การปฏิบัติกสิณ ของหลวงพ่อหยุด

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย SaMorMan, 16 มกราคม 2008.

  1. SaMorMan

    SaMorMan Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    14
    ค่าพลัง:
    +56
    <TABLE style="WIDTH: 473pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=631 border=0 x:str><COLGROUP><COL style="WIDTH: 473pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 23076" width=631><TBODY><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; WIDTH: 473pt; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=631 height=31>ธรรมคติของหลวงพ่อในการปฏิบัติกรรมฐานนั้น ก่อนอื่นต้องทำตนให้มีศีลบริสุทธิ์ก่อนเพราะ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31 x:str="ฌานและสมาธิจะเกิดและเจริญก้าวหน้าได้นั้นต้องทำตนให้มีศีลบริสุทธิ์ ผู้มีศีลบริสุทธิ์แล้วก็จะเป็นการ ">ฌานและสมาธิจะเกิดและเจริญก้าวหน้าได้นั้นต้องทำตนให้มีศีลบริสุทธิ์ ผู้มีศีลบริสุทธิ์แล้วก็จะเป็นการ </TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31 x:str=" รักษาความเป็นปกติของจิต การมีศีลเป็นต้นเหตุของความดีทั้งปวง ดังนั้นผู้ปฏิบัติกรรมฐาน 40 ">รักษาความเป็นปกติของจิต การมีศีลเป็นต้นเหตุของความดีทั้งปวง ดังนั้นผู้ปฏิบัติกรรมฐาน 40 </TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็จะทำให้ผู้นั้น "ทำกรรมฐานขึ้น" เจริฐกรรมฐานอย่างก้าวหน้าได้ฌาน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ตั้งแต่ปฐมฌาน ฌานชั้นที่ 1 ทุติฌาน ฌานชั้นที่2 ตติยฌาน ฌานชั้นที่3 จนถึงจตุถฌาน ฌานชั้นที่ 4</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>เรื่อยไปจนถึงอรูปฌาน 4 เป็นที่สุด จากพระเถระที่ปฏิบัติกรรมฐานจนได้ ฌาน 4 ฌาน 8 แล้วจะทำให้</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>การปลุกเสกวัตถุมงคลทั้งหลายเกิดความขลังความศักดิ์สิทธิ์ขึ้นเป็นอันมาก การจะเกิดเป็นฌาน ได้ก็ต้อง</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ทำสมาธิ สมาธิจะเกิดได้ก็ต้องมีใจที่สงบนิ่ง มีใจเป็นหนึ่งเดียว ไม่ฟุ้งซ่าน เป็นอย่างอื่น ทั้งหมดนี้เรียกว่า</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>"กรรมฐาน" กรรมฐานนี้มี 2 ประเภท คือสมถกรรมฐาน ประเภทหนึ่งและวิปัสสนากรรมฐานประเภทหนึ่ง</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>หลวงพ่อหยุดจะเจริญกรรมฐานในทางของสมถะ เพราะสมถะนี้เป็นบาทเบื้องต้นของฌาน จำเป็น</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ต้องใช้กรรมฐานข้อนี้เป็นเครื่องอบรมจิตใจเพื่อให้จิตเป็นสมาธิ และเป็นฌานดังประสงค์ กรรมฐานที่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>หลวงพ่อหยุดปฏิบัติอยู่ประจำก็คือ กสิณ 10 ประการ อสุภะ 10 ประการและอาหาเรปฏิกูลสัญญา 1 กรรมฐาน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ทั้ง 3 หมวด นี้มีอะไรบ้าง มีลักษณะเป็นอย่างไรผู้เขียนก็จะขอนำมาอธิบายให้ท่านผู้อ่านได้ทราบกันอย่าง</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ง่าย ๆ เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติของพระเกจิอาจารย์ที่ดัง ๆ ทั้งหลายว่า ท่านปฏิบัติตนอย่างไรถึงได้</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ขลังนัก ศักดิ์สิทธิ์นัก