บรัช หลายชื่อ มักตั้งกระทู้ไร้สาระ ยิ่งทำตนเองตกต่ำลง ๆ

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย นวยนาถ, 24 ธันวาคม 2010.

  1. นวยนาถ

    นวยนาถ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +0
    กระแสทักษิณฟีเวอร์ เริ่มเข้าสู่ยุคเสื่อมถอย

    ใช้ถ้อยคำโวหารตีกินไปวันๆ

    น่าเสียดาย และน่าเศร้าใจเป็นอย่างยิ่ง

    นั้นก็เพราะว่าทักษิณไม่ยอมที่จะแพ้ ไม่กล้าที่จะแพ้


    [​IMG]
     
  2. นวยนาถ

    นวยนาถ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +0
    [​IMG]

    บทเรียนประชาธิปไตยแบบไทยๆ ที่นักการเมืองโสมมหัก หัวคิว จับประชาชนมาเป็นเกราะกำบัง
     
  3. นวยนาถ

    นวยนาถ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +0
    “ฉันไม่เคยสนใจอะไรเกี่ยวกับ ทักษิณ”


    [​IMG]

    น่าอนาถใจ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ธันวาคม 2010
  4. Bill PEA31

    Bill PEA31 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    124
    ค่าพลัง:
    +417
    จะดีหรือครับ คุยกันเรื่องนี้ ผมไม่อยากเห็นความขัดแย้งบนเว็บนี้นะครับ
    สิ่งทั้งหลายที่เกิดขึ้น ล้วนเป็นไปตามกระแสแห่งกรรม หากเราพิจารณาเรื่องเหล่านี้
    อย่างมีสติ ก็น่าจะเข้าใจได้ไม่ยากนัก คิดได้มากหรือน้อยมันก็ขึ้นอยู่กับบารมีของแต่ละท่าน

    ผมอยากให้พวกเรานั้น นึกถึงหน้าที่ มากกว่าสิทธิ ที่บ้านของพวกเรานั้นวุ่นวาย
    เป็นเพราะพวกเรานั้นคิดถึงสิทธิ มากกว่าหน้าที่ จริงไหมครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ธันวาคม 2010
  5. ใต้ร่มเงา

    ใต้ร่มเงา Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +33
    จริงๆไม่ค่อยอยากตอบกระทู้แบบนี้สักเท่าไร แต่ว่านี้เป็น เวปพลังจิตนะครับคุณ ตั้งกระทู้แยยนี้ไปพันทิป/ห้องราชดำเนินดีกว่ามั้ง อีกอย่าง สนธิเป็นยังไงเหรอ ฟีเวอร์ขึ้นหรือไง 5555+
     
  6. chate_SP

    chate_SP เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2005
    โพสต์:
    297
    ค่าพลัง:
    +220
    การแสดงความคิดเห็นทางการเมือง หากให้หลักเหตุผล ไม่ใช่อารมณ์ หลักฐานมีน้ำหนักเพียงพอ ไม่ว่าจะไปแสดงความคิดเห็นที่ใด ที่นั้นย่อมไม่มีความแตกแยก

    แต่หากแสดงความคิดเห็นกันด้วยอารมณ์ เอาความรัก-ความเกลียดชัง-ความโกรธแค้นมาแสดงออก อย่าว่าแต่เรื่องการเมืองเลย เรื่องชินจังชอบดึงช้างน้อยก็สามารถทะเลาะกันจนบ้านแตกได้
     
  7. cjundee2

    cjundee2 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    154
    ค่าพลัง:
    +71
    มันก็ไม่ต่างกันทั้งเหลืองทั้งแดง ผลประโยชน์แอบแฝงทั้งนั้น


    ทักษิณ เปรม สนธิ อภิสิทธิ์ มันคนกระหายในอำนาจพอพอกัน
     
  8. คิดดีจัง

    คิดดีจัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,626
    ค่าพลัง:
    +5,353
    เวปพลังจิตเป็นเวปที่นำทางสู่แสงแห่งธรรม

    ผู้มีปัญญาย่อมรู้สิ่งใดควรสิ่งใดไม่ควร
     
  9. akojang

    akojang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    122
    ค่าพลัง:
    +132
    ไม่เหมาะค่ะ ไม่เหมาะ.... ขอเถอะ...ให้สงบ เพื่อศึกษาธรรมะกันสักเวปนะคะ
     
  10. konngaam

    konngaam เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2008
    โพสต์:
    615
    ค่าพลัง:
    +369
    กฏของบอร์ดเขาก็มีอยู่ จขกท.น่าจะสนใจอ่านบ้างนะครับ
     
  11. krasin

    krasin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    395
    ค่าพลัง:
    +2,821
    มีธรรมมะให้พึ่งพาไม่สนใจ รอแต่จะไปพึ่งพานักการเมือง นี่แหละกรรมของสัตว์โลก ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน(เจริญ) ถ้าเอานักการเมืองเป็นที่พึ่งแห่งตน(ฉิบหาย)
     
  12. paintkiller

    paintkiller เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    334
    ค่าพลัง:
    +946
    ปล่อยเขาไปเถอะครับ...อีกหน่อยก็ถึงกรรมที่ทำไว้เอง
     
  13. emaN resU

    emaN resU เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    2,944
    ค่าพลัง:
    +3,294
    Merry Christmas...

