เรื่องเด่น เปิดกรุพระดี.....สำหรับมีไว้บูชาอย่างแท้จริง

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย หนุ่มเมืองแกลง, 16 มีนาคม 2012.

  1. auto1471

    auto1471 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,472
    ค่าพลัง:
    +6,418
    เจ้หมูน้อย
    ฝากรายการนี้ ยังไม่ได้รับครับ ฝากเจ้หมุน้อยคอนเฟิร์มพี่หนุ่มให้ด้วย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. itr

    itr เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    1,103
    ค่าพลัง:
    +4,857
    ขอนับถือครับ เยี่ยมจริงๆครับอาจารย์
     
  3. auto1471

    auto1471 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,472
    ค่าพลัง:
    +6,418
    พี่หนุ่ม และ เจ้ หมูน้อย

    แจ้งนั่งยัน รายการโอนครับ
    1. พระสมเด็จเนื้อดิน พิธีวัดพระปรางค์ แบบคัดสวยมากๆมาแบ่งกันครับ องค์ละ 2,500.บาท (องค์ที่ 2)
    2. พระผงเทา(ผงพุทธคุณล้วนๆ) ลพ.พริ้ง วัดบางปะกอก บูชา 6,000.บาท
    3. พระสมเด็จหลังสมเด็จโต พิธีจตุรพิธพรชัย บูชาองค์ละ 2,500.บาท (องค์ที่ 2)

    โอนวันที่ 26/04/2555 เวลา 13:39 จำนวน 11,111.22 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. moo noi

    moo noi เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    6,328
    ค่าพลัง:
    +23,902


    จะขอ slip การโอนค่าพระสมเด็จรุ่นสุดท้าย ที่แจ้งว่ายังไม่ได้รับน่ะค่ะ....
     
  5. tanawat_26

    tanawat_26 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2012
    โพสต์:
    163
    ค่าพลัง:
    +421
    วันนี้โอนเงินให้แล้วนะครับจำนวน 1,551 บาท
    ส่ง ธนวัฒน์ บุญยืน
    130/7 หมู่ 3 ต.คลองสวนพลู อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. jikky.so

    jikky.so เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    542
    ค่าพลัง:
    +1,232
    วันนี้เวลา 12.05 น.ได้โอนเงิน 8,550.- บาท ค่าบูชา
    1.สมเด็จหลังมิ องค์A 1,550 บาท
    2.พระสีวลีหลวงพ่อกวย 7,000 บาท
    รายละเอียดแฟกไปที่ บจก.สยามอารยา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. bigkk

    bigkk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2010
    โพสต์:
    217
    ค่าพลัง:
    +258
    เปิดเมื่อไหร่ รอๆๆๆแค่องค์ใดองค์หนัึ่ เท่านั้น ง อ เ
     
  8. konyak

    konyak Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    52
    ค่าพลัง:
    +52
    แจ้งการโอนเงินครับ

    วันนี้ได้โอนเงินเข้าบัญชีสยามอารยาตามตารางสรุปของคุณ Moo noi จำนวน 11,100 บาท พร้อมแนบหลักฐานมาด้วยครับ จะแจ้งที่อยู่สำหรับจัดส่งทางเมลล์ครับ ขอบคุณครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. paitoon01

    paitoon01 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,480
    ค่าพลัง:
    +4,160

    กรุณาลงตอนต่อไปให้สมาชิกได้อ่านเป็นธรรมทานด้วยครับ ขออนุโมทนาบุญครับ
    -----------------------------------------------
    ขอนอบน้อมแด่ผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
     
  10. jirayarn

    jirayarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    1,068
    ค่าพลัง:
    +4,290
    ชอบตัว พ ไม่ทันสักที ครับ ยิ่ง องค์นี้ด้วย ชอบมากๆๆ :cool:
     
