณะการแยกออกจากกัน หรือเคลื่อนที่เข้าหากันแล้วมุดซ้อนกัน แต่น่าจะแบ่งได้เป็นแบบที่ ๓ นั่นก็คือ การเคลื่อนที่สวนทางกันในลักษณะเฉือนกัน โดยมิได้ส่งผลกระทบต่อลักษณะภูมิประเทศ เท่าสองแบบข้างต้น
    ตลอดทศวรรษ ๑๙๖๐-๑๙๗๐ ยังมีความรู้ และการค้นพบใหม่ ๆ ของนักวิทยาศาสตร์อีกหลายกลุ่ม ที่ทำให้เราเข้าใจเรื่องราว เกี่ยวกับทวีปเลื่อนได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ความรู้ความคิดใหม่ ๆ เหล่านี้ได้พัฒนาขึ้นมาสู่ทฤษฎีทวีปเลื่อนยุคใหม่ ที่นอกจากจะอธิบายการเคลื่อนที่ และการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของแผ่นเปลือกโลกแล้ว ยังทำให้เราได้เรียนรู้ถึงพลังงานมหาศาล ภายใต้เปลือกโลก พลังที่แยกผืนทวีปมหึมาออกจากกัน ยกแผ่นดินที่ราบขึ้นเป็นเทือกเขา พลังที่สำแดงอำนาจทำลายล้าง ในรูปของภูเขาไฟที่ก้าวร้าวดุดัน หรือคลื่นแผ่นดินไหวที่ถล่มอาคารบ้านเรือนจนพังทลาย บิดรางรถไฟเหล็กกล้าให้คดงอ รวมถึงพลังที่แปรเปลี่ยนกระแสน้ำในทะเล ให้กลายเป็นคลื่นยักษ์ เข้าถาโถมทำลายเมืองชายฝั่งจนราบเป็นหน้ากลอง
    ทฤษฎีนี้รู้จักกันในชื่อ "เพลตเทคโทนิก" (Plate Tectonics)
    <hr size="1" width="90%" color="#a5b6cb" noshade="noshade"> </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" bgcolor="#a5b6cb">เพลตเทคโทนิก--การเปลี่ยนแปลงของแผ่นเปลือกโลก </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> บางทีภูผาหินที่แข็งแกร่งหรือผืนดินอันมั่นคงที่เราได้เห็น และสัมผัสอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน อาจเป็นภาพลวงตา เพราะแท้จริงแล้วผืนแผ่นดิน ที่เราอาศัยอยู่นี้ก็เป็นเพียงชั้นเปลือกโลก (crust) ที่เปราะบาง และแตกร้าว ล่องลอยไปมาเหมือนแพหินขนาดใหญ่ บนมหาสมุทรของหินละลาย หรือแมกม่า (magma)
    เปลือกโลกแตกออกเป็นแผ่นหินใหญ่หลายชิ้น ชิ้นส่วนของเปลือกโลกเหล่านี้ เราเรียกว่า "แผ่นเปลือกโลก" หรืออาจเรียกทับศัพท์ว่า "เพลต" (plate) โดยมีเพลตอยู่ ๑๖ ชิ้นที่ประกอบกันเข้าเป็นเปลือกโลก แบ่งเป็นแผ่นทวีปและแผ่นมหาสมุทร อย่างไรก็ตามขอบของแผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่นไม่ได้ประกบกันเข้าอย่างแผ่นภาพต่อ แผ่นเปลือกโลกบางแผ่น เคลื่อนที่ในลักษณะเลื่อนตัวแยกออกจากกัน (spreading) ดังนั้นบริเวณรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกจึงเคลื่อนตัวออกจากกัน (diverging boundary) บางแผ่นก็เลื่อนเข้าไปชนกัน (collision) จนเกิดการเกยกัน ระหว่างแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น (converging boundary) หรือเปลือกโลกแผ่นใดแผ่นหนึ่ง อาจจะมุดลอดอยู่ใต้เปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่ง (subduction) สิ่งสำคัญที่ทำให้โลกของเรา ต่างจากแผ่นภาพต่อโดยสิ้นเชิง ก็คือ แผ่นเปลือกโลกทั้ง ๑๖ แผ่นที่ประกอบกันเข้าเป็นเปลือกโลกนั้น มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา บางทีก็เคลื่อนที่ผ่านกัน และเฉียดกันในทิศทางที่สวนกัน จนเกิดเป็นรอยเลื่อนด้านข้างขนาดใหญ่ (transform fault) อัตราการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่นนั้น นับว่าช้ามาก ๆ โดยเฉลี่ยแล้วเพียงแค่ ๒.๕ ซม. ต่อปี หรือเทียบง่าย ๆ ว่าพอ ๆ กับเล็บมือของเราที่งอกออกมาในแต่ละปี
    การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่น ซึ่งมีทิศทางที่แตกต่างกัน ได้สร้างให้เกิดภูมิประเทศแบบต่าง ๆ ขึ้นในโลก ในขณะเดียวกับที่ดวงอาทิตย์ ก็ทำหน้าที่สลักเสลา กัดกร่อนภูมิประเทศที่โลกสร้างขึ้นมาด้วยแสงแดด ลม และน้ำ งานของโลกในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเปลือกโลก ได้เริ่มขึ้นเมื่อแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นเคลื่อนที่เข้ามาชนกัน เทือกเขาหิมาลัย เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนอันหนึ่ง ของลักษณะภูมิประเทศ ที่เกิดจากการเคลื่อนตัวเข้าชนกันของแผ่นเปลือกโลก
    เทือกเขาหิมาลัยเป็นเทือกเขาที่สูงที่สุดในโลก ยอดเขาเอเวอร์เรสต์บนเทือกเขาหิมาลัยมีความสูงถึง ๘,๘๔๘ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง คงยากที่ใครจะนึกว่า ดินแดนหลังคาโลกนี้ครั้งหนึ่งเคยเป็นทะเลมาก่อน อย่างไรก็ตามระลอกคลื่น ที่ปรากฏบนพื้นผิวของหน้าผา และซากดึกดำบรรพ์ของแอมโมไนต์ ที่พบในบริเวณแม่น้ำลำธารบนเทือกเขา ก็เป็นหลักฐานยืนยันได้ดี ถึงความอัศจรรย์ของธรรมชาติ
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> แอมโมไนต์มีรูปร่างหน้าตาคล้ายปลาหมึก แต่มีเปลือกคล้ายเปลือกหอยห่อหุ้มร่างกาย แอมโมไนต์ว่ายไปมาเมื่อประมาณ ๒๐๐-๖๕ ล้านปีก่อน ในมหายุคเมโซโซอิก (mezozoic) ในยุคนั้นไดโนเสาร์ครอบครองพื้นทวีป ขณะที่แอมโมไนต์ครองพื้นทะเล แต่หลังจากที่มหายุคเมโซโซอิกปิดฉากลงอย่างกะทันหัน ด้วยสาเหตุบางอย่าง ทั้งแอมโมไนต์และไดโนเสาร์ต่างก็สาบสูญไปพร้อม ๆ กัน ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงก่อนหน้าที่แผ่นเปลือกโลกอินเดีย จะแยกมาจากแผ่นดินใหญ่กอนด์วานา (gondwanaland) ในซีกโลกตอนใต้ และเคลื่อนตัวมาทางทิศเหนือ ผ่านเส้นศูนย์สูตรมาชนกับแผ่นเปลือกโลกยูเรเชียน
    เมื่อแผ่นเปลือกโลกอินเดียเคลื่อนที่มาใกล้แผ่นเปลือกโลกยูเรเชียน พื้นที่เปลือกโลกบริเวณรอยต่อ ระหว่างแผ่นดินทั้งสอง ก็ถูกแรงดันจนโค้งงอ ในที่สุดก็โผล่พ้นทะเล เกิดเป็นเกาะขึ้นหลายเกาะ และกลายเป็นทะเลตื้น ๆ ในเวลาต่อมาเมื่อแผ่นเปลือกโลกทั้งสองเคลื่อนที่เข้าชนกันแล้ว แผ่นเปลือกโลกอินเดีย ได้มุดซ้อนเข้าไปใต้แผ่นเปลือกโลกยูเรเชียน ซากสิ่งมีชีวิตที่ทับถมอยู่ในทะเล จึงถูกดันให้ยกตัวสูงขึ้นเป็นเทือกเขาหิมาลัย และในขณะเดียวกัน ก็เกิดที่ราบสูงทิเบตกว้างใหญ่ขึ้น คลื่นกระทบจากการชนกันทำให้เกิดรอยย่นบนเปลือกโลกเป็นบริเวณกว้าง กลายเป็นแนวเทือกเขาทอดยาวมากกว่า ๓,๐๐๐ กิโลเมตร และยาวติดต่อกันมาถึงภาคเหนือของประเทศไทย ในปัจจุบันเทือกเขาหิมาลัยยังคงสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในอัตราเฉลี่ย ๑ เมตรในเวลา ๕,๐๐๐ ปี เนื่องมาจากแผ่นเปลือกโลกทั้งสองยังคงเคลื่อนที่อยู่
    การเคลื่อนที่เข้าชนกันของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น ในลักษณะที่แผ่นหนึ่งมุดลอดลงไปใต้อีกแผ่นหนึ่ง (มักจะเกิดจากการที่แผ่นมหาสมุทร ซึ่งมีความหนาแน่นกว่ามุดลอดลงไปใต้แผ่นทวีป) นอกจากจะทำให้เกิดการดันตัวขึ้นเป็นเทือกเขาแล้ว บางกรณียังทำให้เกิดร่องลึก (trench) ในพื้นมหาสมุทรด้วย กล่าวคือขณะที่แผ่นเปลือกโลกที่อยู่ข้างใต้งัดให้แผ่นเปลือกโลกแผ่นบนสูงขึ้น จนเกิดเป็นเทือกเขา ตัวมันเองก็จะจมลึกลงไปเรื่อย ๆ ยิ่งลึกลงไปใต้เปลือกโลกเท่าไร อุณหภูมิก็จะยิ่งสูงขึ้น พร้อมกับความดันภายใต้พื้นผิวโลกก็ค่อย ๆ เพิ่มขึ้น และเมื่อลงไปสู่ความลึกประมาณ ๑๕๐ กิโลเมตรจากพื้นผิวโลก แผ่นเปลือกโลกที่เป็นหินแข็งก็จะอ่อนตัวลง กลายเป็นหินละลายหรือแมกม่า ในที่สุดหินละลายก็จะถูกดันกลับขึ้นสู่เปลือกโลกเบื้องบน ตามรอยต่อหรือรอยแตกร้าวของแผ่นเปลือกโลก ทำให้เทือกเขาที่เกิดขึ้นมีการปะทุของแมกม่า กลายเป็นภูเขาไฟที่มีพลัง ตัวอย่างของกรณีนี้ได้แก่ เทือกเขาแอนดีสในทวีปอเมริกาใต้ เทือกเขาในประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> การแยกตัวออกจากกันของแผ่นเปลือกโลกได้ก่อให้เกิดเปลือกโลกขึ้นมาใหม่ เพราะตลอดแนวที่เปลือกโลก แยกออกจากกันจะมีการปะทุของแมกม่า จนกลายเป็นแนวร่องภูเขาไฟ แมกม่าเมื่อดันตัวสู่ผิวโลกจะกลายเป็นลาวา และเมื่อลาวาเย็นตัวลง ก็จะกลายเป็นเปลือกโลกแผ่นใหม่ ซึ่งจะดันแผ่นเปลือกโลกเก่าให้เคลื่อนที่ไป เมื่อมีแผ่นเปลือกโลกใหม่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง แผ่นเปลือกโลกใหม่ก็จะดันให้แผ่นเปลือกโลกเก่าเคลื่อนที่ต่อไปอีก กระบวนการนี้จะค่อย ๆ เป็นไปอย่างช้า ๆ ทีละน้อย ๆ แต่เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอติดต่อกันนับแสนนับล้านปี กระบวนการเช่นนี้เป็นกระบวนการเดียวกับ ที่ร่องลึกกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งสร้างเปลือกโลกใหม่ตลอดเวลา ดันให้ทวีปแอฟริกา เคลื่อนห่างออกจากทวีปอเมริกาไปทีละน้อย จนทำให้ผืนทวีปแอฟริกา และอเมริกาแยกออกจากกันในที่สุด ส่วนตัวอย่างเปลือกโลกบริเวณที่กำลังเริ่มแยกตัวออกจากกัน ก็ได้แก่ บริเวณที่เรียกว่า East African Vallay จากการศึกษาพบว่าแผ่นเปลือกโลกโซมาเลียน กำลังค่อย ๆ เคลื่อนที่ออกจากแผ่นเปลือกโลกแอฟริกัน ด้วยความเร็ว ๒ ซม. ต่อปี โดยในราวล้านปีข้างหน้า รอยแยกนี้จะกว้างถึง ๒๐ กม. มีการคาดหมายกันว่า กระบวนการเช่นนี้จะทำให้แผ่นดินแอฟริกาตะวันออก ในส่วนที่เป็นประเทศเคนยา แทนซาเนีย เอธิโอเปีย ยูกันดา ฯลฯ กลายเป็นเกาะ แยกตัวออกจากทวีปแอฟริกาในอีก ๕๐ ล้านปีข้างหน้า ปรากฏการณ์เช่นนี้ ได้เคยเกิดขึ้นกับทะเลแดงมาแล้วในอดีตเช่นกัน กล่าวคือแผ่นดินแอฟริกา และแผ่นดินที่เป็นคาบสมุทรอาระเบียในอดีต เคยเชื่อมติดเป็นแผ่นดินผืนเดียวกันมาก่อน แล้วเกิดการเลื่อนตัวออกจากกันอย่างช้า ๆ กินเวลานับล้านปี จนทำให้แนวที่เปลือกโลกแยกตัว มีระดับต่ำกว่าน้ำทะเล และเมื่อรอยแยกนี้ ได้ขยายออกจนไปจรดท้องทะเล ก็ทำให้น้ำทะเลไหลทะลักเข้ามาอย่างช้า ๆ ในที่สุดบริเวณดังกล่าวก็กลายเป็นทะเลแดง แบ่งแยกคาบสมุทรอาระเบีย ออกจากทวีปแอฟริกาเช่นในปัจจุบัน
    และในกรณีที่แผ่นเปลือกโลกสองแผ่น ไม่ได้เคลื่อนตัวเข้าหากันตรง ๆ แต่เคลื่อนที่ไปในทิศทางที่สวนทางกัน หรือเคลื่อนที่แบบเฉียดกัน ก็จะทำให้เปลือกโลกเกิดเป็นร่องแนวรอยเลื่อนที่มองเห็นได้อย่างชัดเจน จากทางอากาศ ตัวอย่างของกรณีนี้ ได้แก่รอยเลื่อนซานอันเดรสในสหรัฐอเมริกา ที่เห็นเป็นแนวรอยเลื่อนยาวติดต่อกันนับพันกิโลเมตร
    การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกแม้จะเป็นไปอย่างช้า ๆ เพราะกว่าที่รอยแยกบนเปลือกโลกจะผลักดันให้ผืนทวีปแยกออกจากกัน หรือกว่าที่แผ่นดินจะยกตัวสูงขึ้นเป็นเทือกเขา ก็ต้องใช้เวลานับล้าน ๆ ปี แต่ถึงกระนั้นผลกระทบจากแรงดันมหาศาล จากการที่เปลือกโลกเคลื่อนตัวเข้าหากัน ก็ก่อให้เกิดภัยพิบัติร้ายแรง มาแล้วนับครั้งไม่ถ้วน หินละลายที่ดันตัวขึ้นสู่เบื้องบนตามรอยต่อ หรือรอยแตกร้าวของเปลือกโลก ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ภูเขาไฟระเบิด ที่ถล่มทลายเมืองทั้งเมืองให้ย่อยยับ แรงดันมหาศาลจากการเกยกันของแผ่นเปลือกโลก จนทำให้แผ่นเปลือกโลกสองแผ่น ไถลเลื่อนออกจากกัน ก็ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่คร่าชีวิตผู้คนไปมากต่อมาก และหากการเคลื่อนตัวนี้เกิดขึ้นในมหาสมุทร ก็จะก่อให้เกิดคลื่นยักษ์ "สึนะมิ" ที่ถล่มทำลายเมืองชายฝั่งจนราบมาแล้วหลายครั้ง