    คิดถึงนะ "นวยอนาถ"

    อย่าตั้งหลายกระทู้นะจร๊า...



    รักนะ จุ๊บๆ
     
  14. kosondesign

    kosondesign Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +66
    ตัวคุณเองหรือผู้อื่นท่านใดได้ประโยชน์จากการตั้งกระทู้นี้มั้งขอรับ
    ขอเป็นเรื่องที่ให้สาระมากกว่านี้จะเปนการดีมากขอรับ
    สาธุ
     
  15. จิ-โป

    จิ-โป เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,006
    ค่าพลัง:
    +2,196
    นี่เป็นนิทานนะครับ เล่าให้ฟังขำๆ กับกรรมที่เวียนมา

    ประวัติศาสตร์จะซ้ำรอยเก่า
    ใครเล่าหนีออกจากอยุธยา แล้วกลับมาเป็นใหญ่
    ทหารทั้งหลายล้วนแต่ห่วงปากห่วงท้อง ห่วงเงินอุดหนุน
    วันไหนเล่าจะทุบหม้อข้าว อุดหนุนเป็นมื้อสุดท้าย ไม่ท่านตายเราก็สิ้น วันนั้นจะมีชัย

    ใครไปค้นดูประวัติศาสตร์จะรู้ว่าเขารออะไรค่อยทุบหม้อข้าว วันนี้ก็รออย่าง
    นั้นเหมือนกันล่ะ เรานักปฏิบัติธรรมย่อมไม่ยุ่งเกี่ยวการเมืองและสงคราม ปล่อยไป
    ตามเวรกรรม
     
  16. sutanon

    sutanon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    1,553
    ค่าพลัง:
    +170
    ภาระกิจเสร็จแล้ว ไปรับเงินได้ ...

    (แม้แต่เวปธรรมแบบนี้ ยังมีคนถ่อยมาป่วนให้ประชาชนต้องแตกแยกอีก)
     
  17. b0abb0bi

    b0abb0bi Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    58
    ค่าพลัง:
    +80
    แต่สำหรับองค์กร Human Right มองว่าประชาชนต้องได้รับสิทธิของความเป็นมนุษย์มาก่อนสิ่งอื่นใดที่สุด และนี่เป็นพื้นฐานสำหรับการดำรงอยู่อย่างเท่าเทียมกันเพื่อให้มีพลังศักยภาพ ความเป็นอิสระในความคิดเห็น การทำงาน และหน้้าที่่ ก็จะบังเกิดด้วยความสมัครใจและเต็มเปี่ยมด้วยกำลังใจ
    ส่วนการที่คิดถึงหน้าที่มาก่อน ผมมองว่าหากเราเป็นทาสเราก็คงคำนึงถึงหน้าที่ทาสไปตลอดกาล ส่วนคนที่ไม่พอใจก็เหมือนที่เขาว่า อย่าข่มเขาโคขืนให้กินหญ้า ทำนองนั้น

    ส่วนเรื่องอดีตนายกนั้นผมว่า ไม่ใช่ประเด็นหลักเลย มันก็คือการเมืองนั่นเอง
    และที่สำคัญที่สุด : จขกท ครับขอเรียนว่าคนที่เข้ามาที่เว็บนี้ย่อมมีความเห็นต่าง ไม่ควรนำเรื่องการเมืองมาโพสต์ในที่นี้ เพราะทุกคนต่างต้องการหาความรู้ในขอบเขตของเว็บ palungjit หากต้องการโพสต์ คิดว่ามีเวทีที่อื่นอีกมากมายนะครับ