  11. teerapote

    teerapote เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    756
    ค่าพลัง:
    +1,097
    ต่อจากหน้าที่ ๓๗๓ กระทู้ที่ ๗๔๔๘
    วิธีการแยกจิตออกจากร่างกายนั้น มีวิธีที่แน่นอนอยู่อย่างเดียว คือ<O:p</O:p
    “ การฝึกจิต ” แบบสมาธิ หรือวิปัสสนา ส่วนวิธีอื่นที่แปลกๆ นั้น ฝึกได้เฉพาะบุคคลพิเศษ นานๆ จึงจะปรากฏ จะได้อธิบายสั้นๆ ในตอนสำคัญๆ แบบเข้าใจง่ายๆ ว่า จิตค่อยๆ แยกจากร่างกายอย่างไร จะได้เป็นเครื่องสังเกตยึดถือได้ว่า ที่เราฝึกสมาธิ ฝึกวิปัสสนาอยู่นั้น ไปถึงไหนแล้ว ถูกทางหรือผิดทาง ถ้าผิดจะแก้อย่างไร<O:p</O:p
    การพิสูจน์ทดลองแบบสมัยใหม่ จะช่วยให้เราเข้าใจสมาธิและการแยกจิตได้ดีขึ้น เมื่อ ๒ ปีก่อน คณะแพทย์อเมริกาได้ค้นพบว่า มีค้างคาวหลายชนิดที่เกาะนิ่งอยู่ได้โดยไม่ต้องกินอาหาร และไม่เคลื่อนไหวไปไหนเลยตลอดฤดูหนาวเป็นเวลาประมาณ ๓ เดือน ซึ่งเขาเรียกง่ายๆ ว่า พวกค้างคาวจำศีล ค้างคาวสีน้ำตาลซึ่งจำศีลได้ดังกล่าว ได้ถูกจับมาเข้าตู้เย็น ทำให้ค้างคาวเหล่านี้คิดว่าเป็นฤดูหนาว เลยพากันเกาะนิ่งจำศีลอยู่ เมื่อคณะแพทย์จะมีการทดลองผ่าตัดเพื่อการศึกษา ก็ไปเปิดตู้เย็นเอาค้างคาวออกมา นับว่าทุ่นค่าใช้จ่ายดีกว่าเลี้ยงกระต่ายไว้ทดลอง วันหนึ่งคณะแพทย์สงสัยว่า ที่ค้างคาวอยู่นิ่งๆได้ถึง ๓ เดือน ไม่ต้องกินอาหารเลยนั้น การทำงานในร่างกายเป็นอย่างไร? จึงวัดชีพจรและการหายใจดูว่า ระหว่างจำศีลนั้นต่างจากธรรมดาอย่างไร? ปรากฏว่าค้างคาวธรรมดาหายใจนาทีละ ๑๘๐ ครั้ง แต่ขณะจำศีลหายใจเพียงนาทีละ ๓ ครั้งเท่านั้น คือลดลงมา ๖๐ เท่า ส่วนชีพจรและหัวใจก็เต้นช้าลงถึง ๖๐ เท่าเหมือนกัน<O:p</O:p
    คนเราโดยธรรมดาหายใจนาทีละ ๑๘ ครั้ง ( หายใจเข้าและหายใจออกนับเป็น หนึ่งครั้ง ) แต่เมื่อทดลองทำจิตให้เป็นสมาธิเพียงขั้นต้น ซึ่งทุกคนพอฝึกได้ การหายใจจะลดลงเหลือประมาณนาทีละ ๗ ครั้ง ระหว่างนี้จะรู้สึกสบายปลอดโปร่ง และยังมีอำนาจจิตพิเศษในตัว จะเอามือไปจับเหล็กที่เผาไฟแดงๆ หรือล้วงน้ำมันที่กำลังเดือดได้ ( ควรมีครูแนะนำ )<O:p</O:p
    วิธีแยกจิตออกด้วยการฝึกสมาธิ <O:p</O:p
    สมาธิ คือ “ การตั้งจิตมั่นอยู่ในความรับรู้เพียงอย่างเดียว ” ความรับรู้ ( อารมณ์ ) นั้นอาจจะเป็นรูป เป็นความรู้สึก หรือ เป็นความนึกคิดก็ได้ วิธีฝึกสมาธิมีหลายวิธี แต่จะเป็นวิธีใดก็ตามจะไม่มีวิธีอื่นที่นอกเหนือไปจาก วิธีฝึกสมาธิ ๔๐ วิธี ในพระพุทธศาสนา จะคิดวิธีใหม่อย่างไรขึ้น ก็จะต้องวนเวียนอยู่ใน ๔๐ วิธีนี่แหละ ทั้ง ๔๐ วิธีนั้น มีวิธีที่เหมาะกับคนทั่วไป และสะดวกในการฝึกคือ วิธี “ อานาปานสติ ” หรือเรียกง่ายๆ ว่า “ การกำหนดรู้ลมหายใจ ” ซึ่งจะอธิบายไปในรูปการแยกจิตต่อไป การกำหนดรู้หรือพิจารณาลมหายใจนี้ง่ายในการตรวจสอบว่า สมาธิที่เราทำอยู่นั้นถูกหรือผิด สมาธิก้าวหน้าดีขึ้นหรือคงเดิมหรือถอยหลัง ดังที่ตรวจสอบค้างคาวจำศีล เป็นต้น<O:p</O:p
    การเริ่มฝึกสมาธิ<O:p</O:p