นอกจากคาถาอาคมที่ท่านมีความเป็นผู้มีคาถาดียังเป็นรองของการได้สมาธิและได้ฌาน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl23 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>การปฏิบัติในกสิน 10 ประการของหลวงพ่อหยุด ก็คือ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>1. ปฐวีกสิณ วงกลมที่ทำด้วยดินบริสุทธิ์ สีอรุณคือสีเหลืองปนแดง เช่นสีหม้อดินใหม่ วิธีทำของ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>หลวงพ่อก็คือเอาดินบริสุทธิ์สีอรุณมาขยำให้เหนียวดีแล้วราดลงบนแผ่นกระดาษวงกลม มีขนาดวัดเส้น</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ผ่าศูนย์กลาง 1 คืบ 4 นิ้ว ขัดให้เกลี้ยงให้งาม ปราศจากมลทิน เช่น เส้นหญ้าหรือก้อนกรวด เป็นต้น</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>แล้วทำให้เกลี้ยงเกลาเป็นเงาดี</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>2. อาโปกสิณ วงกลมทำด้วยน้ำใสบริสุทธิ์ ปราศจากสี กลิ่น และตะกอน วิธีทำของหลวงพ่อท่าน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>จะเอาน้ำบริสุทธิ์ ใส่ภาชนะที่มีขอบปากกว้าง กลมมนวัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ 1 คืบ 4 นิ้ว ใส่น้ำให้เต็ม</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ขอบปาก</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>3. เตโชกสิณ วงกลมทำด้วยไฟ หลวงพ่อท่านใช้วิธีทำด้วยการก่อไฟด้วยฟืนไม้เนื้อแข็งให้ไฟลุกโชน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>เป็นเปลวสีเหลือง หรือเหลืองแก่ แล้วเอาแผ่นหนังหรือเสื่อลำแพนมาเจาะรูเป็นวงกลมกว้างขนาดวัด</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ผ่าศูนย์กลาง ขนาด 1 คือ 4 นิ้ว ตั้งบังกองไฟให้มองเห็นได้โดยช่องวงกลมเท่านั้น</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>4. วาโยกสิณ เพ่งลมที่พัดสัมผัสอวัยวะหรือพัดยอดไม้ยอดหญ้าให้หวั่นไหว ถ้าหลวงพ่อหยุดจะบำเพ็ญ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>กรรมฐานข้อนี้ท่านจึงใช้วิธีเพ่งลมที่พัดอยู่โดยธรรมชาตินั้นเป็นอารมณ์จนมองเห็นกลุ่มลมหรือสายลมที่พัด</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ไปมานั้นให้ติดตา หลับตามองเห็น แต่หลวงพ่อจะไม่เพ่งลมที่ปั่นป่วน หรือลมพายุ เด็ดขาดเพราะจะทำให้</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>จิตนั้นปั่นป่วน จะทำให้สมาธินั้นแตกได้ทำให้เสียสติเป็นบ้าได้ในที่สุด</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>5. นีลกสิณ วงกลมที่ทำด้วยสีเขียว หลวงพ่อหยุดท่านจะทำด้วยการเอาสิ่งที่มีสีเขียวบริสุทธิ์ เช่น ดอกบัว</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>เขียว ผ้าเขียวหรือ กระดาษเขียว มาทำ เป็นต้น วิธีทำ ถ้าเป็นดอกไม้พึงบรรจุลงไปในภาชนะที่มีขอบปากกลม</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ปัจจุบันนิยมใช้ผ้ากำมะหยี่สีเขียวหรือกระดาษสีเขียวเป็นส่วนมาก ทำให้มีขนาดวัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>1 คืบ 4 นิ้ว โดยเฉพาะ ถ้าเป็นผ้าต้องตึงให้ตึงอย่าให้ยับยู่ยี่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>6. ปีตกสิณ วงกลมที่ทำด้วยสีเหลืองสมัยที่หลวงพ่อหยุดปฏิบัติกรรมฐานใหม่ ๆ ถอยหลังไปเมื่อ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>30-40 