เทคนิค ในการปฏิบัติสมาธิ ภาค ๑ ส่งเสริมโภคทรัพย์

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย วิษณุ12, 2 กุมภาพันธ์ 2013.

  1. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    นักปฏิบัติสมาธิท่านใด ที่ต้องดำเนินชีวิต ปฏิบัติแบบ ฆราวาส

    เทคนิค นี้จะช่วยส่งเสริมท่าน ในการประกอบอาชีพ
    คู่กับกับปฏิบัติธรรม ในเบื้องต้น อย่างดีรอบ
    เมื่อพื้นฐาน ท่านเป็นคนขยันในตัว

    แต่ทำอะไรเหมือนติดขัด ไม่ขึ้นเสียที ลองใช้ วิธีนี้ประกอบดูครับ


    ในเวลา 24 ชั่วโมง ของ 1วัน

    ให้เลือกเวลา ที่เป็น ร่องเวลาที่เรา สามารถทำได้ทุกวัน
    หากถนัดก่อนนอนก็ฝึกก่อนนอน
    หากถนัดตอนเช้าตรู่ก็ฝึกตอนเช้าตรู่
    หากถนัดตอนกลางวันก็ฝึกกลางวัน
    โดยทำดังนี้คือ

    อาบน้ำชำระร่างกายแล้ว ให้สวดมนต์ตามนี้

    ระลึกถึงคุณพระรัตนะตรัย


    กราบ ๕ ครั้ง


    กล่าวคำขอขมาว่าดังนี้


    ข้าพเจ้า ขอขมากรรม พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    ครูบาอาจารย์
    บิดามารดา
    เจ้ากรรมนายเวร
    และสิ่งศักสิทธิ์ทั้งหลาย
    กรรมอันใด ที่ข้าพเจ้า ได้ล่วงเกิน
    ด้วย กายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ตั้งใจก็ดี ไม่ตั้งใจก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี
    ขอทุกท่าน โปรดอโหสิกรรม ให้ข้าพเจ้าด้วยเทอญ


    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ อาจาริยานัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ มาตาปิตุนัง ปูเชมิ


    อะระหังสัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ )
    สะวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ )
    สุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ )
    มัยหังมาตาปิตูนังวะ ปาเท วันทามิ สาคะรัง (กราบ)
    ปัญญาวุฒฑิ กะเรเตเต ทินโนวาเท นะมามิหัง (กราบ)


    อาราธะนาศีล ๘


    ข้าพเจ้า ขอตั้งสัจจะบาระมี จะขอรักษาศีล ๘ ให้ได้ ตลอดการสวดมนต์ภาวนานี้


    อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ
    ทุติยัมปิ อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ
    ตะติยัมปิ อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ


    ๑. ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๒. อะทินนา ทานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๓. อะพรัมมะจะริยา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๔. มุสาวาทา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๕. สุราเมระยะ มัจชะ ปะมา ธะฐานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๖. วิกาละโภชะนา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๗. นัฏจะคีตะวาฐิตะ วิสูกะทัศสะนา มาลาคันธะ วิเลปะนะ ธาระนะ
    มันฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๘. อุจจา สะยะนะ มะหา สะยะนา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ
    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ
    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ
     
  2. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ^
    ต่อด้วยบทนี้

    ชุมนุมเทวดา

    สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง
    ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ ผะริตวานะ
    เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา
    ปะริตตัง ภะณันตุ
    สัคเค กาเม จะรูเป คิริสิขะระตะเฏ
    จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ
    คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะ
    วัตถุมหิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา
    ชะละถะละ วิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา
    ติฏฐันตา สันติเกยัง มุนิวะระวะ จะนัง
    สาธะโว เม สุณันตุ
    ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา
    ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา
    ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา
     
  3. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ^
    ต่อด้วย บทนี้

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ


    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ


    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ


    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ


    (ต่อด้วย)

    บทนำ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร


    อนุตตะรัง อภิสัมโพธิง สัมพุชฌิตวา ตะถาคะโต
    ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง
    สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
    ยัตถากขาตา อุโภ อันตา ปะฎิปัตติ จะ มัชฌิมา
    จะตูสวาริยะสัจเจสุ วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง
    เทสิตัง ธัมมะราเชนะ สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง
    นาเมนะ วิสสุตัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง
    เวยยากะระณะปาเฐนะ สังคีตันตัมภะณามะ เส ฯ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 2 กุมภาพันธ์ 2013
  4. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ^
    ต่อด้วย


    ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ


    เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ

    เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติฯ

    กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถา คะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะ มายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
    อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ

    อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะ เตนะ อะภิ สัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ

    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขา อะริยัะสัจจัง ชาติปิ ทุกข ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา


