วิชชา ธรรมกาย ไม่ได้มาจาก วัดพระธรรมกาย

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย jack5487, 28 มิถุนายน 2008.

  1. upanya

    upanya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2006
    โพสต์:
    900
    ค่าพลัง:
    +1,035


    เห็นว่าคุณขันธ์ไม่รู้จริงๆ นั่นแหละ

    มันล้างกันหมดไปตั้งแต่คุณไม่ได้ฝึกสายธรรมกายและได้ผลการปฏิบัติตามลำดับมาจริงแล้ว มาพูดนั่นแหละครับ



     
  2. สมถะ

    สมถะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,091
    ค่าพลัง:
    +972
    ผมพยายามถามซ้ำๆ หลายครั้งแล้ว ขอให้ถามมาเป็นข้อๆ ผมจะลองตอบให้ดู ก็ไม่เห็นถาม ผมจะมีเวลาไปดูทีละความเห็นไหวหรือ แต่ถึงคุยกับคุณขันธ์ไปก็ไร้ประโยชน์ ผมเห็นว่าคุณมันก็แค่คนมากด้วยคารม คุยกับคุณมันมีแต่ความยียวนกวนอารมณ์คุณถนัดหลอกล่อให้คนที่หลงคุยกับคุณมีจิตฟุ้ง ผมจึงเห็นว่าไม่มีประโยชน์ที่จะคุยกับคุณ นะครับ


    ผมมั่นใจว่าข้อมูลของผมตอบโจทย์ของคุณได้ทั้งหมด ถามว่ารู้ได้อย่างไร ก็มีคนส่งข้อความส่วนตัวมาคุยกับผม ท่านกล่าวเองว่าสิ่งที่ผมเสนอไปนั้นทำให้ท่านเข้าใจวิชชาธรรมกายได้มากขึ้น ก็แปลว่าผมแสดงข้อมูลให้ท่านเหล่านั้นเข้าใจได้นั่นเอง


    เอาล่ะครับ ท่านผู้ตามอ่านจะคิดเห็นอย่างไร ผมเองมิได้มีความประสงค์ให้ท่านต้องคิดตามผม แต่ขอให้ท่านอ่านข้อมูลนำเสนอของผมให้มากที่สุด แล้วท่านจะทราบว่า การฝึกวิชชาธรรมกายนั้นท่านต้องตั้งใจฝึกใจให้สงบเป็นสันติธรรมให้ได้ก่อน ผมมิได้มีเจตนาเบียดเบียนใคร เพียงแต่ต้องการให้ท่านที่ไม่รู้จริงได้ทราบความจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้...เท่านั้นครับ
     
  3. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    คุณ สมถะครับ ผมถามคำถามยากที่สุดในธรรมกาย แต่ก็ง่ายที่สุด สำหรับ หลักมหาสติปัฎฐาน

    คำถามคือ
    คุณ ได้พิจารณาตอนที่ กายทิพย์เคลื่อนหรือไม่ ว่ามันเคลื่อนอย่างไร ไปในทิศทางใด
    และ ได้พิจารณาหรือไม่ว่า ใจตอนนั้นของคุณ ที่อยู่กับกายทิพย์นั้นมี เวทนาอย่างไร สุขหรือทุกข์ในตอนนั้น
     
  4. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    [​IMG]

    ถ้า ครู ไม่รู้ แล้ว อ่าน ไป นักเรียน สงสัย จะทำยังไง นะเอย นะเอย
     
  5. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,167
    กระทู้เรื่องเด่น:
    22
    ค่าพลัง:
    +29,753
    ฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯ


    สำหรับ นายขันธ์ ไม่คุ้มกับสิ่งที่เป็นประสพการณ์ที่จะเล่า จะถก

    และ เวลา ที่จะทุ่มให้ ไม่รู้ตัวเองอีกหรือ
     
  6. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=2><TBODY><TR><TD width="100%" bgColor=#204080 colSpan=2 rowSpan=2>
    • [​IMG] <!--WapAllow0=Yes--><!--pda content="begin"--><BIG><BIG><!--Topic-->คุณสมถะ แสดงพระพุทธวจนะ ที่ตรัสถึง จิตพระอรหันต์ หน่อยครับ [​IMG] </BIG></BIG>
      <!--MsgIDBody=0-->อ้างกระทู้
      http://www.pantip.com/cafe/religious/topic/Y6568235/Y6568235.html#27
      คคห 27 ครับ <!--MsgFile=0-->จากคุณ : <!--MsgFrom=0-->F=9b [​IMG] - [ <!--MsgTime=0-->วันฉัตรมงคล 22:41:01 <!--MsgIP=0-->]
      <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <!--pda content="begin"--><HR align=center width="90%" color=#f0f0f0><!--pda content="end"-->
      • <!--MsgIDTop=1-->
        <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224422 border=1><TBODY><TR><TD>
        • [​IMG] <!--WapAllow1=Yes--><!--pda content="begin"-->ความคิดเห็นที่ 1 [​IMG]

          <!--MsgIDBody=1-->หาเอาเองบ้างซีครับ...

          พ่อนักปฏิเสธพระไตรปิฎก <!--MsgFile=1-->


          จากคุณ : <!--MsgFrom=1-->สมถะ [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=1-->6 พ.ค. 51 11:03:41 <!--MsgIP=1-->] <!--pda content="end"-->
        </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

        <!--pda tag="<hr align=center width=90%>"--><!--MsgIDBottom=1--><!--MsgIDTop=2-->
     
  7. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ไม่คุ้มที่จะเล่า จะถก แต่คุ้มที่จะด่านายขันธ์ อย่านั้นหรือโอม อย่าทำตัวค้านนอกลู่นอกทางแบบนี้
    มีภูมิอะไรว่ามา หรือตอบคำถามที่ผมถามไปก็ได้
     
  8. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    นี่ไงคำถาม ยังไม่เห็นตอบเลย
    ที่ผมเจาะจงถามคุณสมถะ เพราะเห็นว่า น่าจะใช้ปัญญาตอบได้ดีที่สุด
    คุณโอม เห็นว่าปฏิบัติมากกว่า10ปี ไม่เห็นได้เรื่องเลย
    ส่วนคุณอัปปัญญายิ่งไม่ต้องพูดถึง โทสะ โมหะ เต็มไปหมด

    แล้วนี่จะตอบได้หรือยัง ว่า การเห็น ตามที่ท่านเข้าใจ เห็นอย่างไร
     
  9. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=1><TBODY><TR><TD>
    • ความคิดเห็นที่ 2 [​IMG]

      <!--MsgIDBody=2-->เอ ท่านเซนฯ โพสต์อยู่เสมอว่า เป็นผู้รับใช้พระพุทธวจนะแปลไทย
      คงไม่ปฏิเสธพระไตรปิฎกหรอกกระมัง <!--MsgFile=2-->


      จากคุณ : <!--MsgFrom=2-->Together In 80s Dream [​IMG] [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=2-->6 พ.ค. 51 11:53:18 <!--MsgIP=2-->] <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!--pda tag="<hr align=center width=90%>"--><!--MsgIDBottom=2--><!--MsgIDTop=3-->
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224422 border=1><TBODY><TR><TD>
    • [​IMG] <!--WapAllow3=Yes--><!--pda content="begin"-->ความคิดเห็นที่ 3 [​IMG]