    สิทธิมนุษยชน

    ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
    ด้วยเหตุที่การยอมรับศักศรีประจำตัว และสิทธิที่เสมอกันไม่อาจโอนแก่กันได้ของสมาชิกทั้งปวงแห่งครอบครัวมนุษย์ เป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรมและสันติภาพ
    ด้วยเหตุที่การเฉยเมยและดูหมิ่นเหยียดหยามสิทธิมนุษย์ด้วยกัน เอง ได้ก่อให้เกิดการกระทำอันโหดร้ายป่าเถื่อนทารุณ กระทบกระเทือนมโนธรรมของมนุษยชาติอย่างรุนแรง โดยเหตุที่ได้มีการประกาศปณิธานสูงสุดของสามัญชนว่า ถึงวาระแห่งโลกแล้วที่นมุษย์จะมีเสรีภาพในการพูด ในความเชื่อถือ และทั้งมีเสรีภาพจากความกลัวและความต้องการ
    ด้วยเหตุที่เป็นสิ่งจำเป็นที่สิทธิมนุษยชนควร ได้รับการคุ้มครองโดยหลัก นิติธรรม ถ้าไม่ต้องการให้มนุษย์ถูกบีบบังคับ ให้หาทางออกโดยการกบฎต่อทรราชย์และการกดขี่อันเป็นที่พึ่งสุดท้าย
    ด้วยเหตุที่เป็นสิงจำเป็นที่จะส่งเสริมการพัฒนาความสัมพันธ์ฉันมิตร ระหว่างชาติต่างๆ
    ด้วยเหตุที่บรรดาประชาชนแห่งสหประชาชาติได้ยืนยันไว้ในกฎบัตร ถึงความเชื่อมั่นในสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ในศักดิ์ศรีและคุณค่าของตัวบุคคล และความเสมอกันแห่งสิทธิทั้งชายหญิง และได้ตัดสินใจที่จะส่งเสริมความก้าวหน้า ทางสังคมตลอดจนมาตฐานแห่งชีวิตให้ดีขึ้น มีเสรีภาพมากขึ้น
    ด้วยเหตุที่รัฐสมาชิกได้ปกฏิญาณที่จะให้ได้มา โดยการร่วมมือกับสหประชาชาติ ซึ่งการส่งเสริม การเคารพ และการถือปฎิบัติโดยสากลต่อสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
    ด้วยเหตุที่ความเข้าใจตรงกันในเรื่องสิทธิและเสรีภาพ มีความสำคัญยิ่ง เพื่อให้คำปฎิญาณนี้เกิดสัมฤทธิ์ผลอย่างเต็มเปี่ยม
    ดังนั้น ณ บัดนี้ สมัชชา จึงขอประกาศให้….
    ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตราฐานร่วมกันแห่งความสำเร็จ สำหรับประชาชนทั้งหลายและประชาชาติทั้งปวง ด้วยจุดประสงค์ที่จะให้ปัจเจกบุคคล ทุกผู้ทุกนามและองค์กรของสังคมทุกหน่วย โดยการรำลึกเสมอถึงปฏิญญานี้ พยายามสั่งสอนและให้การศึกษาเพื่อส่งเสริม การเคารพต่อสิทธิและเสรีภาพเหล่านี้ ด้วยมาตรการที่เจริญก้างไปข้างหน้า ทั้งในและระหว่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งการยอมรับและถือปฎิบัติต่อสิทธิเหล่านั้น อย่างเป็นสากลและได้ผล ทั้งในหมู่ประชาชนของรัฐสมาชิกเอง และในหมู่ของประชาชนแห่งดินแดน ที่อยู่ภายใต้ดุลอาณาของรัฐสมาชิกดังกล่าว.
    ข้อ 1
    มนุษยทั้งหลายทั้งหลายเกิดมามีอิสระเสรี เท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ ทุกคนได้รับการประสิทธิ์ประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฎิบัติต่อกันอย่างฉันพี่น้อง
    ข้อ 2
    บุคคลชอบที่จะมี สิทธิและเสรีภาพตามที่ระบุไว้ในปฏิญญานี้ ทั้งนี้โดยไม่มีการจำแนกความแตกต่างในเ รื่องใดๆ เช่น เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรือทางอื่นใด ชาติหรือสังคมอันเป็นที่มาเดิม ทรัพย์สิน กำเนิด หรือสถานะอื่นใด
    นอกจาก นี้การจำแนกข้อแตกต่าง โดยอาศัยมูลฐานแห่งสถานะทางการเมือง ทางดุลอาณาหรือทางเรื่องระหว่างประเทศของประเทศ หรือดินแดนซึ่งบุคคลสังกัดจะทำมิได้ ทั้งนี้ไม่ว่าดินแดนดังกล่าวจะเป็นเอกราช อยู่ในความพิทักษ์ มิได้ปกครองตนเอง หรืออยู่ภายใต้การจำกัดแห่งอธิปไตยอื่นใด