    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุมะโย อะริยะสัจจัง ฯ ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภิ นันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา ฯ

    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจังฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะ นิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ


    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะ สัจจัง ฯ
    อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมา อาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ

    อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ
    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ


    อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
    อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทมะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ
    ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

    อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
    อุทะปาทิ ฯ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจจิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจจิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ
    ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

    อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ
    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

    ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ

    เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะ พราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ

    ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ

    อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ

    ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิปุ นัพภะโวติ ฯ

    อิทะมะโว จะ ภะคะวาฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ

    อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิ ภัญญะมาเน อายัส มะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สุมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ

    ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย
    อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิวา โลกัสมินติ ฯ


    ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุงฯ จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา

    พรัหมะกายิกาเทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    พรัหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    พรัหมะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    มะหาพรัหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ มะหาพรัหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    สุภะกิณหะกา เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุงฯ สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
    เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิ วัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ


    อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิฯ อะยันจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ
    สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ

    อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ อิติหิทัง อายัสมะโต
    โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ
     
  5. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ^
    ต่อด้วย

    นะโมการะอัฏฐะกะ


    นะโม อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน
    นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ สวากขาตัสเสวะ เตนิธะ
    นะโม มหาสังฆัสสาปิ วิสุทธะสีละทิฏฐิโน
    นะโม โอมาตฺยารัทธัสสะ ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง
    นะโม โอมะกาตีตัสสะ ตัสสะ วัตถุตตฺยัสสะปิ
    นะโม การัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา
    นะโม การานุภาเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา
    นะโม การัสสะ เตเชนะ วิธิมหิ โหมิ เตชะวา ฯ
     
  6. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    จากนั้น ให้วนกลับ ไปสวด


    บทธรรมจักร และ นะโมการะอัฏฐะกะ เพิ่มอีก 4 รอบ
    โดยทั้งหมด จะได้ 5รอบ พอดี

    จากนั้นต่อด้วย



    (บท พุทธะคุณ )
    อิติปิโสภะคะวา
    อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ
    วิชชา จะระณะ สัมปันโน
    สุคะโต
    โลกะวิทู
    อะนุตตะโล
    ปุริสะธัมมะสาระถี
    สัตถา เทวะ มะนุษสานัง
    พุทโธ
    ภะคะวา ติ



    ( บท ธรรมะคุณ )
    สะวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม
    สัณฐิติโก
    อะกาลิโก
    เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก
    ปัจจัตตัง เวธิตัพโพ วิญญู หิ ติ



    (บท สังฆะคุณ )
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญาญะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิตัง จัตตาริ ปุริสะยุค คานิ
    อัฐฐะ ปุลิสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ




    ตามด้วยบท ต่อไปนี้ คือ
    บท พาหุง



    พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ค รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ



    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ



    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ



    อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ



    กัตวานะ กิฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ



    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ




    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ




    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ



    เอตาปิ พุทธะ ชะยะมัง คะละอัฏ ฐะคาถา
    โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตะวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ



    (บท มหากาฯ )


    มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
    สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ
    ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
    ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา
    ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
     
  7. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ( ต่อด้วย บท กรวดน้ำ )



    กรวดน้ำอิมินา
    (นำ) หันทะ มะยัง อุททิงสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ
    (รับ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา
    อาจริยูปะการา จะ มาตาปิตา จะ ญาตะกา (ปิยา มะมัง)
    สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ
    พรัหมะมารา จะ อินทา จะ๑ โลกะปาลา จะ เทวะตา
    ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ
    สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม
    สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง ฯ
    อิมินา ปุญญากัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ
    ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปานทานะเฉทะนัง
    เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง
    นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว
    อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วิริยัมหินา
    มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วิริเยสุ เม
    พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม
    นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง
    เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ


    จากนั้น ตั้งจิต อธิฐาน ......................
     
  8. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ต่อด้วย บทนี้


    คาถาเทวะตาอุยโยชะนะ

    ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา

    โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน

    เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง

    สัพเพ เทวานุโมทันตุ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา

    ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา

    ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ

    สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง

    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส ฯ


    เป็นอันเสร็จพิธี ในภาค ๑

    เมื่อท่านใด บทสวดมนต์ขึ้นใจ โดยไม่ต้องกางหนังสือแล้ว

    คอบพบกับ ภาค ๒ ภาคอริยะทรัพย์

    อ่านแล้วรวยครับ
     
  9. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    เทคนิค ของ อามิสบูชา ที่ใช้คู่การประกอบ และส่งเสริม เหมือนได้ออฟชั่นมีดังนี้คือ