    พยายามน้อมจิตมาในทางที่ดีที่สงบ ปล่อยวางเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้จิตใจของเราปลอดโปร่งราบเรียบ จะใช้วิธีสวดมนต์หรือไหว้พระก่อน หรือจะแผ่เมตตาจิตด้วย หรือจะจุดธูปบูชาท่านผู้มีคุณก่อน อย่างใดอย่างหนึ่งก็แล้วแต่โอกาส ข้อสำคัญให้มีการทำจิตสงบดังกล่าวข้างต้นเท่านั้น<O:p</O:p
    ต่อไปตั้งความสำนึกรู้อยู่ที่กึ่งกลางดั้งจมูกตรงที่รูจมูกทั้งสองข้างมารวบกัน ในระหว่างที่หายใจเข้าให้ภาวนา “ พุท ” ในระหว่างที่หายใจออกให้ภาวนา “ โธ ” ลองเปลี่ยนลมหายใจเข้าออกให้ลึก สั้น เบา หนัก และคอยสังเกตว่า ลมหายใจเข้าออกแบบไหนที่เรารู้สึกสบายที่สุด หรือรู้สึกปลอดโปร่งดีกว่าเพื่อน จงจำลมหายใจนั้นและพยายามรักษาจังหวะหายใจแบบที่ดีที่สุดไว้ตลอดเวลา ( เหตุที่ตั้งจิต หรือความนึกคิดมาอยู่ที่กึ่งกลางดั้งจมูก เพราะเป็นที่รวมของประสาทรับรู้ที่สำคัญๆ และตัดกังวลที่มัวเลือกว่าตั้งตรงช่องจมูกซ้ายหรือขวา ปลายจมูกหรือรูจมูก ตอนลึกตอนตื้น )<O:p</O:p
    เมื่อพิจารณาในแง่การแยกจิตออกจากความสนใจในร่างกายทั่วๆ ไป แยกจากเรื่องราวอื่นๆ ผ่อนคลายร่างกายและเลิกสนใจต่อร่างกาย มอบงานให้จิตมาสนใจลมหายใจอยู่เฉพาะบริเวณเดียว ที่เดียว ถ้าจิตไม่เชื่อฟังชอบไปสนใจเรื่องอื่นๆ คิดเรื่องอื่น ชอบนึกเบื่อ นึกว่าเมื่อย นึกกลัวตาย นึกว่าฝึกไปคงไม่ได้ผล นึกอยากจะเกา อยากจะพัก นี่แหละเป็นจิตดื้อ ชอบไปพะวงใจเรื่องร่างกายและเรื่องอื่นๆ เราต้องแก้ด้วยการมอบงานเพิ่มขึ้น หรือใช้วิธีวิปัสสนาสักครู่หนึ่ง พอให้จิตเริ่มสงบไม่ฟุ้งไป จึงเริ่มสมาธิใหม่จัดลมหายใจปรับปรุงลมหายใจใหม่ ซึ่งใช้เวลาอีกเล็กน้อย ได้ลมสบายแล้วก็รักษาไว้ให้นานๆ<O:p</O:p
    เมื่อรักษาลมหายใจจังหวะที่สบายไว้ได้ จิตก็สงบปลอดโปร่ง เพราะมาชอบความสบายตามวิสัยของทุกคน พอรักษาลมสบายไว้ได้เพียง ๓-๔ นาที จิตก็จะแยกออกจากการรับรู้เรื่องอื่นๆ มารับรู้มาสำนึกอยู่ ติดอยู่ที่สบาย และลืมเรื่องอื่นๆ ไปได้ อาการที่จิตมาสงบนิ่งอยู่ที่เดียวเรื่องเดียว รับรู้นิ่งเรื่องเดียวไม่ฟุ้งซ่านคิดไปเรื่องอื่นๆ นี่แหละคือจิตเป็นสมาธิ แต่การฝึกใหม่ๆ จิตสงบอยู่ไม่ได้นาน นิ่งสงบสบายอยู่ประเดี๋ยวเดียว ก็กลับไปรับรู้ไปคิดเรื่องอื่นอีก ครั้นจัดลมดีก็กลับสงบใหม่ สบายใหม่ สลับกันไปดังนี้ เรียกว่า เราได้สมาธิขั้นต้น ( ถ้าเรียกตามแบบกสิณก็เรียกว่า “ บริกรรมนิมิต ” เพราะขั้นนี้มีนิมิต หรือความรู้สึกแปลกๆ เช่น รู้สึกสบายดังกล่าวแล้ว หรืออาจรู้สึกดีใจ รู้สึกเสียวซ่าน รู้สึกมีความสุข รู้สึกเห็นภาพ เห็นแสงวอบแวบ เป็นต้น )<O:p</O:p
    ข้อสังเกต การฝึกเริ่มแรก เรามอบงานให้จิตรับรู้หรือสำนึกรู้หลายอย่างก่อน เช่น การจัดลมหายใจ เพื่อหาจังหวะหายใจที่สบายปลอดโปร่ง การคอยรักษาลมสบายหรือจังหวะลมสบายนั้นไว้ การภาวนา “ พุท ” และ “ โธ ” ในขณะหายใจเข้าและออก การตั้งจิตหรือรวมความสำนักอยู่ที่เดียวตรงจุดกึ่งกลางดั้งจมูก การคอยระวังไม่ให้จิตไปนึกเรื่องอื่นหรือเปลี่ยนที่ตั้งที่สำนึกรู้ไป เมื่อจิตเริ่มสงบ งานของจิตจะค่อยลดน้อยลงจนเหลืออย่างเดียวคือจิตนิ่ง รับรู้เรื่องเดียวว่า มีความสุขสบาย ไม่มีการภาวนา พุทโธ ครั้งถึงขั้นสูงสุด ( ฌานที่ ๔ ) ก็แยกจิตออกจากความสุข คงมีแต่ความสงบนิ่งด้วยความมีสติเป็นกลาง ๆ ( อุเบกขา ) อยู่เท่านั้น <O:p</O:p