ปีก่อนท่านจะใช้ดอกกรรณิกา สีเหลืองบ้าง ผ้าเหลืองบ้างมาทำโดยทำนองเดียวกันกับ นีลกสิณที่</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>กล่าวมา ทั้งวิธีทำและขนาดเหมือนกัน</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl23 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>7. โลหิตกสิณ วงกลมที่ทำด้วยสีแดง วิธีทำหลวงพ่อท่านจะใช้วัตถุที่มีสีแดงไม่ว่าจะเป็นผ้าบ้าง กระดาษ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>บ้าง หรือดอกไม้ที่มีสีแดงบ้างนำมาทำเหมือนกับนีลกสิณที่กล่าวมาข้างต้นขนาดก็เท่ากันคือ 1 คืบ 4 นิ้ว</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>8. โอทาตกสิณ วงกลมที่ทำด้วยสีขาว วิธีทำก็เหมือนกับนีลกสิณ ที่กล่าวมาขนาดเท่ากันเป็นแต่เพียงว่า</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>วัตถุที่นำมาเพ่งกสิณนั้นเป็นสีขาวบริสุทธิ์อย่าให้มีสีอื่นเจือปนแม้เพียงเป็นจุดเล็กก็ไม่ควรให้มี</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>9. อากาสกสิณ วงกลมอากาศ วิธีทำเจาะผ่าเป็นรูปวงกลม มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 1 คืบ 4 นิ้ว หรือ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>เจาะเสื่อลำแพนขนาดเดียวกันก็ได้เพ่งดูอากาศในวงกลมนั้นด้วยการกำจิตเป็นอารมณ์ เช่นนี้เรียกว่า อากาสกสิณ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>10. อาโลกกสิณ วงกลมแสงสว่าง หลวงพ่อท่านจะใช้วิธีเจาะก้นหม้อดินให้เป็นรูปวงกลม ขนาดเส้น</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ผ่าศูนย์กลาง 1 คืบ 4 นิ้ว แล้วตั้งตะเกียงหรือจุดเทียนไขตั้งไว้ ภายในหม้อ แล้วหันแสงสว่างนั้นให้ไปปรากฏ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>ที่ฝาหรือกำแพงแล้วเพ่งดูแสงสว่างที่ฝาหรือกำแพงนั้นเป็นอารมณ์ เรียกว่า อาโลกกสิณ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>กสิณที่กล่างมานี้ทั้งหมด กสิณที่ 1- 8 เรียกว่า รูปกสิณ คือ กสิณที่มีรูปเป็นอารมณ์ ส่วนกสิณที่ 9-10</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>เรียกว่า อรูปกสิณ ซึ่งใช้เป็นอารมณ์ของอรูปฌาน คืออากาสานัญจายะตะนะ ตามลำดับของ อรูปฌาน 4</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>วิธีปฏิบัติของหลวงพ่อหยุด คือ ชำระตนให้สะอาด อาบน้ำอาบท่านุ่งห่มจีวรให้เป็นปริมณฑล ปัดกวาด</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>บริเวณให้สะอาด นั่งอยู่บนตั่งหรืออาสนะแล้วแต่ความสะดวกของประเภทกสิณนั้น ๆ ท่านจะนั่งเพ่งดู</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>วงกสิณนั้น ๆ จนติดตา เจริญกสิณนั้นเป็นอารมณ์แล้วหลับตาจนเห็นดวงกสิณนั้นบรรลุผลจนเกิดอุคคหนิมิต</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>(ภาพเงา กสิณที่เห็นปรากฏในเวลาหลับตาและปฏิภาคนิมิต ภาพเงากสิณที่ปรากฏในเวลาหลับตาที่มีสี</TD></TR><TR style="HEIGHT: 23.25pt" height=31><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #d4d0c8; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; HEIGHT: 23.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=31>เหมือนแผ่นกสิณจริง ) เช่นนี้เรียกว่า บรรลุผลของกสิณเป็นทางที่จะบรรลุฌานได้</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. SaMorMan