    โดยเฉพาะในกรณีของแผ่นดินไหวนั้น สิ่งที่น่าหวาดหวั่นที่สุดก็คือ เราแทบไม่มีโอกาสรู้ล่วงหน้าได้เลยว่ามันจะเกิดขึ้นเมื่อใด
    <hr size="1" width="90%" color="#a5b6cb" noshade="noshade"> </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" bgcolor="#a5b6cb">แผ่นดินไหว ภัยที่ไม่อาจพยากรณ์ </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> ในสมัยโบราณ หลายประเทศในโลก มีตำนานที่ใช้อธิบายถึงปรากฏการณ์แผ่นดินไหว นิยายปรัมปราของชาวฮินดูบอกว่า มีช้างแปดเชือกหนุนผืนแผ่นดินอยู่ เมื่อมันสะบัดหัว ก็จะทำให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้น ชาวมองโกเลียเชื่อว่ามีกบยักษ์นอนหลับหนุนโลก หากมันตื่นขึ้น และขยับตัวเมื่อไร ก็จะเกิดแผ่นดินไหวเมื่อนั้น ไทยเรามีปลาอานนท์ ส่วนญี่ปุ่นก็มีปลาดุกยักษ์นามาสุ ที่ถูกเทพเจ้าสั่งให้ทำหน้าที่หนุนผืนแผ่นดินไว้
    ปัจจุบันเรามีข้อมูลมากมายเกี่ยวกับแผ่นดินไหว ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ชัดเจน โดยไม่ต้องอาศัยเพียงจินตนาการเช่นคนยุคก่อน เรารู้สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว รู้ถึงระดับแรงสั่นสะเทือนของมัน รวมทั้งรายละเอียดปลีกย่อยอื่น ๆ อีกมาก แต่ถึงกระนั้นเราก็ยังไม่อาจหาคำตอบที่สำคัญที่สุด เกี่ยวกับแผ่นดินไหว
    ญี่ปุ่นเป็นประเทศหนึ่งที่ถูกคุกคามทั้งจากแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด และคลื่นยักษ์สึนะมิ เนื่องจากทำเลที่ตั้งนอกจากจะเป็นเกาะแล้ว ยังตั้งอยู่บนสามแยกอันตราย สามแยกที่ว่านี้ก็คือรอยต่อของเปลือกโลกสามแผ่น อันได้แก่ แผ่นทวีปยูเรเชียน แผ่นมหาสมุทรฟิลิปปินส์ และแผ่นมหาสมุทรแปซิฟิก รอยต่อระหว่างแผ่นเป็นลักษณะมุดตัวซ้อนกัน โดยแผ่นมหาสมุทรที่มีความหนาแน่นมากกว่า มุดเข้าไปใต้แผ่นทวีป ทำให้พื้นที่ประเทศญี่ปุ่นมีพร้อมทั้งแนวภูเขาไฟที่มีพลัง และรอยแตกรอยเลื่อนหลายแห่ง จากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก อันเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดแผ่นดินไหว
    ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา เป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีเกี่ยวกับแผ่นดินไหว และได้ลงทุนศึกษาค้นคว้า เรื่องแผ่นดินไหวอย่างต่อเนื่อง โดยหวังว่าความรู้ที่ได้จะช่วยทำนาย และเตือนภัยแผ่นดินไหวล่วงหน้าได้ แต่ก็ยังไม่สำเร็จ ทั้งนี้เพราะถึงแม้การเกิดแผ่นดินไหวทุกครั้ง จะมีศูนย์กลางของการเกิด ซึ่งเรียกว่า "ศูนย์กลางแผ่นดินไหว" และมีรอบของการเกิดแผ่นดินไหวที่เรียกว่า "คาบอุบัติซ้ำ" ที่น่าจะทำให้สามารถพยากรณ์ การเกิดแผ่นดินไหวล่วงหน้าได้ แต่เนื่องจากรอยเลื่อนตัวหนึ่ง จะก่อให้เกิดศูนย์กลางแผ่นดินไหวเป็นจำนวนมาก กระจายอยู่ตลอดแนวรอยเลื่อน ทั้งยังเกิดในเวลาที่ต่างกัน การพยากรณ์โดยยึดศูนย์กลางของการเกิด และคาบอุบัติซ้ำจึงแทบจะเป็นไปไม่ได้ โดยทั่วไปแผ่นดินไหวขนาดเล็ก ซึ่งมีรอบการเกิดสั้นจะเกิดขึ้นบ่อยครั้งทั่วโลก ขณะที่การเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ซึ่งรอบการเกิดยาวนานกว่า (อาจนับเป็นร้อยหรือพัน ๆ ปี) จะเกิดขึ้นนาน ๆ ครั้ง ทว่าแต่ละครั้งก็จะก่อความเสียหายอย่างรุนแรง
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> อย่างไรก็ตาม ความพยายามของมนุษย์ก็ไม่จบสิ้นลงง่าย ๆ ปัจจุบันยังมีการศึกษาวิจัย ในแนวทางอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น การวัดค่าความเครียดความเค้นของเปลือกโลก วัดก๊าซเรคอน วัดการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กโลก รวมถึงการบันทึกประวัติการเลื่อนตัว ของรอยเลื่อนต่าง ๆ ตามความยาวทั้งหมดจากการมีตะกอนทับถม และแผ่นดินไหวที่เกิดต่อเนื่อง แต่ถึงกระนั้นก็ยังไม่ประสบความสำเร็จนัก