    การที่จิตจะลดงานน้อยลงนั้นต้องให้เป็นไปเอง จะตั้งใจลดลงไม่ได้เป็นการเดินทางผิด กล่าวคือเมื่อเลือกลมสบายได้ งานจัดลมก็หมดไป เมื่อรักษาลมสบายไว้ได้จิตมาติดสบาย เลยลืมภาวนาพุทโธ และงานอื่นหมดไปในตัว ตรงนี้แหละเป็นจุดสำคัญที่คนเข้าใจผิดกันมาก คือ ก่อนจะลืมภาวนา ลมสบาย จะจัดตัวเองให้สบายขึ้น ลมหายใจเบาลงทุกทีจนไม่รู้สึกว่าตัวหายใจ แต่คงรู้อยู่ว่าจิตอยู่นิ่งทีเดียวและมีความสบายความปลอดโปร่งนี่นับว่าถูกวิธีแล้ว แต่สมาธิขั้นต้นอยู่ครู่เดียวก็ถอยกลับ ขณะที่จิตสมาธิถอยกลับมาเพียงนิดเดียว ทำให้เราระลึกเรื่องอื่นแทรกขึ้นมา หรือมีความรู้สึกอย่างอื่นแทรกขึ้นมา เช่น รู้สึกว่าเราไม่ได้หายใจ นึกกลัวจะตายขึ้นมาเพราะไม่หายใจ แต่ความจริงหายใจเข้าออกอยู่เสมอ แต่แผ่วเบาจนไม่รู้สึกตัว บางทีรู้สึกว่า ตัวลอยขึ้นสูง ๆ ไปเรื่อย ๆ บางทีรู้สึกว่าตกเหวลึกลงไปเรื่อย ๆ บางทีรู้สึกตัวพองใหญ่ขึ้น บางทีรู้สึกชาแขนขา แล้วขยายมากขึ้นทุกที ความรู้สึกแปลก ๆ นี้ เรียกว่า “ นิมิต ” ความรู้สึกแปลก ๆ นิมิตที่กล่าวแล้วนี้ทำให้คนตกใจ และนึกว่าผิดทางเสียแล้ว ซึ่งความจริงถูกทางแล้ว นึกว่าผิด เลยกลับภาวนาพุทโธอีกเป็นการย้อนไปเริ่มต้นใหม่ เปรียบเหมือนคนขึ้นบันไดไปได้ ๓ ขั้น แล้วย้อนโดดกลับมาขึ้นขั้นที่ ๑ ใหม่ พอถึงขั้นที่ ๓ อีก ก็โดดกลับมาอีก เลยต่อไปขั้น ๔-๕ ไม่ได้<O:p</O:p
    เราควรระลึกไว้ว่าเป็นเพียงแต่ความรู้สึกไปเท่านั้นว่าไม่ได้หายใจ หรือตัวพองตัวชา ตัวตกเหว ตัวลอยขึ้นสูง ล้วนเป็นเรื่องไม่จริง ความรู้สึกลวงเรา เรามีหน้าที่รักษาสมาธิหรือความสงบนิ่งของจิตไว้เท่านั้น ไม่ภาวนาพุทโธอีก ถ้าตัวพองมากขึ้น ตัวชามากขึ้น ตกเหวมากขึ้น ตัวลอยสูงขึ้น ก็นิ่งสงบอยู่ พอถึงที่สุด คือ พองมาก ชามาก ตัวขยายกว้างใหญ่จนสุดที่จะรู้สึกตามได้ ลงเหวหรือขึ้นสูงจนความรู้สึกตามไม่ได้ ก็เป็นอันว่าร่างกายไม่มี ก็แยกจากร่างกายเด็ดขาด มานิ่งอยู่ที่เดียวรู้สึกเพียงความสุขสบายอย่างยิ่ง รู้สึกว่าโลกว่าง ๆ ไม่มีอะไรเลย นอกจากจิตดวงเดียวของตนลอยอยู่<O:p</O:p
    ถ้ารักษาจิตให้นิ่งอยู่ไม่ได้ จิตถอยกลับมาคิดเรื่องโน้นเรื่องนี้อีกฟุ้งซ่านไปดังนี้ จึงเริ่มภาวนาพุทโธใหม่ จัดลมใหม่ ถ้าจิตดื้อมาก แก้ไขให้นิ่งไม่ได้ก็อาจใช้หลักวิปัสสนามาพิจารณาช่วยแก้ไขจิต จนจิตเริ่มจะหยุดนิ่งไม่ฟุ้งซ่านไป ก็เริ่มทำสมาธิตามวิธีข้างต้นต่อไป<O:p</O:p
    สมาธิกับวิปัสสนา หรือจะเรียก สมถะกับวิปัสสนา ต่างก็เป็นวิธีการฝึกจิตและดีทั้งคู่ ช่วยส่งเสริมกันได้ ผู้ที่มุ่งหนักไปทางฝึกสมาธิก็อาศัยหลักวิปัสสนามาช่วยบ้างในบางโอกาส ผู้ที่ฝึกแบบวิปัสสนาก็หนักไปทางพิจารณา แต่ก็จำเป็นต้องใช้หลักสมาธิไปเจือปนอยู่ มิฉะนั้นก็ไปไม่รอด แต่จะฝึกวิธีใดแบบใดก็ตามในตอนปลายก็ต้องไปฝึกวิปัสสนาอันแท้จริง เพื่อให้ได้ยอดปัญญาซึ่งจะได้กล่าวต่อไป ในขั้นนี้จะกล่าวถึงสมาธิขั้นกลาง ขั้นสูง และวิธีแก้ไขจิตที่ดื้อไม่ยอมเป็นสมาธิต่อไป<O:p</O:p
    ยังมีตอนต่อไปครับ<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 เมษายน 2012
  12. teerapote