    SaMorMan Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    14
    ค่าพลัง:
    +56
    การเพ่งกสิณทั้ง 10 วิธีนี้ ถ้าได้บรรลุแล้วจะมีอานุภาพมาก ทำให้ได้อภิญญาทุกกสิณ แต่ว่ากสิณแต่ละอย่างที่หลวงพ่อหยุดปฏิบัติอยู่นี้ก็มีอานุภาพที่ต่างกัน สามารถแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ได้ต่างกันตามแต่ชนิดของกสิณที่เพ่ง
    ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้แสดงคุณวิเศษต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากอำนาจของกสิณนั้น แต่ละอย่างไว้ดังนี้
    1. ปฐวีกสิณ กสิณดินมีคุณวิเศษ คือสามารถหายตัวได้ ปรากฏตัวได้เนรมิตคน ๆ เดียวให้เป็นหลายคนได้ เนรมิตคนจำนวนมากให้ปรากฏเป็นคนเดียวได้ เนรมิตแผ่นดินให้ลอยไปในอากาศหรือในน้ำได้ เดินไปบนน้ำได้ เนรมิตกายเป็นสิ่งต่าง ๆ ได้
    2. อาโปกสิณ กสิณน้ำมีคุณวิเศษ คือสามารถดำดินได้ เนรมิตให้ฝนตกได้ เนรมิตให้มีทะเลได้ แม่น้ำได้ ทำปราสาทบ้านเรือนหรือภูเขา แผ่นดินให้หวั่นไหว ได้ ทำกระแสน้ำให้พุ่งออกจากร่างกายของตนได้เหมือนตอนที่พระพุทธเจ้าแสดงยมกปาฏิหาริย์เป็นต้น
    3. เตโชกสิณ กสิณไฟมีคุณวิเศษ คือบันดาลเปลวไฟหรือควันไฟให้เกิดขึ้นได้ ทำฝนเพลิงให้ตกได้สามารถเผาผลาญสิ่งต่างๆ ได้ ทำให้แสงสว่างเกิดขึ้นได้ ทำให้มีตาทิพย์ได้ ทำให้ความมืดหายไปได้ ทำเปลวไฟให้พุ่งออกจากกายตนได้เหมือนตอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเปลวไฟในการแสดงยมกปาฏิหาริย์และเผาสรีระของตนเองในคราวที่ปรินิพพานได้
    4. วาโยกสิณ กสิณลม มีคุณวิเศษ คือเหาะไปในอากาศได้ เดินได้เร็ว เหมือนลมพายุ เนรมิตลมพายุให้เกิดได้ เนรมิตของหนักให้เบาได้ เป็นต้น
    5. นีลกสิณ กสิณสีเขียวมีคุณวิเศษคือ เนรมิตวัตถุสีเขียวขึ้นมาได้ เพ่งวัตถุให้กลายเป็นสีเขียวได้ เพ่งแร่ธาตุต่าง ๆ ให้เป็นหยกมีค่าได้ให้เป็นมรกตได้
    6. โลหิตกสิณ กสิณสีแดง มีคุณวิเศษ คือสามารถเนรมิตรูปร่างวัตถุสีแดงขึ้นมาได้ เพ่งวัตถุให้เป็นสีแดงได้ เพ่งธาตุต่าง ๆ ให้เป็นทับทิมอันมีค่าได้ สามารถบรรลุสุภวิโมกข์ คือความหลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวงได้
    7. ปิตกสิณ กสิณสีเหลือง มีคุณวิเศษ คือ สามารถเนรมิตรูปวัตถุสีเหลืองขึ้นมาปรากฏได้ เพ่งวัตถุต่างๆ ให้เป็นสีเหลืองได้ เพ่งแร่ธาตุต่าง ๆให้เป็นทองคำได้ ให้เป็นแก้วบุศราคัมอันมีค่าได้ บรรลุสุภวิโมกข์ได้
    8. โอทาตกสิณ กสิณสีขาว มีคุณวิเศษ คือเนรมิตรูปสีขาวต่าง ๆ ขึ้นมาได้ ขับถันมิทธะความง่วงเหงาหาวนอนได้ ทำความมืดให้หายไปได้ ทำแสงสว่างให้ปรากฏจนสามารถตามองเห็นรูปต่าง ๆ ได้
    9. อาโลกกสิณ กสิณแสงสว่าง มีคุณวิเศษคือเนรมิตรูปที่โปร่งแสงขึ้นมาได้ ขับความง่วงซึมได้ทำความมืดให้หายไปได้ ทำแสงสว่าง ขึ้นมาให้เห็นรูปด้วยจักษุได้ดังที่เรียกว่า ทิพจักษุ ตาทิพย์ และ
    10. อากาสกสิณ กสิณอากาศ มีคุณวิเศษคือ สามารถเดินทะลุเข้าไปในกำแพงหนาได้ เดินเข้าห้องที่ปิดประตูลงกลอนได้ แทรกลงไปในแผ่นดินได้เป็นต้น
    อิทธิฤทธิ์ หรือคุณวิเศษต่าง ๆ ที่กล่าวมานี้ จะปรากฏอยู่ได้เฉพาะช่วงเวลาที่อธิษฐาน หรือแสดงฤทธิ์เท่านั้น เมื่อคลายฤทธิ์หรือคลายจากอธิษฐานแล้วทุกสิ่งทุกอย่างจะกลับกลายเป็นดังเดิม ดังนั้นการแสดงฤทธิ์นี้ พระพุทธเจ้าจึงไม่ทรงสรรเสริญ ถ้าผู้มีฤทธิ์ยังไม่บรรลุธรรมก็อาจจะเสื่อมจากฤทธิ์ได้ ดังเช่นพระเทวทัต หรือ ฤาษีต่าง ๆ ที่ได้เสพกามฤทธิ์ที่เคยมีก็เสื่อม

    แหล่งที่มา จากหนังสือพระเกจิ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2008
  3. wuttichai0329

    wuttichai0329 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,015
    ค่าพลัง:
    +741
    ดีครับ ท่าน
     

แชร์หน้านี้

Loading...