    ด้วยเหตุนี้การศึกษาแผ่นดินไหว จึงมุ่งไปสู่การวางแผนรับมือ เมื่อเกิดอุบัติภัยมากกว่าการพยากรณ์ล่วงหน้า ที่ญี่ปุ่นมีการออกแบบอาคารสำนักงาน ที่ลดแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวลงได้ถึงร้อยละ ๖๕ ตัวอาคารจะมีการถ่ายน้ำหนัก จากระบบไฮโดรลิก โดยปรับตำแหน่ง และควบคุมการถ่ายน้ำหนักด้วยคอมพิวเตอร์ ในลักษณะที่คล้ายกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อของคน ที่ยืนโหนอยู่บนรถเมล์
    ส่วนที่มลรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ก็มีการออกแบบสร้างอาคารโรงพยาบาล ที่ลดแรงสั่นสะเทือน มีการวางระบบท่อไฟฟ้า และท่อแก๊สที่ยืดหยุ่น เพื่อให้โรงพยาบาลยังคงเหลือรอดอยู่ เมื่อเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว
    นอกจากนี้ยังมีการค้นคิดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่จะช่วยประเมินความเสียหายจากแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว และแม่นยำ เพื่อที่จะได้ไม่ต้องคอย การรายงานผลสำรวจความเสียหาย ตามขั้นตอนอย่างเป็นทางการ และสามารถดำเนินการช่วยเหลือ ผู้ได้รับความเดือดร้อนได้อย่างทันท่วงที โปรแกรมคอมพิวเตอร์นี้ ชื่อ EPEDAT (Early Post Earthquake Damage Assessment Tool) มันจะคำนวณความเสียหายตามขนาดแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น โดยจะประเมินและแสดงตำแหน่งอาคาร ที่อาจจะถล่มลงมา รวมทั้งจุดที่อาจจะมีผู้บาดเจ็บจากอาคารถล่ม
    เวลา ๒๔ ชั่วโมงหลังเกิดแผ่นดินไหว เป็นชั่วโมงทองที่จะช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพราะผู้เคราะห์ร้ายจะมีโอกาสรอดชีวิตสูง การกู้ภัยสากลของอังกฤษ ได้ทดลองนำอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีสูงมาใช้ในการกู้ภัย เช่น นำกล้องไฟเบอร์ออปติกขนาดเล็ก ที่ใช้ในทางการแพทย์หย่อนลงไป ตามซอกหลืบของอาคาร เพื่อส่องหาผู้รอดชีวิต หรือใช้เครื่องวัดเสียงอัลตราโซนิก ที่ช่วยให้ได้ยิน แม้กระทั่งเสียงที่เบาที่สุดอย่างเสียงเคาะเบา ๆ ในระยะห่างไปหลายเมตร เสียงเหล่านี้สำคัญมาก เพราะในการช่วยเหลือ มักได้ยินเสียงก่อนจะมองเห็นตัว อุปกรณ์ดังกล่าวนี้ได้นำไปใช้กู้ภัยที่โกเบด้วย
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> คนญี่ปุ่นเรียนรู้ และพยายามหาวิธีปรับตัว เพื่ออยู่ร่วมกับภัยธรรมชาติได้อย่างน่าทึ่ง ชาวเมืองชายฝั่งทะเลบางเมือง ที่เคยถูกคลื่นยักษ์ซึนามิ ซึ่งเกิดจากแผ่นดินไหวใต้ท้องทะเลเข้าโถมซัดทำลาย ได้ร่วมกันสร้างกำแพง และประตูยักษ์ไว้รอรับมือกับสึนะมิลูกต่อไป โดยในเวลาปรกติ ประตูจะเปิดเป็นทางสัญจรเหมือนประตูเมืองสมัยโบราณ แต่ในยามฉุกเฉินประตูเมืองจะปิด เพื่อป้องกันกองทัพน้ำที่จะเข้าทำลายเมือง
    เมืองที่อยู่ใกล้ภูเขาไฟ ก็มีการสร้างลำรางขนาดใหญ่ ที่ดูคล้ายคลองชลประทานยักษ์ คลองนี้สร้างขึ้นมา เพื่อรองรับหินละลาย หรือลาวาจากภูเขาไฟ เป็นการเบี่ยงเบนให้สายธารลาวาระบายลงสู่ทะเล จะเรียกเป็นถนนซูเปอร์ไฮเวย์ สำหรับลาวาก็ว่าได้ ช่วงเวลาที่ภูเขาไฟเกรี้ยวกราด ก็จะมีการอพยพชาวเมืองไปอยู่ที่อื่น เป็นการชั่วคราว พอเหตุการณ์สงบก็กลับมาเสี่ยงภัยกันใหม่ เรื่องย้ายหนีอย่างถาวรนั้น แทบไม่ต้องพูดถึง เพราะว่าที่ดินที่ญี่ปุ่นนั้นมีราคาแพงมาก ในวันครบรอบปี ของการเกิดภัยพิบัติในแต่ละเมืองที่กล่าวมา ชาวเมืองก็จะมาร่วมรำลึกถึงผู้จากไป และซักซ้อมแผนอพยพร่วมกัน