    ข้อ 3
    บุคคลมีสิทธิในการดำเนินชีวิต ในเสรีธรรมและในความมั่นคงแห่งร่างกาย
    ข้อ 4
    บุคคลใดจะถูกบังคับให้เป็นทาส หรืออยู่ในภาระจำยอมใดๆมิได้ การเป็นทาสและการค้าทาสจะมีไม้ได้ทุกรูปแบบ
    ข้อ 5
    บุคคลใดจะถูกทรมานหรือได้รับการปฎิบัติ หรือลงทัณฑ์ซึ่งทารุณโหด ไร้มนุษยธรรมหรือเหยียดหยามเกียรติมิได้
    ข้อ 6
    ทุกๆคนมีสิทธิที่จะได้รับ การยอมรับว่าเป็นบุคคลในกฎหมาย ไม่ว่า ณ ที่ใดๆ
    ข้อ 7
    ทุกๆ คน ต่างเสมอกันในกฎหมายและชอบที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน โดยปราศจากการเลือกปฎิบัติใดๆ ทุกคนชอบที่จะได้รับการคุ้มครองอย่างเสมอหน้าจากการเลือกปฎิบัติใดๆ อันเป็นการล่วงละเมิดปฏิญญานี้ และต่อการยุยงส่งเสริมให้เกิดการเลือกปฎิบัติเช่นนั้น
    ข้อ 8
    บุคคล มีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาอย่างได้ผล โดยศาลแห่งชาติซึ่งมีอำนาจเนื่องจากการกระทำใดๆ อันละเมิดต่อสิทธิขั้นมูลฐาน ซึ่งตนได้รับจากรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมาย
    ข้อ 9
    บุคคลใดจะถูกจับ กักขัง หรือเนรเทศโดยพลการมิได้
    ข้อ 10
    บุคคล ชอบที่จะเท่าเทียมกันอย่างบริบูรณ์ ในอันที่จะได้รับการพิจารณาอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย โดยศาลที่เป็นอิสระและ ไร้อคติ ในการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ ตลอดจนข้อที่ตนถูกกล่าวหาใดๆ ทางอาญา
    ข้อ 11
    บุคคลที่ถูกกล่าวหาด้วยความผิดทางอาญา มีสิทธิ์ที่จะได้รับการสันนิฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์ จนกว่าจะจะมีการพิสูจน์ว่า มีความผิดตามกฎหมาย ในการพิจารณาโดยเปิดเผย ณ ที่ซึ่งตนได้รับหลักประกันทั้งหมดที่จำเป็นในการต่อสู้คดี
    บุคคลใดจะ ถูกถือว่ามีความผิดอันมีโทษทางอาญาใดๆ ด้วยเหตุ ที่ตนได้กระทำหรือละเว้นการกระทำใดๆ ซึ่งกฎหมายของประเทศหรือกฎหมายระหว่างประเทศ ในขณะที่ได้กระทำนั้นมิได้ถูกระบุว่ามีความผิดทางอาญามิได้ และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นหนักกว่าโทษที่ใช้อยู่ในขณะที่การกระทำความผิดทาง อาญานั้นเกิดขึ้นมิได้
    ข้อ 12
    การเข้าไปสอดแทรกโดยพลการในกิจ ส่วนตัว ครอบครัว เคหะสถาน การส่งข่าวสาร ตลอดจนการโจมตีต่อเกียรติยศและ ชื่อเสียงของบุคคลนั้นจะทำมิได้ ทุกคนมีสิทธิ์ที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายจากการสอดแทรก และการโจมตีดังกล่าว
    ข้อ 13
    บุคคลมีสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและในถิ่นที่อยู่ภายในขอบเขต ดินแดนของแต่ละรัฐ
    บุคคลมีสิทธิที่จะเดินทางออกนอกประเทศใดๆ รวมทั้งของตนเอง และมีสิทธิที่จะกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอน
    ข้อ 14
    บุคคลมีสิทธิที่จะแสวงหาและพักพิงในประเทศอื่นๆ เพื่อลี้ภัยจากการถูกกดขี่ข่มเหง
    สิทธิ นี้จะถูกกล่าวอ้างมิได้ในกรณีการฟ้องคดี ซึ่งโดยจากความจริงเกิดจากความผิดที่ไม่ใช่เรื่องทางการเมือง หรือจากการกระทำที่ขัดต่อความมุ่งประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ
    ข้อ 15
    บุคลลมีสิทธิในการถือสัญชาต