    teerapote เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    756
    ค่าพลัง:
    +1,097
    เค้าโครงเรื่องการฝึกจิต (สมาธิ – วิปัสสนา)<O:p</O:p


    โดย<O:p</O:p


    อภิชิโต ภิก<SUB>.</SUB>ขุ ( อาจารย์ ชาญณรงค์ ศิริสมบัติ )<O:p</O:p

    ต่อจากหน้าที่ ๓๗๓ กระทู้ที่ ๗๔๔๘

    วิธีการแยกจิตออกจากร่างกายนั้น มีวิธีที่แน่นอนอยู่อย่างเดียว คือ<O:p</O:p
    “ การฝึกจิต ” แบบสมาธิ หรือวิปัสสนา ส่วนวิธีอื่นที่แปลกๆ นั้น ฝึกได้เฉพาะบุคคลพิเศษ นานๆ จึงจะปรากฏ จะได้อธิบายสั้นๆ ในตอนสำคัญๆ แบบเข้าใจง่ายๆ ว่า จิตค่อยๆ แยกจากร่างกายอย่างไร จะได้เป็นเครื่องสังเกตยึดถือได้ว่า ที่เราฝึกสมาธิ ฝึกวิปัสสนาอยู่นั้น ไปถึงไหนแล้ว ถูกทางหรือผิดทาง ถ้าผิดจะแก้อย่างไร<O:p</O:p
    การพิสูจน์ทดลองแบบสมัยใหม่ จะช่วยให้เราเข้าใจสมาธิและการแยกจิตได้ดีขึ้น เมื่อ ๒ ปีก่อน คณะแพทย์อเมริกาได้ค้นพบว่า มีค้างคาวหลายชนิดที่เกาะนิ่งอยู่ได้โดยไม่ต้องกินอาหาร และไม่เคลื่อนไหวไปไหนเลยตลอดฤดูหนาวเป็นเวลาประมาณ ๓ เดือน ซึ่งเขาเรียกง่ายๆ ว่า พวกค้างคาวจำศีล ค้างคาวสีน้ำตาลซึ่งจำศีลได้ดังกล่าว ได้ถูกจับมาเข้าตู้เย็น ทำให้ค้างคาวเหล่านี้คิดว่าเป็นฤดูหนาว เลยพากันเกาะนิ่งจำศีลอยู่ เมื่อคณะแพทย์จะมีการทดลองผ่าตัดเพื่อการศึกษา ก็ไปเปิดตู้เย็นเอาค้างคาวออกมา นับว่าทุ่นค่าใช้จ่ายดีกว่าเลี้ยงกระต่ายไว้ทดลอง วันหนึ่งคณะแพทย์สงสัยว่า ที่ค้างคาวอยู่นิ่งๆได้ถึง ๓ เดือน ไม่ต้องกินอาหารเลยนั้น การทำงานในร่างกายเป็นอย่างไร? จึงวัดชีพจรและการหายใจดูว่า ระหว่างจำศีลนั้นต่างจากธรรมดาอย่างไร? ปรากฏว่าค้างคาวธรรมดาหายใจนาทีละ ๑๘๐ ครั้ง แต่ขณะจำศีลหายใจเพียงนาทีละ ๓ ครั้งเท่านั้น คือลดลงมา ๖๐ เท่า ส่วนชีพจรและหัวใจก็เต้นช้าลงถึง ๖๐ เท่าเหมือนกัน<O:p</O:p
    คนเราโดยธรรมดาหายใจนาทีละ ๑๘ ครั้ง ( หายใจเข้าและหายใจออกนับเป็น หนึ่งครั้ง ) แต่เมื่อทดลองทำจิตให้เป็นสมาธิเพียงขั้นต้น ซึ่งทุกคนพอฝึกได้ การหายใจจะลดลงเหลือประมาณนาทีละ ๗ ครั้ง ระหว่างนี้จะรู้สึกสบายปลอดโปร่ง และยังมีอำนาจจิตพิเศษในตัว จะเอามือไปจับเหล็กที่เผาไฟแดงๆ หรือล้วงน้ำมันที่กำลังเดือดได้ ( ควรมีครูแนะนำ )<O:p</O:p
    วิธีแยกจิตออกด้วยการฝึกสมาธิ <O:p</O:p
    สมาธิ คือ “ การตั้งจิตมั่นอยู่ในความรับรู้เพียงอย่างเดียว ” ความรับรู้ ( อารมณ์ ) นั้นอาจจะเป็นรูป เป็นความรู้สึก หรือ เป็นความนึกคิดก็ได้ วิธีฝึกสมาธิมีหลายวิธี แต่จะเป็นวิธีใดก็ตามจะไม่มีวิธีอื่นที่นอกเหนือไปจาก วิธีฝึกสมาธิ ๔๐ วิธี ในพระพุทธศาสนา จะคิดวิธีใหม่อย่างไรขึ้น ก็จะต้องวนเวียนอยู่ใน ๔๐ วิธีนี่แหละ ทั้ง ๔๐ วิธีนั้น มีวิธีที่เหมาะกับคนทั่วไป และสะดวกในการฝึกคือ วิธี “ อานาปานสติ ” หรือเรียกง่ายๆ ว่า “ การกำหนดรู้ลมหายใจ ” ซึ่งจะอธิบายไปในรูปการแยกจิตต่อไป การกำหนดรู้หรือพิจารณาลมหายใจนี้ง่ายในการตรวจสอบว่า สมาธิที่เราทำอยู่นั้นถูกหรือผิด สมาธิก้าวหน้าดีขึ้นหรือคงเดิมหรือถอยหลัง ดังที่ตรวจสอบค้างคาวจำศีล เป็นต้น<O:p</O:p
    การเริ่มฝึกสมาธิ<O:p</O:p
