มีแมลงออกจากตัวเรา ใครเคยเป็นเหมือนเราบ้างช่วยเราที

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย oil_sirikranda, 22 สิงหาคม 2012.

  1. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    http://www.inderm.go.th/

    สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
    เลขที่ 420/7 ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
    โทรศัพท์ 0
    -2354-8036 - 40
     
  2. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 bgColor=#ffffff align=left height=347><TBODY><TR><TD class=topic height=31 align=left>
    <LABEL for=textfield>[​IMG]</LABEL>
    </TD><TD vAlign=top background=Images/border_footer05.jpg rowSpan=3></TD></TR><TR><TD height=2 vAlign=top align=center><HR></TD></TR><TR><TD class=text height=265 vAlign=top>
    งานผู้ป่วยนอกให้บริการตรวจรักษาโรคผิวหนังทั่วไป ตั้งแต่วันจันทร์ถึง วันศุกร์ เว้นวันหยุดราชการ ตั้งแต่เวลา 08.30 - 12.00 น. นอกจากนี้ยังเปิด ให้บริการคลินิกเฉพาะโรคเพื่อลดความแออัดและเป็นการตรวจพิเศษเฉพาะโรค โดยรับผู้ป่วยส่งต่อมาจากงานบริการตรวจรักษาผู้ป่วยนอก เพื่อประโยชน์ในด้าน การรักษาและ การศึกษาวิจัยทางด้านโรคผิวหนัง
    <TABLE border=1 cellSpacing=0 borderColor=#ff9933 cellPadding=0 width=546 align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ffcc66>
    คลินิคพิเศษ​
    </TD><TD bgColor=#ffcc66>
    วัน​
    </TD><TD bgColor=#ffcc66>
    เวลา​
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc>คลินิกรังสีชีววิทยา </TD><TD bgColor=#ffffcc>
    ศุกร์ ​
    </TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>09.00 - 12.00 น. </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc>คลินิกสะเก็ดเงิน </TD><TD bgColor=#ffffcc>
    ศุกร์ ​
    </TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>09.00 - 12.00 น. </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc>คลินิกโรคเรื้อน </TD><TD bgColor=#ffffcc>
    พุธ ​
    </TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>13.00 - 16.00 น. </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc>คลินิกโรคผิวหนังในเด็กและโรคพันธุกรรม </TD><TD bgColor=#ffffcc>
    พุธ ​
    </TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>13.00 - 16.00 น. </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc rowSpan=2>คลินิกภูมิแพ้ผิวหนัง </TD><TD bgColor=#ffffcc>
    จันทร์ - ศุกร์ ​
    </TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>09.00 - 12.00 น. </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc>
    พุธ ​
    </TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>13.00 - 15.00 น. </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc>คลินิกอิมมูนวิทยา </TD><TD bgColor=#ffffcc>
    พุธ ​
    </TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>13.00 - 16.00 น. </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc>คลินิกสูงอายุ</TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>จันทร์ - ศุกร์</TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>09.00 - 12.00 น. </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffcc>คลินิกผู้พิการ </TD><TD bgColor=#ffffcc>
    จันทร์ - ศุกร์ ​
    </TD><TD bgColor=#ffffcc align=center>09.00 - 12.00 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 bgColor=#ffffff align=left height=698><TBODY><TR><TD class=topic height=31 align=left>
    <LABEL for=textfield>[​IMG] [​IMG]</LABEL>
    </TD><TD vAlign=top background=Images/border_footer05.jpg rowSpan=3></TD></TR><TR><TD height=2 vAlign=top align=center><HR></TD></TR><TR><TD class=text height=616 vAlign=top>
    สถาบันโรคผิวหนัง เป็นหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ให้บริการตรวจรักษาโรคผิวหนังแก่ประชาชน โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและเครื่องมือ ทางการแพทย์ที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน เนื่องจากในปัจจุบัน มีผู้ป่วยมารับบริการ ในเวลาราชการเป็นจำนวนมาก สถาบันโรคผิวหนังจึงได้เปิดคลินิกนอกเวลาราชการ เพื่อเป็นการให้บริการประชาชนที่ไม่สามารถมารับบริการตรวจรักษาในเวลาราชการ ได้ในวันจันทร์, อังคาร,พฤหัส, ศุกร์ และวันเสาร์ (8.30-16.00 น.)โดยเปิดให้ บริการตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม 2547 เป็นต้นมาและในวันที่ 15 กรกฎาคม 2549 นี้ จะเพิ่มให้บริการในวันเสาร์เต็มวันดังตารางแสดงข้างล่างนี้