    ส่วนในเมืองใหญ่ก็มีการติดตั้งสื่อเตือนภัย มีการให้ความรู้ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดแผ่นดินไหว มีการซักซ้อมแผนอพยพ ตั้งแต่ระดับนักเรียนอนุบาล จนถึงผู้ใหญ่วัยทำงาน โดยทั่วไปก่อนการเกิดแผ่นดินไหว มักจะมีการไหวเตือน (fore shock) โดยเราสามารถตรวจจับแรงสั่นสะเทือนระลอกแรกนี้ ได้ก่อนที่แรงสั่นสะเทือนอย่างรุนแรงจะเข้าโจมตี การเดินทางมาถึงของคลื่นทั้งสองระลอก มีระยะห่างกันโดยเฉลี่ยประมาณ ๕-๒๐ วินาที ดังนั้นจากการมีเครือข่ายเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวที่ดี ชาวญี่ปุ่นจึงได้อาศัยช่วงเวลาที่แตกต่างนี้ มาใช้ประโยชน์ในการทำสื่อเตือนภัย โดยเครื่องตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จะถูกเชื่อมกับสื่อเตือนภัยที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ เมื่อแรงสั่นสะเทือนคลื่นแรกมาถึง สัญญาณเตือนภัยจะดังขึ้น ประชาชนก็จะหลบเข้าสู่ที่ปลอดภัยโดยทันที เช่น หลบอยู่ใต้โต๊ะหรืออยู่ห่างจากตู้ใบใหญ่ ฯลฯ และเมื่อผ่านเหตุการณ์เฉพาะหน้าไปแล้ว ทุกคนจะรู้หน้าที่ว่า จะต้องเดินออกจากตัวอาคาร เพื่อไปยังสถานที่ที่ปลอดภัยที่กำหนดไว้ ถ้าเป็นเด็กอนุบาล เด็ก ๆ จะเดินจูงมือกันเป็นขบวนอย่างสงบ เพื่อจะได้ไม่พลัดหลงในระหว่างทาง นอกจากนี้ยังมีการฝึกซ้อมพิเศษ สำหรับผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ เรื่องการจ่ายก๊าซหุงต้มทางท่อไปตามบ้าน เพื่อจะได้รีบตัดก๊าซได้ทันท่วงที ป้องกันการเกิดไฟไหม้ใหญ่ เช่นที่เกิดขึ้นมาแล้วที่โกเบ
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> ที่ญี่ปุ่นยังมีพิพิธภัณฑ์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับแผ่นดินไหว ภายในพิพิธภัณฑ์ จะมีบ้านจำลองที่จำลองสถานการณ์แผ่นดินไหวขนาดต่าง ๆ ไว้ เป็นการสร้างประสบการณ์ ในการเผชิญหน้ากับแผ่นดินไหว ให้แก่ผู้สนใจ โดยมีรายละเอียดสำหรับการเตรียมตัว ในสถานการณ์ต่าง ๆ ไว้อย่างครบครัน อาทิ ถ้าอยู่ในห้องรับแขก จะต้องทำอย่างไร ถ้าอยู่ในครัวจะต้องทำอย่างไร ทั้งยังมีห้องรมควัน ที่จะช่วยให้รู้ว่าหากก๊าซหุงต้มรั่วกระจายไปทั่วบ้านจะมีวิธีเอาตัวรอดอย่างไร คนญี่ปุ่นมีโอกาสได้ฝึกซ้อมในสถานการณ์จำลองข้างต้น เพราะรัฐบาลของเขาให้ความสำคัญ ต่อการเตรียมพร้อมรับมือกับแผ่นดินไหวอย่างจริงจัง
    แม้ว่าปรากฏการณ์แผ่นดินไหวจะดูห่างไกลกับชีวิตคนไทยมาก เมื่อเทียบกับคนในประเทศที่ตั้งอยู่บนแนวรอยเลื่อน อย่างญี่ปุ่น จนทำให้หลายคนคิดว่า การเตรียมตัวเพื่อตั้งรับกับภัยธรรมชาติประเภทนี้ ดูจะกลายเป็นเรื่องเกินความจำเป็นสำหรับเรา ความคิดเช่นนี้ถึงจะเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ แต่ก็เป็นความคิดที่มองข้ามความจริงบางอย่างไป เพราะที่จริงแล้ว ใช่ว่าคนไทยจะไม่เคยพบเจอกับปรากฏการณ์แผ่นดินไหว
    <hr size="1" width="90%" color="#a5b6cb" noshade="noshade"> </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" bgcolor="#a5b6cb">คนไทยกับแผ่นดินไหวในเมืองไทย</td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top">
    เดือนกุมภาพันธ์ ปี ๒๕๑๘ แผ่นดินไหวทั่วภาคกลาง ได้สร้างความตื่นเต้นในหมู่คนไทย ซึ่งไม่ค่อยได้พบเจอกับปรากฏการณ์เช่นนี้ การเกิดแผ่นดินไหวครั้งนั้น ก่อให้เกิดกระแสความเชื่อที่ว่า "อีกห้าปีโลกจะแตก" ถึงขนาดมีผู้นำมาแต่งเป็นเพลงลูกทุ่ง ร้องกันจนฮิตไปพักหนึ่ง ความเชื่อเรื่องโลกแตกจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ฮือฮาอยู่พักใหญ่ก่อนจะลืมเลือนกันไปเมื่อเวลาผ่าน