    หากไม่มีพระพุทธรูป ก็ ตัดกระดาษที่ไหนก็ได้ ที่เป็นพระพุทธรูป
    หรือไม่ก็ นำเอา วัตถุ ที่เราดูแล้ว เข้าใจว่า เป็นพระพุทธรูป วางตั้งโต๊ะตรงหน้า

    มีแจกัน ดอกบัวสด 2 ข้าง
    ข้างละ 3-5-7-9-12 แล้วแต่กำลังที่หาได้
    โดยไม่ต้องพับดอกบัว

    พานดอก มะลิสด หรือ ดอกดาวเรืองสด 1 พวง ใส่พานไว้ตรงหน้า


    หากเป็นคนช่างสังเกตุ
    ก็สังเกตุดอกบัว ที่เราใส่แจกันไว้ก็ดี
     
  10. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    สั้นๆดิ ยาวแบบนี้..
    ท่องเสร็จ..เขาไล่ออกจากงาน 300 เหลือ 3บาท..อีกและ อิอิ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กุมภาพันธ์ 2013
  11. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    อาบน้ำ แปรงฟัน แต่งตัว 2 โมงและ..
    สวดมนต์ ท่องอีก3ชั่วโมง.. ตกงานดิ กินทิงแดงดีก่า อิอิ
     
  12. blackangel

    blackangel เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    1,750
    ค่าพลัง:
    +1,919
    โอโห้ ท่องเยอะแบบนี้ไม่ต้องทำมาหากินแล้ว
    คงจะเหมาะกว่าถ้าท่องจบ แล้วไปซื้อหวย แทงบอล เล่นการพนันตามคาสิโน ถ้าให้ดูดีขึ้นมาหน่อยก็เล่นหุ้น ไม่ก็ทองคำแท่ง
     
  13. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ใครสนใจก็ลองดูครับ
    แรกๆอาจจะ กินเวลาไปเกือบ สองก้านธูป
    คล่องแล้วใช้เวลาเพียง ก้านธูปเดียว
    เลือกเวลาให้เหมาะสมกับตัวเอง
    มีอะไรดีดีอีกเพียบ สำหรับผู้ที่ทำได้

    มันส์จะตาย ยิ่งสวดยิ่งมันส์ ^^
     
  14. Ndantchor

    Ndantchor เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    273
    ค่าพลัง:
    +1,123
    ถ้าแค่นี้ว่าเยอะ ? เพราะเคยท่องหลายบทยาวกว่านี้อีก

    หากมีเวลาว่างมากพอ ยังขาดอีกตั้งหลายบท เช่น อนัตตลักขณสูตร
    อาทิต, สติปัฏฐานะปาฐะ, มัคคะวิภังคะสูตร, ยอดพระกัณฑ์, พระอาการวัตตาสูตร, ชินบัญชร

    จบด้วย เมตตาพรหมวิหาระภาวนา(มหาเมตตาใหญ่ ฉบับวัดอัมพวัน)

    จริงๆ บทชุมนุมเทวดา ต้องบทนี้

    บทบวงสรวงและชุมนุมเทวดา โดย หลวงพ่อฤาษีลิงดำ

    ใครท่องจบเรียกทิดได้เลย สมถะแน่นปึ๊ก ^^
     
  15. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    สวัสดีครับ ทิดหม้อ ^^
     
  16. Ndantchor

    Ndantchor เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    273
    ค่าพลัง:
    +1,123
    สะบายดี ทิดปราบ ^^
     
  17. tokyoo2

    tokyoo2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2012
    โพสต์:
    561
    ค่าพลัง:
    +419
    โภคทรัพย์เป็นสิ่งนึง ที่บุคคลอยากให้เกิดจากทางธรรม เป็นที่น่าปราถนาน่ารักโคร่ น่าพอใจ
    หาได้ยากในโลก เเต่เหตุปัจจัยที่จะได้มา ต้องมาจากธรรม4ประการคือ สัทธาสัมปทา สีลสัมปทา จาคสัมปทา ปัญญาสัมปทา คือการสร้างเหตุให้ถูกต้องเเล้วผลของธรรมนั้นจะเกิดขึ้นเอง หรืออีกบทคือ เป็นผู้มีศิล ไม่เหินห่างจากฌาน ประกอบวิปัสสนา เเละให้วัตรแห่งสุญญาคารวะงอกงาม ธรรมเหล่านี้คือเหตุคือปัจจัย เเละพระองค์ยังย่ำว่าถ้าอริยสาวกผู้ต้องการ พึงสร้างเหตุอย่างนี้ พึงปฏิบัติปฏิปทาอย่างนี้ เพื่อให้ถูกตามหลัก. เเล้วผลมันก็จะปรากฏ
    บุคคลต้องการน้ำมันเค้าก็ต้องนำเมล็ดงามาครั้น น้ำมันถึงมีได้ ฉันใดก็ฉันนั่น
    เเล้วอีกอย่าง พระองค์ตรัสว่า พระองค์ไม่กล่าวจะพึงได้ตามปราถนากับสิ่งที่หาได้ยากบนโลก เหตุจากอ้อนวอน เพราะถ้าเกิดผู้ที่ได้สิ่งที่ปราถนาหาได้ยากบนโลกด้วยอาการเเบบนี้ เพียงเเค่อ้อนวอนเเล้วไซร์ ในโลกนี้ ใครจะพึงเสื่อมจากอะไรๆ ถ้าทำเเบบนี้ได้ก็คงไม่มีคนจนอยู่ในโลก เเละเป็นไปไม่ได้อย่างเเน่นอน
     