    <TABLE border=1 cellSpacing=0 borderColor=#66cc99 cellPadding=0 width=600 align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#00ff99 rowSpan=2 width=256 align=center>ชื่อแพทย์</TD><TD bgColor=#00ff99 colSpan=3 align=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD width=438 colSpan=3><CENTER>วันและเวลาตรวจนอกเวลาราชการ </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#00ff99 width=112 align=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=80><TBODY><TR><TD width=146 align=center>8.30-12.00</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#00ff99 width=112 align=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD width=146 align=center>13.00-16.00</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#00ff99 width=110 align=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD width=146 align=center>16.30-20.00</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left>นายแพทย์จิโรจ สินธวานนท์ </TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center></TD><TD align=center>ศุกร์</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงรัศนี อัครพันธุ์</TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center></TD><TD align=center>อังคาร,พฤหัสบดี</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงพัชรินทร์ จันทร์จำรัสแสง</TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center></TD><TD align=center>จันทร์</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงพู่กลิ่น ตรีสุโกศล</TD><TD align=center></TD><TD align=center></TD><TD align=center>อังคาร,ศุกร์ที่
    1,3,5 ของเดือน</TD></TR><TR><TD align=left>นายแพทย์จินดา โรจนเมธินทร</TD><TD align=center></TD><TD align=center></TD><TD align=center>จันทร์,ศุกร์</TD></TR><TR><TD align=left>ดร.นพ.เวสารัช เวสสโกวิท</TD><TD align=center>เสาร์ที่ 2,4ของเดือน</TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center>พฤหัสบดี</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงประภาวรรณ เชาวะวณิช</TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center></TD><TD align=center>อังคาร</TD></TR><TR><TD align=left>นายแพทย์รัฐภรณ์ อึ้งภากรณ์</TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center></TD><TD align=center></TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงไพลิน สมุทร์พงษ์</TD><TD align=center></TD><TD align=center></TD><TD align=center>พฤหัสบดี</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงเบ็ญจ์สชีว์ ปัทมดิลก</TD><TD align=center></TD><TD align=center></TD><TD align=center>อังคาร</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงวลัยอร ปรัชญพฤทธิ์</TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center></TD><TD align=center>จันทร์</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงอรยา กว้างสุขสถิตย์</TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center></TD><TD align=center>ศุกร์ที่ 2,4 ของเดือน</TD></TR><TR><TD align=left>นายแพทย์โกวิท คัมภีรภาพ</TD><TD align=center></TD><TD align=center>เสาร์</TD><TD align=center></TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงสุธาทิพย์ สมบูรณ์วิทย์</TD><TD align=center>เสาร์ที่
    1,3,5ของเดือน</TD><TD align=center>เสาร์ที่
    1,3,5ของเดือน</TD><TD align=center>พฤหัสบดี</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงพิมลพรรณ กฤติยรังสรรค</TD><TD align=center></TD><TD align=center></TD><TD align=center>ศุกร์</TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงกิตธีรา ชัยสัมฤทธิ์ผล</TD><TD align=center></TD><TD align=center>เสาร์ที่2,4ของเดือน</TD><TD align=center></TD></TR><TR><TD align=left>แพทย์หญิงอร ศรีวรรณบูรณ์</TD><TD align=center></TD><TD align=center></TD><TD align=center>จันทร์</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER>นัดตรวจทางโทรศัพท์
    0-2354-8036-40 ต่อ 164