    แผ่นดินไหวครั้งนั้น ไม่ได้ส่งผลสะเทือนแก่คนไทยมากมายนัก นอกจากจะทำให้ผู้คนรับรู้ถึงแรงสั่นสะเทือน และเกิดความเสียหายเล็กน้อย ต่างกันอย่างมากกับแผ่นดินไหวที่อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ในเดือนกันยายน ปี ๒๕๓๗ ความรุนแรงขนาด ๕.๑ ริคเตอร์ ได้ก่อความเสียหายแก่โรงพยาบาล รวมทั้งวัด และโรงเรียนต่าง ๆ หลายแห่ง เหตุการณ์ครั้งนี้ส่งผลให้คนไทย ได้กฎกระทรวงมหาดไทยเบื้องต้นฉบับหนึ่ง (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ปี ๒๕๔๐) ที่ระบุให้อาคารในพื้นที่เสี่ยงภัย ต้องออกแบบก่อสร้าง ให้ต้านทานแผ่นดินไหวได้อย่างเหมาะสม กฎหมายฉบับนี้ อาจนับเป็นก้าวย่างสำคัญของเรา ในการตั้งรับกับปรากฏการณ์แผ่นดินไหว
    ถ้ายึดถือโครงร่างแผ่นเปลือกโลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือเอเชียตะวันออก ในช่วงอายุทางธรณีกาลล่าสุด (Late Cenozoic) เป็นเกณฑ์ จะพบว่าส่วนของประเทศไทย และประเทศใกล้เคียงเป็นส่วนใต้สุดของแผ่นเปลือกโลก ชนิดแผ่นทวีปที่เรียกว่า แผ่นทวีปยูเรเชียน (Eurasian Plate) ซึ่งล้อมรอบด้วยแผ่นเปลือกโลก ชนิดแผ่นมหาสมุทรอีกสองแผ่น คือ แผ่นอินเดีย (Indian Plate เป็นส่วนหนึ่งของ Indian- Australian Plate) ซึ่งมีเขตรอยต่อเปลือกโลก ตั้งแต่ตะวันตกของประเทศไทย อ้อมหมู่เกาะอันดามัน และเกาะนิโคบาร์ไปตามแนวตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านด้านนอกของหมู่เกาะสุมาตรา และหมู่เกาะชวา และแผ่นมหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Plate) โดยมีรอยต่อระหว่างแผ่น อยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศไทย แผ่นเปลือกโลกทั้งสองแผ่นนี้ ยังคงเคลื่อนตัวอยู่ โดยมีลักษณะทั้งชน และมุดซ้อนกัน เป็นผลให้ชั้นหินแผ่นเปลือกโลกยูเรเชียน ที่รวมถึงประเทศไทย เกิดรอยย่น คดโค้ง โก่งตัวเป็นเทือกเขา และมีรอยเลื่อน (fault) รอยแตก รอยแยก ที่เป็นเหตุแห่งการเกิดแผ่นดินไหวอยู่ในหลายพื้นที่ ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าแผ่นดินไหวในประเทศไทย อาจเกิดขึ้นได้จาก
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="120" align="center" bgcolor="#ceddea">
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top"> ๑. แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่มีแหล่งกำเนิดจากภายนอกประเทศ ส่งแรงสั่นสะเทือนมายังประเทศไทย โดยมีแหล่งกำเนิดบริเวณตอนใต้ของประเทศจีน พม่า ลาว ทะเลอันดามัน ตอนเหนือของเกาะสุมาตรา โดยบริเวณที่จะรู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือนได้แก่ บริเวณภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกรุงเทพฯ
    ๒. แผ่นดินไหวที่เกิดจากแนวรอยเลื่อนภายในประเทศที่ยังสามารถเคลื่อนตัว หรือที่เรียกว่า รอยเลื่อนมีพลัง ซึ่งมีอยู่ราวเก้าแห่ง ส่วนใหญ่แนวรอยเลื่อนเหล่านี้จะอยู่บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันตกของประเทศ รอยเลื่อนทั้งหมดเกิดจากสาเหตุการชนกันของแผ่นทวีปอินเดียกับยูเรเชียน
    ข้อมูลเหล่านี้คงทำให้เราไม่อาจปฏิเสธ การเกิดขึ้นและมีอยู่ของปรากฏการณ์แผ่นดินไหว ในประเทศไทยได้อีกต่อไป แต่สิ่งที่น่าคิด และน่าติดตามก็คือ นับจากกฎกระทรวงฉบับปี ๒๕๔๐ ก้าวย่างต่อไปของเรา ในการรับมือกับแผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นจะเป็นเช่นไร