    พยายามน้อมจิตมาในทางที่ดีที่สงบ ปล่อยวางเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้จิตใจของเราปลอดโปร่งราบเรียบ จะใช้วิธีสวดมนต์หรือไหว้พระก่อน หรือจะแผ่เมตตาจิตด้วย หรือจะจุดธูปบูชาท่านผู้มีคุณก่อน อย่างใดอย่างหนึ่งก็แล้วแต่โอกาส ข้อสำคัญให้มีการทำจิตสงบดังกล่าวข้างต้นเท่านั้น<O:p</O:p
    ต่อไปตั้งความสำนึกรู้อยู่ที่กึ่งกลางดั้งจมูกตรงที่รูจมูกทั้งสองข้างมารวบกัน ในระหว่างที่หายใจเข้าให้ภาวนา “ พุท ” ในระหว่างที่หายใจออกให้ภาวนา “ โธ ” ลองเปลี่ยนลมหายใจเข้าออกให้ลึก สั้น เบา หนัก และคอยสังเกตว่า ลมหายใจเข้าออกแบบไหนที่เรารู้สึกสบายที่สุด หรือรู้สึกปลอดโปร่งดีกว่าเพื่อน จงจำลมหายใจนั้นและพยายามรักษาจังหวะหายใจแบบที่ดีที่สุดไว้ตลอดเวลา ( เหตุที่ตั้งจิต หรือความนึกคิดมาอยู่ที่กึ่งกลางดั้งจมูก เพราะเป็นที่รวมของประสาทรับรู้ที่สำคัญๆ และตัดกังวลที่มัวเลือกว่าตั้งตรงช่องจมูกซ้ายหรือขวา ปลายจมูกหรือรูจมูก ตอนลึกตอนตื้น )<O:p</O:p
    เมื่อพิจารณาในแง่การแยกจิตออกจากความสนใจในร่างกายทั่วๆ ไป แยกจากเรื่องราวอื่นๆ ผ่อนคลายร่างกายและเลิกสนใจต่อร่างกาย มอบงานให้จิตมาสนใจลมหายใจอยู่เฉพาะบริเวณเดียว ที่เดียว ถ้าจิตไม่เชื่อฟังชอบไปสนใจเรื่องอื่นๆ คิดเรื่องอื่น ชอบนึกเบื่อ นึกว่าเมื่อย นึกกลัวตาย นึกว่าฝึกไปคงไม่ได้ผล นึกอยากจะเกา อยากจะพัก นี่แหละเป็นจิตดื้อ ชอบไปพะวงใจเรื่องร่างกายและเรื่องอื่นๆ เราต้องแก้ด้วยการมอบงานเพิ่มขึ้น หรือใช้วิธีวิปัสสนาสักครู่หนึ่ง พอให้จิตเริ่มสงบไม่ฟุ้งไป จึงเริ่มสมาธิใหม่จัดลมหายใจปรับปรุงลมหายใจใหม่ ซึ่งใช้เวลาอีกเล็กน้อย ได้ลมสบายแล้วก็รักษาไว้ให้นานๆ<O:p</O:p
    เมื่อรักษาลมหายใจจังหวะที่สบายไว้ได้ จิตก็สงบปลอดโปร่ง เพราะมาชอบความสบายตามวิสัยของทุกคน พอรักษาลมสบายไว้ได้เพียง ๓-๔ นาที จิตก็จะแยกออกจากการรับรู้เรื่องอื่นๆ มารับรู้มาสำนึกอยู่ ติดอยู่ที่สบาย และลืมเรื่องอื่นๆ ไปได้ อาการที่จิตมาสงบนิ่งอยู่ที่เดียวเรื่องเดียว รับรู้นิ่งเรื่องเดียวไม่ฟุ้งซ่านคิดไปเรื่องอื่นๆ นี่แหละคือจิตเป็นสมาธิ แต่การฝึกใหม่ๆ จิตสงบอยู่ไม่ได้นาน นิ่งสงบสบายอยู่ประเดี๋ยวเดียว ก็กลับไปรับรู้ไปคิดเรื่องอื่นอีก ครั้นจัดลมดีก็กลับสงบใหม่ สบายใหม่ สลับกันไปดังนี้ เรียกว่า เราได้สมาธิขั้นต้น ( ถ้าเรียกตามแบบกสิณก็เรียกว่า “ บริกรรมนิมิต ” เพราะขั้นนี้มีนิมิต หรือความรู้สึกแปลกๆ เช่น รู้สึกสบายดังกล่าวแล้ว หรืออาจรู้สึกดีใจ รู้สึกเสียวซ่าน รู้สึกมีความสุข รู้สึกเห็นภาพ เห็นแสงวอบแวบ เป็นต้น )<O:p</O:p
    ข้อสังเกต การฝึกเริ่มแรก เรามอบงานให้จิตรับรู้หรือสำนึกรู้หลายอย่างก่อน เช่น การจัดลมหายใจ เพื่อหาจังหวะหายใจที่สบายปลอดโปร่ง การคอยรักษาลมสบายหรือจังหวะลมสบายนั้นไว้ การภาวนา “ พุท ” และ “ โธ ” ในขณะหายใจเข้าและออก การตั้งจิตหรือรวมความสำนึกอยู่ที่เดียวตรงจุดกึ่งกลางดั้งจมูก การคอยระวังไม่ให้จิตไปนึกเรื่องอื่นหรือเปลี่ยนที่ตั้งที่สำนึกรู้ไป เมื่อจิตเริ่มสงบ งานของจิตจะค่อยลดน้อยลงจนเหลืออย่างเดียวคือจิตนิ่ง รับรู้เรื่องเดียวว่า มีความสุขสบาย ไม่มีการภาวนา พุทโธ ครั้นถึงขั้นสูงสุด ( ฌานที่ ๔ ) ก็แยกจิตออกจากความสุข คงมีแต่ความสงบนิ่งด้วยความมีสติเป็นกลาง ๆ ( อุเบกขา ) อยู่เท่านั้น <O:p</O:p