      <!--MsgIDBody=3-->ใครพูดว่าอย่างไร ไม่ควรจักด่วนสรุปเชื่อเช่นนั้น


      เพราะใครแสดงความเห็นความคิดอย่างไร แสดงทิฏฐิอย่างไรนั่นแหละคือความเป็นจริง


      คุณโชติเซนใช้พุทธวัจนะแปลไทยสนองทิฏฐิตนหรือพูดให้ดูดีก็ว่า รับใช้พุทธวัจนะแปลไทย ถามว่าแล้วผู้ศึกษาพระไตรปิฎกทั่วโลกเขาเป็นอย่างคุณโชติเซนหรือไม่ จะเอาอะไรรับใช้อะไร ดูที่เจตนาและทิฏฐิความเห็นของผู้นั้นเป็นหลัก ถ้าอ้างอย่างนี้ได้ ใครๆ ก็อ้างได้


      เดี๋ยวเขาก็จักกล่าวว่ารับใช้พุทธวัจนะเท่านั้น ไม่ได้รับใช้พระไตรปิฎก เพราะในพระไตรปิฎกท่ไม่ใช่พุทธวัจนะก็มีมากมาย แล้วเราจะให้กรมการศาสนาทำอย่างไร ให้มหาเถรทำอย่างไร ทำพระไตรปิฎกขึ้นมาใหม่ หรือใช้พระไตรปิฎกฉบับจากพระโอษฐ์ของสำนักไชยาเท่านั้นไหม...?


      หมายความว่าสาวกภาษิตที่เป็นของพระอรหันต์ก็ไม่ควรเชื่อใช่ไหม หรือว่าจะต้องแยกอีกว่าอันไหนสูตรไหน เป็นสาวกภาษิตของพระอรหันต์เชื่อได้อันไหนแต่งเสริมเข้ามาเชื่อไม่ได้ หรืออะไรๆ อีกมากมาย แต่ทั้งหมดมิใช่เหตุผลที่ควร เหตุผลที่ควรก็คือเราจะเชื่อตำราแบบไหนที่จะทำให้เราไม่ไขว้เขวในธรรมต่างหาก


      ไม่ใช่ต้องหาพระสูตรที่เป็นพุทธวัจนะอย่างเดียว เพราะนั่นเพียงข้ออ้างเซนโชติฝ่ายเดียว แต่ถ้าเราปฏิเสธธรรมของพระอรหันต์ที่ท่านอธิบายพระพุทธวัจนะอีกทีออกเสีย แล้วจะอย่างไร ดังนั้นควรหรือไม่ที่เราจะด่วนปฏิเสธเพียงเพราะอ้างว่าอยู่ในพระไตรปิฎกก็จริงแต่ไม่ใช่พุทธวัจนะ


      ถ้าเราไม่เกียจคร้านจนเกินไป เราควรจะศึกษาให้รอบคอบและกว้างขวางด้วยว่า ความหมายในพระไตรปิฎกในรูปของพุทธวัจนะและตามที่พระอรหันต์ท่านอธิบายให้ชัดเจนยิ่งขึ้นนั้นเข้ากันได้หรือไม่


      นั่นก็หมายความว่า คุณโชติเซนต้องตั้งแง่ทะเลาะกับพระไตรปิฎกเองเอง ระหว่างเนื้อความที่เป็นพุทธวัจนะหรืออรหันต์ภาษิตว่าเข้ากันได้หรือไม่ ซึ่งนี่ต่างหากธรรมที่คุณโชติเซนควรพิจารณา ไม่ใช่เอาแต่ปฏิเธโดยอ้างเล่ห์ใดๆ


      อันที่จริงไม่น่าหนักใจอะไร เพราะนั่นเป็นปัญหาของคุณโชติเซนเท่านั้น ผมเองไม่สนใจที่จะประเคนอะไรๆ ให้เขาทั้งหมด เพราะเงื่อนไขที่คุณโชติเซนตั้งขึ้นมันมาจากพื้นฐานของทิฏฐิของเขาเอง เขาเรียนรู้มาอย่างไรต่างหาก เขายึดมั่นทิฏฐิอย่างไรต่างหาก ที่เหลืออื่นๆ เป็นเพียงข้ออ้างของเขาเพื่อปกป้องทิฏฐิความเห็นของตนเองโดยอิงว่าเป็นผู้รับใช้พุทธวัจนะแปลไทย ซึ่งไม่สมจริงดังว่า เพราะหลายๆ ครั้งก็แย้งกับพุทธวัจนะแปลไทยเสียเอง บางเรื่องก็เพิ่งถึงบางอ้อ บางเรื่องก็ยอมเสียมิได้แม้ใครจะอ้างพุทธวัจนะแปลไทยที่แย้งกับความเห็นของตน ผมทราบดีเพราะผมคุยกับเขามานาน สิ่งที่เขาอ้างไม่สมจริงดังว่าดอกครับ