    เป็นไปได้แค่ไหนที่ในสถานการณ์ปรกติ การปลูกสร้างอาคารใหม่ในพื้นที่เสี่ยง จะถูกควบคุมดูแลให้เป็นไปตามระเบียบอย่างเคร่งครัด เป็นไปได้ไหม ที่จะมีการเผยแพร่ความรู้ และข้อควรปฏิบัติเมื่อเกิดแผ่นดินไหวให้แก่ประชาชน ที่อาศัยในจังหวัดที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว รวมถึงผู้อยู่อาศัยในอาคารสูง หรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่มั่นคงแข็งแรงได้รับทราบ เป็นไปได้แค่ไหน ที่เราจะมีแผนรับมือกับแผ่นดินไหวเอาไว้ล่วงหน้า มีระบบสาธารณูปโภค และโรงพยาบาลที่มั่นคงพอจะเหลือให้ใช้ ได้ในยามฉุกเฉิน เป็นไปได้แค่ไหน ที่จะมีการจัดสร้างระบบเตือนภัยแผ่นดินไหว ตลอดจนการฝึกฝนหน่วยกู้ภัย ให้รู้จักวิธีช่วยเหลือผู้เคราะห์ร้าย จากซากปรักหักพังอย่างถูกวิธี ฯลฯ
    ช่วงปีที่ผ่านมา ปรากฏการณ์แผ่นดินไหวครั้งร้ายแรง ที่เกิดขึ้นในที่ต่าง ๆ ของโลก ดูจะกระตุ้นให้คนไทยหันมาสนใจ เรื่องราวเกี่ยวกับแผ่นดินไหวอีกครั้ง อาจฟังดูเป็นเรื่องดีถ้าความตื่นตัวครั้งนั้น จะไม่มาพร้อมกับกระแสโลกแตก น้ำท่วมโลก ตลอดจนภัยพิบัติร้ายแรง ที่เชื่อกันว่าจะเกิดขึ้นในวันที่ ๕ พฤษภาคม ค.ศ. ๒๐๐๐ เมื่อดาวนพเคราะห์เรียงตัวกันเป็นรูปไม้กางเขน
    น่าเสียดายที่ความตื่นตระหนกของเรา มักอยู่ห่างไกลจากพื้นฐานความเป็นจริง ขาดความตระหนักรู้ ทั้งยังสามารถลืมเลือนความรู้สึก ตลอดจนเหตุการณ์ร้ายแรงใด ๆ ไปได้ง่าย เพียงเมื่อเวลาผ่านไป อีกไม่นานเรื่องโลกแตก น้ำท่วมโลก คงหายไปจากความคิด และแผ่นดินไหว ก็คงถูกนับเป็นเรื่องไกลตัวเช่นที่ผ่านมา จริงอยู่ที่ประเทศไทยตั้งอยู่บนผืนแผ่นดินที่มั่นคง และห่างจากขอบของแผ่นเปลือกโลกพอสมควร จนยากที่จะพบกับหายนะ จากแผ่นดินไหว แต่เราอาจลืมไปว่า ความประมาท ก็เป็นที่มาของหายนะเช่นกัน
    ถึงวันนี้ตึกถล่ม โป๊ะล่ม รถบรรทุกก๊าซคว่ำ ไฟไหม้โรงแรม หรือโรงงานที่ไม่มีทางหนีไฟ ฯลฯ อาจเริ่มเลือนหายไปจากสมองของเรา เราวางเฉย แม้ว่าประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งตั้งอยู่บนขอบเปลือกโลกอันเปราะบาง และอยู่ไม่ไกลจากเรา จะประกาศแผนการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ไว้ก่อนหน้าที่จะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจไม่นาน-- อาจเพราะเราเองก็มีท่อก๊าซ และเขื่อนกักเก็บน้ำจำนวนมหาศาล พาดทับอยู่บนรอยเลื่อนเช่นกัน
    คงต้องใช้เวลาอีกนานกว่าที่เราจะได้ตระหนักว่า ความเสี่ยงเหล่านี้ แอบแฝงอยู่กับเราตลอดเวลา และอาจเรียกร้องค่าตอบแทนราคาแพง ในวันใดวันหนึ่ง


    <hr size="1" width="90%" color="#a5b6cb" noshade="noshade"> </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> <table style="width: 581px; height: 120px;" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <td valign="top" width="30" align="center">
    </td> <td valign="top" align="center">
    </td> <td valign="top" width="30" align="center">
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="30" align="center" bgcolor="#bad1e4">
    </td> <td valign="top" align="center" bgcolor="#bad1e4">

    ขอขอบพระคุณแหล่งที่มา
    http://www.sarakadee.com/feature/2000/05/earthquake.htm

    </td></tr></tbody></table>
     
  20. ทองอ้วน

    ทองอ้วน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    98
    ค่าพลัง:
    +135
    ผมก็เห็นด้วยกับคุณ Kongp ครับ อยากให้จับตาดูตรงนี้เอาไว้บ้างนะครับ ถ้าเกิดขึ้นมาแล้วจะกระทบกับคนจำนวนมาก รวมถึง กรุงเทพฯ ด้วยน่าเป็นห่วงจริงๆครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...