    ค่าบริการทางการแพทย์ ครั้งละ 250 บาท
    ** ข้าราชการเบิกคืนได้ 50 บาท**
    ค่ายา ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการราคาปกติ
    </CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 bgColor=#ffffff align=left height=215><TBODY><TR><TD class=topic height=31 align=left>
    <LABEL for=textfield>[​IMG]</LABEL>
    </TD><TD vAlign=top background=Images/border_footer05.jpg rowSpan=3></TD></TR><TR><TD height=2 vAlign=top align=center><HR></TD></TR><TR><TD class=text height=133 vAlign=top>
    งานผู้ป่วยใน มีจำนวนเตียง 43 เตียง ห้องพิเศษ 1 ห้อง,ห้องพิเศษรวม 1 ห้อง, ห้องแยกโรค 1 ห้อง (สำหรับในกรณีที่ผู้ป่วยมีการติดเชื้อหรือผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ และรับเชื้อจากผู้อื่นได้ง่าย) ให้บริการรักษาผู้ป่วยโรคผิวหนังที่มีอาการรุนแรง ผู้ป่วย ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หรือเป็นโรคผิวหนังที่ต้องอาศัยการดูแลจากแพทย์ ์และพยาบาลอย่างใกล้ชิด

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=436 align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#99ffcc colSpan=2 align=center>ค่าบริการห้องพิเศษ:</TD></TR><TR><TD bgColor=#ccffcc align=left>ห้องพิเศษเดี่ยว</TD><TD bgColor=#ccffcc>วันละ 700 บาท</TD></TR><TR><TD bgColor=#ccffcc align=left>ห้องพิเศษรวมปรับอากาศ 6 เตียง </TD><TD bgColor=#ccffcc>วันละ 450 บาท</TD></TR><TR><TD bgColor=#99ffcc colSpan=2>เวลาเยี่ยมผู้ป่วย ตั้งแต่เวลา 12.00 - 20.00 น. ทุกวัน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 bgColor=#ffffff align=left height=774><TBODY><TR><TD class=topic height=31 align=left>
    <LABEL for=textfield>[​IMG]</LABEL>
    </TD><TD vAlign=top background=Images/border_footer05.jpg rowSpan=15></TD></TR><TR><TD height=2 vAlign=top align=center><HR></TD></TR><TR><TD height=16><CENTER>งานจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิค</CENTER>
    งานจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิกอยู่ที่ชั้น 2 ให้การบริการตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา หาพยาธิ สภาพของปัสสาวะตรวจหาพยาธิในอุจจาระและการตรวจ Porphyrin
    </TD></TR><TR><TD class=text height=2 vAlign=top><HR></TD></TR><TR><TD class=text height=21>
    <CENTER>งานเชื้อราวิทยา</CENTER>
    งานเชื้อราวิทยาอยู่ที่ชั้น 2 ให้บริการตรวจชนิดต่างๆ ดังนี้
    - ให้บริการตรวจหาเชื้อราโดยตรงและเพาะเลี้ยงหาชนิดของเชื้อรา สาเหตุจาก สะเก็ดผิว, เล็บ,ขน,และ สิ่งส่งตรวจอื่นๆ เช่น เสมหะ,ชิ้นเนื้อ,หนอง,ไขสันหลัง เป็นต้น
    - ให้บริการตรวจหาเชื้อปาราสิตโดยตรงจากผิวหนัง,ผม,ขน
    </TD></TR><TR><TD class=text height=2 vAlign=top><HR></TD></TR><TR><TD class=text height=21>
    <CENTER>งานแบคทีเรียวิทยา</CENTER>
    งานแบคทีเรียวิทยาอยู่ที่ชั้น 2 บริการตรวจเชื้อแบคทีเรีย เพาะเชื้อและทดสอบ ความไวของเชื้อต่อยารวมทั้งเชื้อไมโคแบคทีเรียม เชื้อโรคเรื้อนและวัณโรคผิวหนัง
    </TD></TR><TR><TD class=text height=2 vAlign=top><HR></TD></TR><TR><TD class=text height=21 vAlign=top>
    <CENTER>งานจุลพยาธิ</CENTER>งานจุลพยาธิ อยู่ที่ชั้น 2 ให้การบริการตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัยโรคจากพยาธิ สภาพของชิ้นเนื้อผู้ป่วยโรคผิวหนังโดยการตัดชิ้นเนื้อแล้วตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์
    </TD></TR><TR><TD class=text height=2 vAlign=top><HR></TD></TR><TR><TD class=text height=21 vAlign=top>
    <CENTER>กลุ่มงานอิมมูนวิทยา</CENTER>
    กลุ่มงานอิมมูนวิทยาอยู่ที่ชั้น 4 ให้บริการตรวจน้ำเหลืองหรือซีรั่ม บริการตรวจหา แอนติบอดี้และโปรตีนในซีรั่มได้แก่ Antinuclear antibody, dsDNA antibody, Sm&RNP antibody, Car-diolipin antibody, Pemphigus antibody ,Pemphigoid antibody,Rheumatoid factor,C3 cryo-globulin และ Syphilis antibody,RPR, TPHA, FTA-Abs testตรวจหาแอนติบอดี้และ โปรตีนใน ชิ้นเนื้อโดยวิธี Direct Immunofluorescenceการตรวจหามอร์ฟีน ในปัสสาวะการทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกายและการรักษาด้วย DNCB
    </TD></TR><TR><TD class=text height=2 vAlign=top><HR></TD></TR><TR><TD class=text height=21 vAlign=top>
    <CENTER>กลุ่มงานรังสีชีววิทยา</CENTER>
    กลุ่มงานรังสีชีววิทยาอยู่ที่ชั้น 2 ให้บริการทดสอบผู้ป่วยที่สันนิษฐานว่าเป็นโรคผิว หนังที่เกิดจากการแพ้แสงแดดด้วยวิธี Photo test และ Photo patch test เพื่อ วินิจฉัยหาสาเหตุ และการให้การรักษาผู้ป่วยโดยการฉายแสงอัลตราไวโอเลตบี(Photo-therapy) และการับประทานยาร่วมกับการฉายแสงอัลตราไวโอเลตเอ(Photo-chemotherapy)