      เอาเถิด...ผมไม่ขอออกความเห็นในกระทู้นี้อีกแล้วนะครับ เพราะอะไรเพราะว่าไม่มีประโยชน์อะไรดอก บางอย่างก็ต้องปล่อยไปเสียบ้าง เรื่องนี้ผมกล่าวเฉพาะกะคุณโชติเซนเท่านั้นนะครับ <!--MsgFile=3-->


      จากคุณ : <!--MsgFrom=3-->สมถะ [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=3-->6 พ.ค. 51 12:57:16 <!--MsgIP=3-->] <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

     
  10. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=1><TBODY><TR><TD>
    • ความคิดเห็นที่ 4 [​IMG]

      <!--MsgIDBody=4-->โถ...วิญญาณแปรสภาพ

      เฮ้อ...ใครจะว่าอย่างไร ผมก็อาจจะขอออกความเห็นในกระทู้นี้อีกนะครับ
      เพราะอะไร เพราะว่ามีประโยชน์บ้างกับคุณสมถะครับ
      แต่บางอย่างก็คงต้องปล่อยไปเสียบ้าง
      เรื่องนี้ผมกล่าวเฉพาะกะคุณสมถะเท่านั้นนะครับ <!--MsgEdited=4-->[SIZE=-1]แก้ไขเมื่อ 06 พ.ค. 51 16:14:10[/SIZE] <!--MsgFile=4-->


      จากคุณ : <!--MsgFrom=4-->JitZungkabuai [​IMG] - [ <!--MsgTime=4-->6 พ.ค. 51 16:12:18 <!--MsgIP=4-->] <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!--pda tag="<hr align=center width=90%>"--><!--MsgIDBottom=4--><!--MsgIDTop=5-->
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=1><TBODY><TR><TD>
    • [​IMG] <!--WapAllow5=Yes--><!--pda content="begin"-->ความคิดเห็นที่ 5 [​IMG]

      <!--MsgIDBody=5-->ไม่ทราบ ใคร ถามผมว่า?
      ถามคุณโชติเซนหน่อย หลังบรรลุพระอรหันต์แล้ว พระอรหันต์ยังมีชีวิตอยู่ตามหลัก จูฬสุญญตสูตร จิต ของพระอรหันต์ยังมีอยู่หรือไม่มีจิตอีกต่อไป
      ดังกระทู้
      http://www.pantip.com/cafe/religious/topic/Y6568235/Y6568235.html#27
      คคห 9

      คุณสมถะ รู้จักคนคนนั้นบ้างไหมครับ


      ผมก็ตั้งกระทู้ถาม คนคนนั้น ที่ใช้นามแฝงว่า
      จากคุณ : สมถะ - [ 2 พ.ค. 51 20:14:08 ]

      เอ้า คุณสมถะ คนคนนั้น (ไม่ใช่ สมถะ ตาม คคห 1 กับ คคห 3 ที่ตอบแล้ว)

      ช่วย แสดง ความมีจิตสำนึก รับผิดชอบ ในสิ่งที่ตนได้กระทำแล้ว และสิ่งนั้น เนื่องกับ องค์พระบรมศาสดา