    การถอนสัญชาติโดยพลการ หรือปฎิเสธสิทธิที่จะเปลี่ยนสัญชาติ ของบุคคลใดนั้น จะกระทำมิได้
    ข้อ 16
    ชาย หญิงเมื่อเจริญวัยบริบรูณ์แล้ว มีสิทธิที่จะสมรสและสร้างครอบครัว โดยไม่มีการจำกัดใดๆเนื่องจาก เชื้อชาติ สัญชาติ หรือศาสนา บุคคล ชอบที่จะมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องการสมรส ในระหว่างการสมรส และในการขาดจากการสมรส
    การสมรสจะกระทำได้โดยการยินยอมอย่างเสร ี และเต็มใจ ของคู่ที่ตั้งใจจะกระทำการสมรส
    ครอบครัวคือ กลุ่มซึ่งเป็นหน่วยทางธรรมชาติและพื้นฐานทางสังคม และชอบที่จะได้รับความคุ้มครองโดยสังคมและรัฐ
    ข้อ 17
    บุคคลมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินโดยลำพังตนเอง และโดยการร่วมกับผู้อื่น
    การยึดเอาทรัพย์สินของบุคคลใดไปเสียโดยพลการจะกระทำมิได้
    ข้อ 18
    บุคคล มีเสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา สิทธินี้รวมถึงเสรีภาพที่จะเปลี่ยนศาสนา หรือความเชื่อ และเสรีภาพที่จะแสดงให้ศาสนาหรือความเชื่อประจักษ์ในรูปแบบการสั่งสอน การปฎิบัติกิจ การเคารพสักการะบูชา สวดมนต์ และพิธีกรรม ไม่ว่าจะโดยลำพังตนเอง หรือร่วมกับผู้อื่นในประชาคม ในที่สาธารณะหรือในที่ส่วนตัว
    ข้อ 19
    บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพ ในความเห็น และการแสดงออก สิทธินี้รวมถึงเสรีภาพที่จะยึดมั่น ในความคิดเห็นโดยปราศจากการสอดแทรก และที่จะแสวงหารับ ตลอดจนการแจ้งข่าว รวมทั้งความคิดเห็นโดยผ่านสื่อใดๆ โดยมิต้องคำนึงถึงเขตแดน
    ข้อ 20
    บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพในการชุมนุม และสมาคมโดยสงบ
    การบังคับให้บุคคลเป็นเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมจะกระทำมิได้
    ข้อ 21
    บุคคลมีสิทธิที่จะเข้าร่วมในรัฐบาลของตนไม่ว่าจะโดยหรือผู้แทนที่ผ่านการ เลือกอย่างเสรี
    บุคคลมีสิทธิที่จะเข้าถึงการบริการสาธารณะในประเทศของตน
    เจต จำนงของประชาชน จะเป็นฐานอำนาจของรัฐบาล เจตจำนงนี้จะแสดงออกโดยการเลือกตั้ง เป็นครั้งเป็นคราวอย่างแท้จริง โดยการให้สิทธิออกเสียงอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมและโดยการลงคะแนนลับ หรือโดยวิธีการลงคะแนนอย่างเสรี
    ข้อ 22
    ในฐานะสมาชิกของสังคม ด้วยความเพียรพยายามของชาติตลอดจนความร่วมมือระหว่างประเทศ และโดยสอดคล้องกับการจัดระเบียบและทรัพยากรของแต่ละรัฐบุคคลมีสิทธิในความ มั่นคงทางสังคม และชอบที่จะได้รับผลแห่งสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งจำเป็นต่อศักดิ์ศรีและการพัฒนาบุคลิกภาพ อย่างเสรีของตน
    ข้อ 23
    บุคคลมีสิทธิที่จะทำงาน และเลือกงานอย่างเสรี และมีสภาวะการทำงานที่ยุติธรรมและพอใจ ที่จะได้รับการคุ้มครองจากการว่างงาน
    บุคคลมีสิทธิที่จะรับค่าตอบแทนเท่ากัน สำหรับการทำงานที่เท่ากัน โดยไม่มีการเลือกปฎิบัติใดๆ
    บุคคล ที่ทำงานมีสิทธิในรายได้ซึ่งยุติธรรม และเอื้อประโยชน์เฟื่อเป็นประกันสำหรับตนเอง และครอบครัวให้การดำรงค์มีด่าควรแก่สักดิ์ศรี ของมนุษย์ และถ้าจำเป็นก็ชอบที่จะได้รับการคุ้มครองทางสังคมอื่นๆ เพิ่มเติม