  18. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    การทำได้ตามกระทู้ ผิดไหมล่ะ ผิดจากคำสอนพระศาสนาไหมล่ะ ^^
     
  19. tokyoo2

    tokyoo2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2012
    โพสต์:
    561
    ค่าพลัง:
    +419
    ผลมันเกิดต่อเมื่อสร้างเหตุที่ถูกต้อง อย่างพระองค์ให้ตั้งจิต ให้อธิษฐานจิตเเล้วจะได้ตามปราถนา ใครๆที่เห็นก็คิดว่าเรื่องง่ายๆใครก็ทำได้ เเต่พระองค์ให้มี ศรัทธา ศิล สุตตะ จาคะ ปัญญา เป็นฐานด้วยผลมันถึงเกิดให้.ถ้าไม่มีตรงนี้ผลมันก็ไม่เกิดให้ เพราะพระองค์ให้สร้างเหตุ ถ้าเกิดคิดว่าเราไม่จำเป็นต้องทำเเบบนั้น เเล้วผลมันจะเกิดมั่ยหล่ะ อย่างกรณีนี้คือสวดอย่างเดียว ซึ่งไม่น่าจะเป็นไปได้อยู่เเล้วใช่มั้ย
     
  20. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    เห็นคำว่า เป็นสิ่งที่ส่งเสิมไหมล่ะ
    เห็นคำว่า เบื้องต้นไหมล่ะ
    เห็นคำว่าขยันไหมล่ะ
    เห็นคำว่า จงอย่าขยันทำงานให้แต่สวดมนต์อย่างเดียวไหมล่ะ
    ในต้นๆกระทู้


    การฝึกแบบนี้เป็นการส่งเสริมฝึกให้มีสัจจะอธิฐาน
    เป็นการสร้างวสีในการอธิฐานไปในตัว
    ในการฝึกมีศีล แม้ครั้งแรก จะไม่คล่อง
    แต่ถ้าเกิดความต่อเนื่อง ชำนาญเมื่อไร
    อันนี้ล่ะจะคล่อง

    แม้ในบทกรวดน้ำ หากแปลเป็นไทยแล้ว
    จุดมุ่งสูงสุดในการอธิฐาน คือนิพพาน
    เป็น อธิฐานบารมี และัเป็นการฝึกน้อมใจเจริญเมตตาเจริญพรมวิหาร
    ฝึกให้มี ข้อวัตร มีวินัย


    การ จดจ่อใน บทสวดมนต์ เป็นการทำสมาธิอย่างหนึ่ง เป็นกำลัง ของสมถะ

    ผู้ที่ทำทุกวัน จนคล่อง
    การประกอบหน้าที่การงาน จิตจะตั่งมั่นได้เร็ว ไม่เผลอไหลไปกับสิ่งอื่น
    คิดการงานสิ่งใด ก็จะคิดออก
    แก้ไขปัญญาในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    จะต่างจากคนที่ จิตไม่เคยมีความสงบ

    ยิ่งถ้าต่อเนื่อง จนไม่ลดละ จนไม่ต้องกางหนังสือแล้ว
    ผลมีอีกไม่ถ้วน ไม่ว่าจะเป็น ปิติ สุข ในการ น้อมมาฝึกวสี การน้อมนึกปิติแล้วอาบจิต โอ้ย ประโยชน์ สารพัด
    คนฝึกถึงจุดนี้ จะทราบได้ด้วยตัวเอง และจะเดินปัญญาในท่ามกลางได้ดีเยี่ยม


    คนขี้เกียจ มีนิวรณ์มาก ก็จะ เอ๊ะ มันยาว มันจะได้ผลไหม มันจะดีเร๊อะ
    คนนิวรณ์มากแล้วไม่ยอมฝึกไม่ยอมฝืน จะออกมาแนวนี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 3 กุมภาพันธ์ 2013

แชร์หน้านี้

Loading...