    </TD></TR><TR><TD class=text height=2 vAlign=top><HR></TD></TR><TR><TD class=text vAlign=top>
    <CENTER>กลุ่มงานผื่นแพ้สัมผัสและอาชีวเวชศาสตร์</CENTER>
    กลุ่มงานผื่นแพ้สัมผัสและอาชีวเวชศาสตร์อยู่ที่ชั้น 3 ให้การบริการตรวจผู้ป่วยที่ ี่สงสัยว่าเป็นโรคผิวหนังจากการแพ้สารเคมีหรือยาบางชนิดโดยวิธีตรวจดังต่อไปนี้
    1. การทำทดสอบด้วยวิธีแพ็ชเทส (Patch Test) เป็นการทำการทดสอบด้วย วิธีใช้สารเคมีติดแปะลงไปบนผิวหนังที่บริเวณแผ่นหลังของผู้ป่วยแล้วอ่านผลการ ทดสอบในเวลา 48 และ 96 ชั่วโมง
    2. การทำทดสอบด้วยวิธีพริคเทส (Prick Test)เป็นการทำการทดสอบโดย วิธีการสะกิดที่บริเวณผิวหนังให้เป็นรอยถลอกเล็กน้อย แล้วอ่านผลการทดสอบของ ผิวหนังกับสารเคมีนั้นๆภายในระยะเวลา 15-20 นาที ใช้กับผู้ป่วยที่สงสัยว่าแพ้ อาหารทะเล ถุงมือยาง หรือ ผักผลไม้
    3. การทำทดสอบด้วยวิธีอินทราเดอมอลเทส (Intradermal Test) เป็นการ ทำการทดสอบภูมิแพ้ โดยการฉีดสารหรือยาที่สงสัยเข้าใต้ผิวหนังแล้วอ่านผลการ ทดสอบภายในระยะเวลา 15-20 นาทีใช้กับผู้ป่วยในกรณีสงสัยการแพ้ยารับประทาน ชนิดต่างๆ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    ถ้าอาการอย่างที่เล่ามาหน้าแรก น่าจะพักค้างให้แพทย์ผิวหนังดูอาการอย่างกใล้ชิด
     