    บุคคลมีสิทธิที่จะก่อตั้งและเข้าร่วมสหภาพแรงงาน เพื่อคุ้มครองผลประดยชน์ของตน
    ข้อ 24
    บุคคลมีสิทธิในการพักผ่อนและเวลาว่าง รวมทั้งการจำกัดเวลาทำงานที่ชอบด้วยเหตุผล และมีวันหยุดเป็นครั้งคราวที่ได้รับค่าตอบแทน
    ข้อ 25
    บุคคล มีสิทธิในมาตราฐานการครองชีพที่เพียงพอสำหรับสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี สำหรับตนเองครอบครัว รวมทั้งอาหาร เสื้อผ้า ที่อยู่อาศัย การรักษาพยาบาลและบริการทางสังคมที่จำเป็น และสิทธิในความมั่นคงในกรณีย์ว่างงาน เจ็บป่วย ทุพพลภาพ เป็นหม้าย วัยชรา หรือการขาดปัจจัยในการเลี้ยงชีพ อื่นใดในพฤติการณ์อันเกิดจากที่ตนควบคุมได้
    มารดา และบุตรชอบที่จะได้รับการดูและความช่วยเหลือเป็นพิเศษ เด็กทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นบุตรในหรือนอกสมรส ย่อมได้รับการคุ้มครอง ทางสังคมเช่นเดียวกัน
    ข้อ 26
    บุคคลมีสิทธิในการศึกษา การศึกษาจะเป็นสิ่งที่ให้ประโยชน์โดยไม่คิดมูลค่า อย่างน้อยที่สุดในขั้นประถมศึกษษ และขั้นพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาให้เป็นการศึกษาภาคบังคับ ขั้นเทคนิคและประกอบอาชีพเป็นการศึกษาที่ต้องจัดให้มีโดยทั่วๆไป ขั้นสูงสุดเป็นขั้นที่จะเปิดให้ทุกคนเท่ากันตามความสามารถ
    การศึกษา จะมุ่งไปทางการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างเต็มที่ เพื่อเสริมพลังการเคารพสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐานให้แข็งแกร่ง และมุ่งเสริมความเข้าใจ ขันติและมิตรภาพระหว่างประชาชาติ กลุ่มเชื้อชาติและศาสนา และจะมุ่งขยายกิจกรรมของสหประชาชาติเพื่อธำรงสันติภาพ
    ผู้ปกครองมีสิทธิก่อนผู้อื่นที่จะเลือกชนิดของการศึกษา สำหรับบุตรหลานของตน
    ข้อ 27
    บุคคล มีสิทธิที่จะเข้าร่วมการใช้ชีวิตทางวัฒนธรรมในประชาคมออย่างเสรี ที่จะพึงพอใจในศิลปะและมีส่วนในความคืบหน้า และผลประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์
    บุคคล มีสิทธิในการได้รับการคุ้มครองประโยชน์ทางด้านศีลธรรม และทางวัตถุอันเป็นผลได้จากการประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ วรรณกรรม และศิลปธที่ตนเป็นเจ้าของ
    ข้อ 28
    บุคคลชอบที่จะได้รับ ประโยชน์จากระเบียบสังคมและระหว่างประเทศ อันจะอำนวยให้การใช้สิทธิและเสรีภาพบรรดาที่ได้ระบุไว้ใน ปฏิญญานี้ทำได้อย่างเต็มที่
    ข้อ 29
    บุคคลมีหน้าที่ต่อประชาคมอันเป็นที่เดียวซึ่งบุคลิกภาพของตนจะพัฒนาได้ อย่างเสรีเต็มความสามารถ
    ใน การใช้สิทธิและเสรีภาพบุคคลต้องอยู่ภาพใต้เพียงเช่นที่จำกัดโดยกฎหมายเฉพาะ เพื่อความมุ่งประสงค์ ใหเได้มาซึ่งการยอมรับ และเคารพในสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดขอลศีลธรรม ความสงบเรียบร้อยของประชาชน และสวัสดิการโดยทั่วๆไป ในสังคมประชาธิปไตย
    สิทธิและเสรีภาพเหล่านี้ มิว่าด้วยกรณีย์ใด จะใช้ขัดกับความมุ่งประสงค์และหลักการ ของสหประชาชาติไม่ได้
    ข้อ 30
    ข้อ ความต่างๆตามปฏิญญานี้ ไม่เปิดช่องที่จะแปลความได้ว่า ให้สิทธิใดๆแก่รัฐ กลุ่มชนหรือบุคคลใดๆ ที่จะประกอบกิจกรรม หรือกระทำการใดๆ อันมุ่งต่อการทำลายสิทธิและเสรีภาพใดๆ ที่ได้ระบุไว้ในบทบัญญัติฉบับนี้