    การที่จิตจะลดงานน้อยลงนั้นต้องให้เป็นไปเอง จะตั้งใจลดลงไม่ได้เป็นการเดินทางผิด กล่าวคือเมื่อเลือกลมสบายได้ งานจัดลมก็หมดไป เมื่อรักษาลมสบายไว้ได้จิตมาติดสบาย เลยลืมภาวนาพุทโธ และงานอื่นหมดไปในตัว ตรงนี้แหละเป็นจุดสำคัญที่คนเข้าใจผิดกันมาก คือ ก่อนจะลืมภาวนา ลมสบายจะจัดตัวเองให้สบายขึ้น ลมหายใจเบาลงทุกทีจนไม่รู้สึกว่าตัวหายใจ แต่คงรู้อยู่ว่าจิตอยู่นิ่งที่เดียวและมีความสบายความปลอดโปร่งนี่นับว่าถูกวิธีแล้ว แต่สมาธิขั้นต้นอยู่ครู่เดียวก็ถอยกลับ ขณะที่จิตสมาธิถอยกลับมาเพียงนิดเดียว ทำให้เราระลึกเรื่องอื่นแทรกขึ้นมา หรือมีความรู้สึกอย่างอื่นแทรกขึ้นมา เช่น รู้สึกว่าเราไม่ได้หายใจ นึกกลัวจะตายขึ้นมาเพราะไม่หายใจ แต่ความจริงหายใจเข้าออกอยู่เสมอ แต่แผ่วเบาจนไม่รู้สึกตัว บางทีรู้สึกว่า ตัวลอยขึ้นสูง ๆ ไปเรื่อย ๆ บางทีรู้สึกว่าตกเหวลึกลงไปเรื่อย ๆ บางทีรู้สึกตัวพองใหญ่ขึ้น บางทีรู้สึกชาแขนขา แล้วขยายมากขึ้นทุกที ความรู้สึกแปลก ๆ นี้ เรียกว่า “ นิมิต ” ความรู้สึกแปลก ๆ นิมิตที่กล่าวแล้วนี้ทำให้คนตกใจ และนึกว่าผิดทางเสียแล้ว ซึ่งความจริงถูกทางแล้ว นึกว่าผิด เลยกลับภาวนาพุทโธอีกเป็นการย้อนไปเริ่มต้นใหม่ เปรียบเหมือนคนขึ้นบันไดไปได้ ๓ ขั้น แล้วย้อนโดดกลับมาขึ้นขั้นที่ ๑ ใหม่ พอถึงขั้นที่ ๓ อีก ก็โดดกลับมาอีก เลยต่อไปขั้น ๔-๕ ไม่ได้<O:p</O:p
    เราควรระลึกไว้ว่าเป็นเพียงแต่ความรู้สึกไปเท่านั้นว่าไม่ได้หายใจ หรือตัวพองตัวชา ตัวตกเหว ตัวลอยขึ้นสูง ล้วนเป็นเรื่องไม่จริง ความรู้สึกลวงเรา เรามีหน้าที่รักษาสมาธิหรือความสงบนิ่งของจิตไว้เท่านั้น ไม่ภาวนาพุทโธอีก ถ้าตัวพองมากขึ้น ตัวชามากขึ้น ตกเหวมากขึ้น ตัวลอยสูงขึ้น ก็นิ่งสงบอยู่ พอถึงที่สุด คือ พองมาก ชามาก ตัวขยายกว้างใหญ่จนสุดที่จะรู้สึกตามได้ ลงเหวหรือขึ้นสูงจนความรู้สึกตามไม่ได้ ก็เป็นอันว่าร่างกายไม่มี ก็แยกจากร่างกายเด็ดขาด มานิ่งอยู่ที่เดียวรู้สึกเพียงความสุขสบายอย่างยิ่ง รู้สึกว่าโลกว่าง ๆ ไม่มีอะไรเลย นอกจากจิตดวงเดียวของตนลอยอยู่<O:p</O:p
    ถ้ารักษาจิตให้นิ่งอยู่ไม่ได้ จิตถอยกลับมาคิดเรื่องโน้นเรื่องนี้อีกฟุ้งซ่านไปดังนี้ จึงเริ่มภาวนาพุทโธใหม่ จัดลมใหม่ ถ้าจิตดื้อมาก แก้ไขให้นิ่งไม่ได้ก็อาจใช้หลักวิปัสสนามาพิจารณาช่วยแก้ไขจิต จนจิตเริ่มจะหยุดนิ่งไม่ฟุ้งซ่านไป ก็เริ่มทำสมาธิตามวิธีข้างต้นต่อไป<O:p</O:p
    สมาธิกับวิปัสสนา หรือจะเรียก สมถะกับวิปัสสนา ต่างก็เป็นวิธีการฝึกจิตและดีทั้งคู่ ช่วยส่งเสริมกันได้ ผู้ที่มุ่งหนักไปทางฝึกสมาธิก็อาศัยหลักวิปัสสนามาช่วยบ้างในบางโอกาส ผู้ที่ฝึกแบบวิปัสสนาก็หนักไปทางพิจารณา แต่ก็จำเป็นต้องใช้หลักสมาธิไปเจือปนอยู่ มิฉะนั้นก็ไปไม่รอด แต่จะฝึกวิธีใดแบบใดก็ตามในตอนปลายก็ต้องไปฝึกวิปัสสนาอันแท้จริง เพื่อให้ได้ยอดปัญญาซึ่งจะได้กล่าวต่อไป ในขั้นนี้จะกล่าวถึงสมาธิขั้นกลาง ขั้นสูง และวิธีแก้ไขจิตที่ดื้อไม่ยอมเป็นสมาธิต่อไป<O:p</O:p
    ยังมีตอนต่อไปครับ<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 เมษายน 2012
  13. หนุ่มเมืองแกลง