      กล่าวคือ ได้เสนอคำว่า ..จิต ของพระอรหันต์


      ช่วย ยืนยัน ว่า พระบรมศาสดาตรัสไว้ในพระสูตรไหน คำว่า จิต ของพระอรหันต์

      เพื่อ ไม่เป็นการ กล่าวตู่ พระพุทธวจนะ


      คุณสมถะ แห่งกระทู้นั้น ถ้าเข้ามาอ่าน กระทู้นี้
      จง แสดงความรับผิดชอบด้วย ครับ

      ตามกระทู้ นั่นแหละครับ
      คุณสมถะ แสดงพระพุทธวจนะ ที่ตรัสถึง จิตพระอรหันต์ หน่อยครับ <!--MsgFile=5-->


      จากคุณ : <!--MsgFrom=5-->เซนเถรวาทปฐมสังคายนานิยม (F=9b) [​IMG] - [ <!--MsgTime=5-->6 พ.ค. 51 21:37:50 <!--MsgIP=5-->] <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

     
  11. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224422 border=1><TBODY><TR><TD>
    • ความคิดเห็นที่ 6 [​IMG]

      <!--MsgIDBody=6-->ก็ตอบปัญหากวนๆ เสียแบบนี้ ผมจึงไม่อยากคุยด้วย ผมถามคุณดังนั้น คุณก็ตอบตรงๆ ชัดๆ ซีว่า เข้าใจอย่างไร หรือ ปฏิเสธอย่างไร ผมไม่ได้บอกว่าผมเห็นว่าอย่างไร ผมถามว่าคุณเห็นอย่างไร...? แค่นี้เองคุณโชติเซนก็ต้องคำถามย้อนกลับชนิดไปไหนมาสามวาสองศอกเสียอย่างนั้น


      เมื่อ คิดว่าควรตอบอย่างไรก็ตอบมาเถิด แล้วความเข้าใจมันจะเกิดขึ้นเอง อย่าไปตอบแบบยียวนกวนอารมณ์ให้ขุ่นไปเลย ความที่คุณโชติเซนชอบเฉไฉเวลาที่คนถามเขาต้องการความชัดเจน นั่นก็เป็นตัวตนของคุณที่ซ่อนอหังการมมังการอยู่ แปลว่าอะไร...?


      ถ้ายังใช้วิธีแบบนี้ก็จบกันเถิดครับ คุยกันไปเดี๋ยวชาวบ้านเขาจักกล่าวว่า ตั้งแง่วิวาทะกรรมกันไม่รู้จบเสียเปล่าๆ ผมถามคุณเมื่อคุณไม่ตอบให้ชัดเจนก็แปลว่าคุณไม่ตอบก็จบ แล้วไม่ต้องเดือดร้อนว่าผมคิดอย่างไร ผมไม่คิดอย่างที่คุณอยากให้ผมคิดดอก... <!--MsgFile=6-->


      จากคุณ : <!--MsgFrom=6-->สมถะ [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=6-->7 พ.ค. 51 11:08:55 <!--MsgIP=6-->] <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!--pda tag="<hr align=center width=90%>"--><!--MsgIDBottom=6--><!--MsgIDTop=7-->
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=1><TBODY><TR><TD>
    • [​IMG] <!--WapAllow7=Yes--><!--pda content="begin"-->ความคิดเห็นที่ 7 <A href="javascript:eek:penInformWindow(7)">[​IMG]

      <!--MsgIDBody=7-->ไม่ต้องถามต่อนะครับ ผมจบแล้ว ผมเห็นวิธีการคุยของคุณโชติเซนแล้ว แบบนี้ไม่เกิดประโยชน์ครับ จบ... <!--MsgFile=7-->

      จากคุณ : <!--MsgFrom=7-->สมถะ [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=7-->7 พ.ค. 51 11:10:48 <!--MsgIP=7-->] <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!--pda tag="<hr align=center width=90%>"--><!--MsgIDBottom=7--><!--MsgIDTop=8-->
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=1><TBODY><TR><TD>
    • [​IMG] <!--WapAllow8=Yes--><!--pda content="begin"-->ความคิดเห็นที่ 8 [​IMG]