  7. sumitran21

    sumitran21 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    152
    ค่าพลัง:
    +124
    ขอสนับสนุนคุณ surer ค่ะ น้องเขาถูกของแน่นอน เพราะดิฉันเคยเห็นเป็นกับญาติตัวเองจริงๆ ลัักษณะเหมือนกันเลย ไปโรงพยาบาลทุกที่ก็บอกเป็นไปไม่ได้ ไม่มีใครเชื่อ หาว่าเป็นโรคจิต คิดไปเอง หมอก็ให้แต่ยาแผนปัจจุบันมารักษา ยาแก้แพ้ ยาทาตามแผลที่เกาดำๆ ผิวหนังก็เป็นสะเก็ดแผลเป็นดำเต็มไปหมด ไม่ได้รักษาทางไสยศาตร์ เพราะญาติๆไม่เชื่อ ตอนหลังก็มีอาการทางจิตจริงๆ รีบรักษาเถิดค่ะ ขอเอาใจช่วย
     
  8. oil_sirikranda

    oil_sirikranda สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +6
    ขอบคุณพี่ๆ ทุกคนที่เห็นใจ และให้ความช่วยเหลือนะคะ วันนี้จากที่ดูออยยังไม่เห็นแมลงบินออกมาคะ ตอนนี้ก็ปวดศีรษะ เฉยๆคะ ตอน2 ทุ่มจะเข้ากระโจมอบตัวอีกครั้งเพื่อขับไข่แมลงคะ ขอบคุณมากคะ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • SANY0975.JPG
      SANY0975.JPG
      ขนาดไฟล์:
      840.4 KB
      เปิดดู:
      198
    • SANY1569.JPG
      SANY1569.JPG
      ขนาดไฟล์:
      630.4 KB
      เปิดดู:
      106
  9. นักรบธรรม

    นักรบธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    969
    ค่าพลัง:
    +1,174

    ลองหาอาจารย์ที่มีญาณ ทิพย์หลายๆ ท่าน หรือพระ แม่ชี อะไรก็ได้
    หากเขาได้ทำกับเราสมใจแล้วคงจะเลิกกันไป ละมั้ง แต่เช็คอีกครั้งก็แล้วกัน
    จะได้แน่ใจว่าเขาพอใจแล้ว

    แล้วอย่าลืม ที่นี่นะครับ http://palungjit.org/threads/บุญตรง...งผิวพระพุทธรูปองค์ปฐม136องค์ๆละ350บาท.355174/
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 สิงหาคม 2012
  10. เอื้อมบุญ

    เอื้อมบุญ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    385
    ค่าพลัง:
    +617
    แวะมาเยี่ยมอีกที
    ออยอย่าวนเวียนหลอนกับเรื่องเดิมๆนะ พยายามเดินหน้าต่อไป
    ตั้งสติ..ให้จิตยึดมั่นในความดีมากๆ สิ่งที่เคยมีมามันไม่ยั่งยืน
    กฎแห่งกรรมมันยั่งยืนกว่า อย่าทำลายจิตตัวเองด้วยความคิด

    หลายคนในนี้เค้าจริงใจช่วยจริงๆนะ แต่อยู่ที่ตัวผู้ป่วยด้วย
    ขอให้พบทางรักษาแผลตัว รักษาแผลใจ ให้ได้โดยเร็วนะ
     