    หนุ่มเมืองแกลง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 เมษายน 2007
    โพสต์:
    32,522
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +210,857
    พระสรรค์นั่งเนื้อดินของ ลพ.กวย องค์นี้ ชนะที่ 1 มาแล้ว 14 ครั้ง
    หลายท่านคงสงสัยว่าจริงหรือ ลองพิจารณาดูครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1_resize.jpg
      1_resize.jpg
      ขนาดไฟล์:
      267.9 KB
      เปิดดู:
      193
  14. chatuamulet

    chatuamulet Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +71
    ใบโอนเงินตาม email ที่ส่งให้คุณหมูน้อยครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      33.4 KB
      เปิดดู:
      47
  15. หนุ่มเมืองแกลง

    หนุ่มเมืองแกลง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 เมษายน 2007
    โพสต์:
    32,522
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +210,857
    คืนนี้มีของดีเหมือนตัว พ. ลงให้บูชา 10 ชิ้นครับ
     
  16. auto1471

    auto1471 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,472
    ค่าพลัง:
    +6,418

    ชอบครับ
    พี่หนุ่ม จัดระเบียบ พระผงมหาลาภ ของผู้ที่ไม่เคยได้ และเน็ตช้า บ้างนะครับ
     
  17. หนุ่มเมืองแกลง

    หนุ่มเมืองแกลง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 เมษายน 2007
    โพสต์:
    32,522
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +210,857
    แหวนหล่อ พ.สารพัดนึก ของ ลป.เย็น วัดสระเปรียญ
    เป็นแหวนเก่าเก็บ สภาพสวยสมบูรณ์ 100% จากวัด
    มีให้บูชา 10 วง แบ่งบูชาวงละ 2,800.บาท
    เป็นของเก่าจากวัดโดยตรง รับประกันความแท้ทุกวง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 15.jpg
      15.jpg
      ขนาดไฟล์:
      158.5 KB
      เปิดดู:
      124
    • 16.jpg
      16.jpg
      ขนาดไฟล์:
      136.7 KB
      เปิดดู:
      78
    • 17.jpg
      17.jpg
      ขนาดไฟล์:
      159.2 KB
      เปิดดู:
      78
    • 18.jpg
      18.jpg
      ขนาดไฟล์:
      135.5 KB
      เปิดดู:
      61
  18. Na_mo_

    Na_mo_ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กันยายน 2007
    โพสต์:
    2,025
    ค่าพลัง:
    +4,750
    เห็นด้วยครับ จะได้ทำบุญกันอย่างทั่วถึง
     
  19. 7sense

    7sense เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,482
    ค่าพลัง:
    +3,025
    เน็ตช้าโพสไม่ทันสักที
     
  20. auto1471

    auto1471 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,472
    ค่าพลัง:
    +6,418

    ขอบูชา 1 องค์ ครับ........
     

แชร์หน้านี้

Loading...