      <!--MsgIDBody=8-->ยุวพุทธ ดู เองนะครับ

      ยุวพุทธ ไม่ต้อง เข้าข้าง ใครนะครับ


      ย้ำ สาระกระทู้นี้

      ผมถามหาหลักฐาน ว่า พระบรมศาสดา ของ เรา ตรัส คำว่า ..จิต ของพระอรหันต์ยังมีอยู่หรือไม่มีจิตอีกต่อไป ..ไว้ หรือไม่

      ถ้าตรัสไว้ ..แสดงหลักฐาน = แสดงความรับผิดชอบ ในฐานะ สาวกของพระบรมศาสดา


      ผมจะ เก็ยกระทู้นี้ ไว้ใช้อ้างอิง

      เมื่อใด ที่ ใคร เสนอว่า ..จิต ของพระอรหันต์ยังมีอยู่หรือไม่มีจิตอีกต่อไป
      ผมจะได้ ถามเช่นนี้ <!--MsgFile=8-->


      จากคุณ : <!--MsgFrom=8-->เซนเถรวาทปฐมสังคายนานิยม (F=9b) [​IMG] - [ <!--MsgTime=8-->8 พ.ค. 51 11:01:43 <!--MsgIP=8-->] <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

     
  12. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    สมถะ จอมโมโห สันโดษไปเอามาจากไหน

    อยู่นี่ ขยันโพสนะ สมถะ พออยู่พันธ์ทิพย์ ไล่คนอื่นเขาไปหาเองซะนี่ 5555
     
  13. สมถะ

    สมถะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,091
    ค่าพลัง:
    +972
    คำถามของคุณขันธ์เป็นเรื่องที่น่าขัน


    การที่คุณพยายามคุยโดยให้เขียนคุยกันนั้น นั่นไม่ใช่การปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม และไม่จำเป็นที่ต้องคุยกัน เพราะเป็นเรื่องของการปฏิบัติเอามาคุยแบบตีความมันไม่จบ เพราะผลของการเข้าถึงมันไม่มี มันไม่เกิด แต่เอาเถิด ผมจะอธิบายตามที่เคยคุยเอาไว้นานมาแล้ว ดังนี้

    "เห็นสิบแล้วเห็นศูนย์ เป็นเค้ามูลสืบกันมา ฯลฯ"
    http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2006/04/Y4319998/Y4319998.html



    <!--MsgIDBody=0-->เรียนคุณสมถะ และเพื่อสหธรรมมิกผู้สนใจวิชาธรรมกายทุกท่านครับ
    ผมขออนุญาติเปิดประเด็นคุยกันเพื่อความรู้
    ไม่ใช่มาเถียงกันนะครับ
    แต่เรามาคุยกันในเรื่องความรู้ของวิชาว่า

    "สิบ" และ "ศูนย์" คืออะไร และสำคัญอย่างไร
    ที่ว่า "เห็นสิบ แล้วเห็นศูนย์" นั้นเป็นอย่างไร

    มาคุยกันเพื่อให้เกิดความรู้นะครับ ไม่ได้มาโอ้อวดกัน
    เป็นความรู้ภาคปฏิบัติครับ <!--MsgFile=0-->
    จากคุณ : <!--MsgFrom=0-->ผ่านเข้ามาพบ [​IMG] - [ <!--MsgTime=0-->27 เม.ย. 49 13:53:54 <!--MsgIP=0-->]


    "เห็นสิบ แล้วเห็นศูนย์"

    ประโยคนี้จะว่าไปแล้วเป็นเคล็ดลับความสำเร็จ คือเป็นเคล็ดลับของภาคปฏิบัติให้ถึงของจริงเชียวนะครับ

    ขออนุญาตใช้ความรู้เท่าที่มีลองอธิบายดูนะครับ

    เมื่อเราพิจารณาประโยคนี้ "เห็นสิบ แล้วเห็นศูนย์" เราต้องทราบก่อนว่า สิบ คืออะไร แล้ว ศูนย์ คืออะไร