  11. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    มันจะมีใคร ที่อาคมขลังขมังเวทย์ ปล่อยของปล่อยคุณอะไร ก็เป็นอีกหนึ่งข้อสันนิษฐาน แต่อย่าลืมไปหาแพทย์ผิวหนัง

    [​IMG]

    จากข่าวกรณี หนุ่มใหญ่วัย 52 ปี ที่อาศัยอยู่ใน ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง ป่วยโรคประหลาด มีตุ่มคันขึ้นตามร่างกายหลายแห่ง และเวลาที่มีอาการคัน จะมีหัวของแมลงสีดำชนิดหนึ่งโผล่ออกมา ลักษณะคล้ายยุง ซึ่งเจ้าตัวเผยว่าเป็นมานานกว่า 1 สัปดาห์แล้ว

    [​IMG]

    ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ของ ริ้นดำ
    อย่างไรก็ตาม จากการตรวจสอบข้อมูลของโรคดังกล่าว พบว่า แมลงที่บินออกจากต่างกายของคนนั้นเคยระบาดมากในชนบทของแอฟริกา อเมริกากลาง และอเมริกาใต้
    โดยแมลงชนิดนี้มีชื่อว่า “ริ้นดำ” (Black flies)

    หรือที่ชาวบ้านเรียกว่าตัวคุ่น เป็นแมลงขนาดเล็ก อ้วน ๆ คอดตรงกลาง อยู่ในกลุ่มเดียวกับพวกแมลงวันและยุง (Diptera) สกุล Simulium มีอยู่ประมาณ 1,203 ชนิด

    พบมากในป่าซึ่งแมลงชนิดนี้เป็นพาหะสำคัญในการนำโรคมาสู่คนและสัตว์เลี้ยงต่าง ๆ เช่น เป็ด ไก่ วัว ควาย ฯ

    เนื่องจาก ริ้นดำ กินเลือดสัตว์เลือดอุ่นเป็นอาหาร สำหรับโรคเกี่ยวกับแมลงริ้นดำที่พบในคนนั้น เกิดจากการที่ริ้นดำเพศเมียมากัดคน ขณะที่ดูดเลือดมันก็จะปล่อยตัวอ่อนของพยาธิตัวกลมชนิด Onchocerca volvulus เข้าสู่คน

    โดยตัวอ่อนนั้นจะเคลื่อนไปฟักตัวชั้นใต้ผิวหนังในระยะเวลา 1-3 ปี จากนั้นจะเกิดก้อนเนื้อขึ้นใต้ผิวหนัง ในก้อนเนื้อจะมีทั้ง ริ้นดำ เพศผู้และเพศเมีย หลังผสมพันธุ์ตัวเมียจะผลิตตัวอ่อนขนาดเฉลี่ย 330 ไมครอนจำนวนมาก

    ซึ่งสามารถอยู่ในคนได้ 10-15 ปี และผลิตลูกได้ถึง 500,000-1,000,000 ตัวต่อปีเลยทีเดียว โดยปกติแล้ว ริ้นดำ จะอาศัยอยู่ในเขตภูมิอากาศร้อน ชอบเกาะติดอยู่บนใบไม้หรือก้อนหินใกล้ลำธารน้ำ เพื่อกินอาหารตามน้ำ

    ซึ่งวงชีวิตของริ้นดำมี 4 ระยะคือ ไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย ระยะไข่ถึงดักแด้ วางไข่ติดต่อกันตลอดปี ตัวเต็มวัยมีขนาดเล็กรูปร่างอ้วนสั้น มีขนาดความยาว 1.2-5.5 มิลลิเมตร สีลำตัวบางชนิดสีดำ บางชนิด มีสีน้ำตาลเข้ม หรือเทา ส้ม และเหลือง
    ———————————————