    :cool: :cool: :cool:



    อ้างอิง



    What is Human Rights?
    Human rights are international moral and legal norms that aspire to protect all people everywhere from severe political, legal, and social abuses.
    Human rights are minimum standards of legal, civil and political freedom that are granted universally. These rights take precedence over other claims by individuals, groups or states. Human rights refer to the perception that humans, no matter what ethnicity, nationality or legal influence, have universal rights. These rights usually include the right to life, freedom from torture, freedom of movement, the right to an adequate standard of living, freedom of religion, the right to self-determination, the right to participation in cultural and political life and the right to education. Many international as well as national laws safeguard the human rights of its inhabitants, although these laws and their implementations vary.
    Human rights are political norms dealing mainly with how people should be treated by their governments and institutions. They are not ordinary moral norms applying mainly to interpersonal conduct (such as prohibitions of lying and violence).
    Human rights are those basic standards without which people cannot live in dignity. To violate someones human rights is to treat that person as though she or he were not a human being. In conclusion, human rights belong to all people simply because they are human beings.
    Human Rights in International law
    Many human rights violations have occurred during the centuries with many countries resisting the acceptance of universal human rights, beyond metaphysical or philosophical principles. In some countries massive popular upheavals took place and gave birth to Human Rights Charters, for example the Magna Carta, the French Declaration of the Rights of Man and of the Citizen of 1789, followed two years later by the American Bill of Rights.
    The international era of the human rights debate began in earnest with the creation of the United Nations Commission on Human Rights in 1946, which was composed of 18 member states. During its first sessions, the main item on the agenda was the Universal Declaration of Human Rights. The Commission set up a drafting committee which devoted itself exclusively to preparing the draft of the Universal Declaration of Human Rights.
    During the two-year drafting process of the Universal Declaration, the drafters maintained a common ground for discussions and a common goal: respect for fundamental rights and freedoms. Despite their conflicting views on certain questions, they agreed to include in the document the principles of non-discrimination, civil and political rights, and social and economic rights. They also agreed that the Declaration had to be universal.
    On 10 December 1948, at the Palais de Chaillot in Paris, the 58 member states of the United Nations General Assembly adopted the Universal Declaration of Human Rights, with 48 states in favour and eight abstentions (two countries were not present at the time of the voting). The General Assembly proclaimed the Declaration as a “common standard of achievement for all peoples and all nations”, towards which individuals and societies should “strive by progressive measures, national and international, to secure their universal and effective recognition and observance”.
    Although the Declaration, which comprises a broad range of rights, is not a legally binding document, it has inspired more than 60 human rights instruments which together constitute an international standard of human rights. These instruments include the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights and the International Covenant on Civil and Political Rights, both of which are legally binding treaties. Together with the Universal Declaration, they constitute the International Bill of Rights.
    Challenges still lie ahead, despite many accomplishments in the field of human rights. Many in the international community believe that human rights, democracy and development are intertwined. Unless human rights are respected, the maintenance of international peace and security and the promotion of economic and social development cannot be achieved. Human rights “specify limits to a regime’s internal autonomy”.
    International Human Rights Day is celebrated yearly on 10 December.
    UN Human Rights Treaty Bodies
    There are six major international human rights treaties (legally binding instruments) within the UN human rights system that deal with civil and political rights, economic and social rights, racial discrimination, torture, gender discrimination, and children’s rights.
    A country becomes a party to a treaty by ratifying or acceding to it. An individual or group can only use the treaty system to seek redress when the specific country is failing to observe obligations it has formally accepted by becoming party to a treaty. This also applies to the complaints mechanisms: a complaint can only be filed by a group or person if the specific state has accepted the complaints provisions in the treaty in question. The status of ratification of the principal international human rights treaties can be found through the OHCHR web site, under: OHCHR Programs, Conventional Mechanisms.
    *****
    There is a supervisory committee for each of these treaties that monitors the way in which states parties (the countries whose governments have accepted the treaty) are fulfilling their human rights obligations as stated in the relevant treaty. The committees (also known as treaty bodies) vary in size from 10 to 23 members and are composed of international human rights experts.
    On December 10, 1948 the General Assembly of the United Nations adopted and proclaimed the Universal Declaration of Human Rights the full text of which appears in the following pages. Following this historic act the Assembly called upon all Member countries to publicize the text of the Declaration and “to cause it to be disseminated, displayed, read and expounded principally in schools and other educational institutions, without distinction based on the political status of countries or territories.”
    PREAMBLE
    Whereas recognition of the inherent dignity and of the equal and inalienable rights of all members of the human family is the foundation of freedom, justice and peace in the world,
    Whereas disregard and contempt for human rights have resulted in barbarous acts which have outraged the conscience of mankind, and the advent of a world in which human beings shall enjoy freedom of speech and belief and freedom from fear and want has been proclaimed as the highest aspiration of the common people,
    Whereas it is essential, if man is not to be compelled to have recourse, as a last resort, to rebellion against tyranny and oppression, that human rights should be protected by the rule of law,
    Whereas it is essential to promote the development of friendly relations between nations,
    Whereas the peoples of the United Nations have in the Charter reaffirmed their faith in fundamental human rights, in the dignity and worth of the human person and in the equal rights of men and women and have determined to promote social progress and better standards of life in larger freedom,
    Whereas Member States have pledged themselves to achieve, in co-operation with the United Nations, the promotion of universal respect for and observance of human rights and fundamental freedoms,
    Whereas a common understanding of these rights and freedoms is of the greatest importance for the full realization of this pledge,
    Now, Therefore THE GENERAL ASSEMBLY proclaims THIS UNIVERSAL DECLARATION OF HUMAN RIGHTS as a common standard of achievement for all peoples and all nations, to the end that every individual and every organ of society, keeping this Declaration constantly in mind, shall strive by teaching and education to promote respect for these rights and freedoms and by progressive measures, national and international, to secure their universal and effective recognition and observance, both among the peoples of Member States themselves and among the peoples of territories under their jurisdiction.
    Article 1.
    All human beings are born free and equal in dignity and rights.They are endowed with reason and conscience and should act towards one another in a spirit of brotherhood.
    Article 2.
    Everyone is entitled to all the rights and freedoms set forth in this Declaration, without distinction of any kind, such as race, colour, sex, language, religion, political or other opinion, national or social origin, property, birth or other status. Furthermore, no distinction shall be made on the basis of the political, jurisdictional or international status of the country or territory to which a person belongs, whether it be independent, trust, non-self-governing or under any other limitation of sovereignty.