    "สิบ" คือฐานที่ 6 อยู่ระดับเดียวกับสะดือของเรา โดยสมมติว่ามีเส้นด้าย 2 เส้น เส้นที่ 1 สมมติว่าแทงจากสะดือทะลุหลัง ให้เส้นด้ายขึงตึง อีกเส้นหสึ่งสมมติว่าแทงจากสีข้างขวาทะลุสีข้างซ้าย ให้เส้นด้ายขึงตึง ตรงจุดตัดของเส้นได้ทั้งสอง หรือที่หลวงพ่อวัดปากน้ำเรียกว่า "กลางกั๊ก" นั่นแหละเรียกว่า "สิบ"


    "ศูนย์" คือฐานที่ 7 หรือศูนย์กลางกาย โดยอยู่เหนือสะดือขึ้นมา 2 นิ้วมือ(ตัวเราเอง) คืออยู่เหนือฐานที่ 6 ขึ้นมาประมาณ 2 นิ้วมือ(ตัวเราเอง) โดยอยู่ในท้องของเรา นี่เรียกว่า "ศูนย์" ครับ


    หลวงพ่อกล่าวไว้ชัดแล้วครับ เห็นสิบแล้วจึงเห็นศูนย์ หมายความว่า เมื่อใจนิ่งได้ถูกส่วน ใจจะเข้า "สิบ" แล้วจึงจะตก "ศูนย์" ทุกครั้งไป แสดงว่า ใจเราเมื่อครั้งเราเริ่มทำใจหยุดใจนิ่งได้ถูกส่วน ใจจะทำงานสองจังหวะ คือเข้าสิบแล้วตกศูนย์เสมอ แต่แรกเมื่อทำได้ เรามักสังเกตไม่ทัน ต่อไปเมื่อฝึกจนคล่องแล้ว อาการอย่างนี้เราจะทราบได้เอง


    โอ้..เรื่องความสำคัญนั้น มหาศาลทีเดียว เพราะนี่เป็นทางมรรคทางผลทีเดียว ถ้าไม่เข้าทางนี้ล่ะก็เป็นไม่เห็นของจริงกันล่ะ ท่านกล่าวว่า "ผิดศูนย์ผิดทางไม่เข้ากลางออกนอก" นี่เรียกว่าเข้าป่าเข้าดงรกชักไปเลย ไม่เห็นเดือนเห็นตะวันกันล่ะ ถ้าไม่เดินให้ถูกศูนย์ก็ไม่ถูกทาง


    เอ.....แต่เท่าที่ทราบนอกจากฐานที่ 6 คือ "สิบ" และฐานที่ 7 เรียกว่า "ศูนย์" หลวงพ่อวัดปากน้ำกล่าวว่า ทางเดินของใจมีทั้งหมด 7 ฐาน ไม่ทราบว่าทั้ง 7 ฐานนี้สำคัญอย่างไร การเดินใจทีละฐานทำขั้นตอนไหนบ้าง และเพื่ออะไร ขอรบกวนท่านผ่านเข้ามาพบ (เจ้าของกระทู้) และท่านผู้รู้และสนใจใคร่รู้ทั้งหลายช่วยอธิบายเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องด้วยครับ <!--MsgFile=1-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=1-->สมถะ
    [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=1-->27 เม.ย. 49 17:16:35 <!--MsgIP=1-->]


    โอ้ ชัดเจนทีเดียวครับคุณสมถะ
    แต่ก่อนที่จะไปเรื่อง 7 ฐาน ต่อไป ผมขออนุญาตแสดงความเห็นเรื่องนี้อีกสักนิดเถอะครับ
    เพื่อความเข้าใจที่สอดคล้องกัน