    เมื่อวันที่ 16 มิ.ย. 2553 – นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่าขณะนี้ผู้ป่วยชาวลำปางวัย 52 ปี ซึ่งตรวจพบว่ามีตัวแมลงออกมาจากตัวตามบาดแผล มีการเพาะตัวอ่อนและวางไข่อยู่ในร่างกายกลับมาที่โรงพยาบาลศูนย์ลำปางอีกครั้ง

    หลังชาวบ้านที่เกิดความหวาดกลัวว่าชายคนนี้จะนำโรคติดต่อดังกล่าวมาสู่หมู่บ้าน ทางโรงพยาบาลจึงรับตัวไว้ให้อยู่โรงพยาบาล และคอยดูแลรักษา เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดต่อไป

    อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาลศูนย์ลำปางได้ส่งแมลงดังกล่าวไปตรวจที่ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และส่งไปที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จังหวัดเชียงใหม่ เชื่อว่าน่าจะรู้ผลเกี่ยวกับชนิดของแมลงในวันพรุ่งนี้

    สำหรับการตรวจสอบเบื้องต้นจากคณะแพทย์ ยังไม่สามารถยืนยันได้ว่า แมลงชนิดนี้ จะส่งผลกระทบต่อร่างกายมากน้อยแค่ไหน แต่ที่ระบุได้ชัดเจนก็คือ แมลงดังกล่าวสามารถเข้าไปเพาะไข่ได้ตามบาดแผลในร่างกาย

    ซึ่งหากผิวหนังใครมีบาดแผล แมลงสามารถที่จะเข้าไปอาศัยอยู่ใต้ผิวหนังได้ ก่อนจะฟักออกมาเป็นตัว นายจุรินทร์ ยังระบุด้วยว่า ได้ประสานงานไปยังกรมการแพทย์ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนัง ระดับอาจารย์แพทย์ลงพื้นที่จังหวัดลำปาง

    เพื่อไปตรวจสอบหาสาเหตุที่แท้จริง และความเป็นไปได้ของประชาชนรายอื่น ที่จะมีโอกาสเกิดขึ้นเช่นเดียวกับชายชาวจังหวัดลำปาง

    ซึ่งเชื่อว่า แพทย์ใหญที่ลงพื้นที่จะได้ข้อสรุป และรายงานผลตรวจให้ทราบในเช้าวันพรุ่งนี้



    ข่าวจาก ข่าวสด

    ริ้นดำ แมลงร้าย ที่ออกจากผิวหนังหนุ่มลำปาง | คลิปข่าว ข่าวเด่น ข่าวบันเทิง News TLCTHAI
     
  12. surer

    surer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    1,508
    ค่าพลัง:
    +1,317
    เอาคลิบเจ้าของกระทู้ ให้สัมภาส รายการมาให้ดูคับ
    TNN24
     
  13. mamboo

    mamboo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,129
    ค่าพลัง:
    +1,973
    ขอบคุณมากๆค่ะ ^^

    น้องออยคะ

    ให้ใครสักคนในกระทู้นี้ ไปพบน้องเถอะ

    ไม่งั้น น้องจะต้องหลอกตัวเองไปวันๆ >< (วันที่มีคนไปพบ อย่าลืมพา "แฟนออย" มาด้วยนะ >< จะได้รู้ว่า "ออย" กับ "แฟนออย" เป็นคนละคนกัน ><)


    ถ้าน้องอยากหายจริงๆ

    ต้องให้ใครสักคนไปพบน้องนะ เพื่อยืนยันว่ามีแมลงจริงๆ

    ที่ผ่านมา น้องไม่เคยเข้ารักษากับแพทย์ผิวหนังเลยสักครั้ง มีแต่ใช้วิธีที่ "คิดเอาเอง"

    แล้วก็มาตั้งกระทู้เล่าๆๆ

    ถ้าน้องมีแมลงออกมาเยอะๆแบบนั้นจริงๆ พี่ก็คิดเหมือนหลายๆคนในกระทู้นี้นะ ว่าน้องอาจจะโดนของ เป็นวิบากกรรม