    Article 3.
    Everyone has the right to life, liberty and security of person.
    Article 4.
    No one shall be held in slavery or servitude; slavery and the slave trade shall be prohibited in all their forms.
    Article 5.
    No one shall be subjected to torture or to cruel, inhuman or degrading treatment or punishment.
    Article 6.
    Everyone has the right to recognition everywhere as a person before the law.
    Article 7.
    All are equal before the law and are entitled without any discrimination to equal protection of the law. All are entitled to equal protection against any discrimination in violation of this Declaration and against any incitement to such discrimination.
    Article 8.
    Everyone has the right to an effective remedy by the competent national tribunals for acts violating the fundamental rights granted him by the constitution or by law.
    Article 9.
    No one shall be subjected to arbitrary arrest, detention or exile.
    Article 10.
    Everyone is entitled in full equality to a fair and public hearing by an independent and impartial tribunal, in the determination of his rights and obligations and of any criminal charge against him.
    Article 11.
    (1) Everyone charged with a penal offence has the right to be presumed innocent until proved guilty according to law in a public trial at which he has had all the guarantees necessary for his defence.
    (2) No one shall be held guilty of any penal offence on account of any act or omission which did not constitute a penal offence, under national or international law, at the time when it was committed. Nor shall a heavier penalty be imposed than the one that was applicable at the time the penal offence was committed.
    Article 12.
    No one shall be subjected to arbitrary interference with his privacy, family, home or correspondence, nor to attacks upon his honour and reputation. Everyone has the right to the protection of the law against such interference or attacks.
    Article 13.
    (1) Everyone has the right to freedom of movement and residence within the borders of each state.
    (2) Everyone has the right to leave any country, including his own, and to return to his country.
    Article 14.
    (1) Everyone has the right to seek and to enjoy in other countries asylum from persecution.
    (2) This right may not be invoked in the case of prosecutions genuinely arising from non-political crimes or from acts contrary to the purposes and principles of the United Nations.
    Article 15.
    (1) Everyone has the right to a nationality.
    (2) No one shall be arbitrarily deprived of his nationality nor denied the right to change his nationality.
    Article 16.
    (1) Men and women of full age, without any limitation due to race, nationality or religion, have the right to marry and to found a family. They are entitled to equal rights as to marriage, during marriage and at its dissolution.
    (2) Marriage shall be entered into only with the free and full consent of the intending spouses.
    (3) The family is the natural and fundamental group unit of society and is entitled to protection by society and the State.
    Article 17.
    (1) Everyone has the right to own property alone as well as in association with others.
    (2) No one shall be arbitrarily deprived of his property.
    Article 18.
    Everyone has the right to freedom of thought, conscience and religion; this right includes freedom to change his religion or belief, and freedom, either alone or in community with others and in public or private, to manifest his religion or belief in teaching, practice, worship and observance.
    Article 19.
    Everyone has the right to freedom of opinion and expression; this right includes freedom to hold opinions without interference and to seek, receive and impart information and ideas through any media and regardless of frontiers.
    Article 20.
    (1) Everyone has the right to freedom of peaceful assembly and association.
    (2) No one may be compelled to belong to an association.
    Article 21.
    (1) Everyone has the right to take part in the government of his country, directly or through freely chosen representatives.
    (2) Everyone has the right of equal access to public service in his country.
    (3) The will of the people shall be the basis of the authority of government; this will shall be expressed in periodic and genuine elections which shall be by universal and equal suffrage and shall be held by secret vote or by equivalent free voting procedures.
    Article 22.
    Everyone, as a member of society, has the right to social security and is entitled to realization, through national effort and international co-operation and in accordance with the organization and resources of each State, of the economic, social and cultural rights indispensable for his dignity and the free development of his personality.
    Article 23.
    (1) Everyone has the right to work, to free choice of employment, to just and favourable conditions of work and to protection against unemployment.
    (2) Everyone, without any discrimination, has the right to equal pay for equal work.
    (3) Everyone who works has the right to just and favourable remuneration ensuring for himself and his family an existence worthy of human dignity, and supplemented, if necessary, by other means of social protection.
    (4) Everyone has the right to form and to join trade unions for the protection of his interests.
    Article 24.
    Everyone has the right to rest and leisure, including reasonable limitation of working hours and periodic holidays with pay.
    Article 25.
    (1) Everyone has the right to a standard of living adequate for the health and well-being of himself and of his family, including food, clothing, housing and medical care and necessary social services, and the right to security in the event of unemployment, sickness, disability, widowhood, old age or other lack of livelihood in circumstances beyond his control.
    (2) Motherhood and childhood are entitled to special care and assistance. All children, whether born in or out of wedlock, shall enjoy the same social protection.
    Article 26.
    (1) Everyone has the right to education. Education shall be free, at least in the elementary and fundamental stages. Elementary education shall be compulsory. Technical and professional education shall be made generally available and higher education shall be equally accessible to all on the basis of merit.
    (2) Education shall be directed to the full development of the human personality and to the strengthening of respect for human rights and fundamental freedoms. It shall promote understanding, tolerance and friendship among all nations, racial or religious groups, and shall further the activities of the United Nations for the maintenance of peace.
    (3) Parents have a prior right to choose the kind of education that shall be given to their children.
    Article 27.
    (1) Everyone has the right freely to participate in the cultural life of the community, to enjoy the arts and to share in scientific advancement and its benefits.
    (2) Everyone has the right to the protection of the moral and material interests resulting from any scientific, literary or artistic production of which he is the author.
    Article 28.
    Everyone is entitled to a social and international order in which the rights and freedoms set forth in this Declaration can be fully realized.
    Article 29.
    (1) Everyone has duties to the community in which alone the free and full development of his personality is possible.
    (2) In the exercise of his rights and freedoms, everyone shall be subject only to such limitations as are determined by law solely for the purpose of securing due recognition and respect for the rights and freedoms of others and of meeting the just requirements of morality, public order and the general welfare in a democratic society.
    (3) These rights and freedoms may in no case be exercised contrary to the purposes and principles of the United Nations.
    Article 30.
    Nothing in this Declaration may be interpreted as implying for any State, group or person any right to engage in any activity or to perform any act aimed at the destruction of any of the rights and freedoms set forth herein.
     
  18. ธรรมวัฒน์

    ธรรมวัฒน์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    47
    ค่าพลัง:
    +46
    สรุปแล้ว เรื่องนี้เกี่ยวอะไรกับหัวข้อกระทู้อธิบายให้ทีเหอะ งง
     

แชร์หน้านี้

Loading...