    แล้วหลายๆท่านในกระทู้นี้ เขาก็พร้อมที่จะช่วยเหลือ พร้อมที่จะให้คำแนะนำ

    แต่ปัญหาคือ "น้องไม่เปิดใจรับเลย.. มีแต่คิดเอง เออเอง"

    ถ้าน้องอยากหายจริงๆ ให้คุณคนข้างบนเขาไปพบน้องเถอะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 สิงหาคม 2012
  14. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    people@thaipbs.or.th

    สถานีประชาชน น่าจะช่วยได้

    รายการสถานีประชาชน เป็นรายการข่าว ที่เป็นสื่อกลางเพื่อนำเสนอปัญหาและหาทางออกของปัญหาที่เกิดขึ้น สถานีประชาชน เป็นที่พึ่งของประชาชน ที่จะสามารถหาทางออกให้คุณได้
    ..ทุก (ข์) ปัญหา มีทางออก ใน "สถานีประชาชน"
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 สิงหาคม 2012
  15. oil_sirikranda

    oil_sirikranda สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +6
    ถึงคุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->mamboo จามาก็มาสิคะ ไม่เก็บค่าตั๊วเข้าชมหลอกคะ ที่ร้านมาง่ายคะ ส่วนเรื่องแฟน จามาเจอเชาก็บอกล่วงหน้าคะ จะไดเห้หยุดงานต้อนรับดีไหมคะ?
    ส่วนเรื่องออยกับแฟน เป็นคนคนเดียวกันไหมเด็กป.4 ยังคิดได้เลยมั้งคะ ขอบคุณ
     
  16. ผู้มาใหม่

    ผู้มาใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    303
    ค่าพลัง:
    +618
    ผมบอกได้เลยว่า คุณออยทำไปนั้นมันเป็นโรคกรรมที่ทำให้เขาเป็นแบบนั้น กรรมที่ชอบว่าคนอื่น นินทาคนอื่น กลัวคนอื่นได้ดีกว่าตน และเป็นคนปากร้ายทั้งชาติก่อนและชาตินี้ เมื่อผลกรรมเริ่มสนอง จึงเป็นอย่างที่เห็น โดยจะเริ่มมีอาการปวดที่ท้องกับปากก่อน จากนั้นผิวหนังจะร้อนและบวมแดง ทางที่ดีที่สุดคือ พูดดี ทำดี ใช้ปากในทางสร้างสสรค์ดีกว่าครับ
     
  17. pangbualun

    pangbualun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 เมษายน 2010
    โพสต์:
    140
    ค่าพลัง:
    +285
    ถ้าเป็นจริงๆควรไปหาหมอดีที่สุด...ถ้าไม่เป็นจริง...ระวังนรกกินหัว...กรรมใดใครก่อก็ย่อมสนองคนนั้น...ไม่มีใครรู้ดีเท่าตัวเอง...รีบๆรักษาซะทั้งกายและใจ...จะได้ไม่เป็นทุกข์
     
  18. surer

    surer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    1,508
    ค่าพลัง:
    +1,317
    อันนี้ในยูทูบี ดูง่ายขึ้น
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=7vF-tCePjuY&feature=plcp]คุณออย แมลงออกจากตัว กระแสดัง pantip - YouTube[/ame]
     
  19. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    ไม่ว่าเจ้าของกระทู้จะป่วยเป็นอะไร ก็ขอให้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์รักษา
     
  20. 12345*

    12345* เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    53
    ค่าพลัง:
    +332
    ผมไม่ได้คิดจะไปพิสูจน์เรื่องอะไรนอกจากเรื่องแมลงออกจากผิวว่าจริงหรือไม่เท่านั้น
    เพราะอย่างนั้นจึงอยากถามคุณออยก่อนจะไปพบคุณออยว่า
    ถ้าผมไปผมจะได้เห็นแมลงในตอนที่มันกำลังออกจากผิวหนังหรือไม่

    เพราะถ้าไม่เห็นก็ไม่มีประโยชน์อะไรที่จะไปพบหรอกครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...