    สำคัญมากนะครับเรื่อง "สิบ" และ "ศูนย์" นี้
    มีคำกล่าวเอาไว้ครับ หลวงพ่อวัดปากน้ำท่านว่า

    "เห็นสิบแล้วเห็นศูนย์ เป็นเค้ามูลสืบกันมา
    เที่ยงแท้แน่หนักหนา ตั้งอนิจจาเป็นอาจิณ
    จุติแล้วปฏิสนธิ ย่อมเวียนวนอยู่ทั้งสิ้น
    สังขาราไม่ยืนยิน ราคีสิ้นเป็นตัวมา"

    ชัดเจนครับว่า
    เห็นสิบ แล้วจึงเห็นศูนย์
    คือเห็นดวงใสฐานที่ 6 ก่อน แล้วจึงเห็นจะเห็นดวงธรรมที่ศูนย์
    นี่คือหลักเกณฑ์
    เป็นประโยชน์มากสำหรับผู้ฝึกฝนครับ

    คำว่าศูนย์ คือศูนย์กลางกาย
    ศูนย์กลางกายมีที่เดียวนะครับ คือที่ฐานที่ 7
    ดังนั้น ไม่มีคำว่า ศูนย์กลางกายฐานที่ 6 และศูนย์กลางกายฐานที่ 7
    ค้นตำราดูได้ครับ ว่าไม่มีคำว่าศูนย์กลางกายฐานที่ 7 ในสารบบ
    จะค้นข้อมูลมาตั้งแต่สมัยหลวงพ่อบรรลุธรรมใหม่ ๆ ไปจนถึงรุ่น 3 ดวงธรรม รุ่น 5 กาย สุดท้ายมาถึงรุ่น 18 กาย 6 ดวงธรรม ก็ไม่มีกล่าวเอาไว้
    มีแต่ที่หลวงพ่อสอนเอาไว้ว่า "สิบ" และ "ศูนย์" นี้เท่านั้น
    นอกจากนั้น หลวงพ่อยังเรียกว่า เป็น "ดวงเครื่อง" เสียอีกแน่ะ
    ไม่คุ้นหูใช่ไหมครับ
    อันนี้ อย่าว่ากันนะครับ ผมไม่ได้กล่าวปักปรำว่าใครสอนผิดถูกไปจากตำรับตำรา
    แต่ผมเอาเรื่องความรู้ที่ศึกษามา มาชี้แจงให้ทราบ
    อย่าว่ากันเลยนะครับกัลยาณมิตรที่เคารพ

    เอ้า เข้าเรื่องต่อ

    เรื่องความรู้ของคุณสมถะที่แสดงนี้ ถ้ายกประเทศให้ได้ ผมยกให้คุณสมถะหมดเลย
    เพราะอะไร
    เพราะเรื่องการเห็นสิบก่อน แล้วจึงเห็นศูนย์ นี่ มันถูกตำราทีเดียว
    ไม่มีการพูดถึงกันแล้ว สมัยนี้

    จังหวะแรกเราจะเห็นดวงใสที่ "สิบ" ก่อน
    อธิบายให้ชัดอีกหน่อย คือ
    จังหวะนี้ยังเห็นเป็นนิมิตอยู่นะครับ
    จะเป็นอุคคหนิมิต หรือปฏิภาคนิตก็ตามที คือเปลี่ยนสี ย่อ ขยายได้
    แต่พอใจหยุด นิ่ง แน่น หนักเข้าไปอีก ใจก็ตกศูนย์ คือที่ เข้าสู่ฐานที่ 7
    พอตกศูนย์เข้าเท่านั้น ก็จะเห็นดวงปฐมมรรคขึ้น เป็นดวงกลมโตเท่าฟองไข่แดงของไก่ ขาวใสบริสุทธิ์
    ขั้นตอนนี้ ไม่ใช่นิมิตแล้ว
    ดวงปฐมมรรคที่เห็น มีขนาดที่แน่นอน สีขาว และใส ไม่มีแปรเปลี่ยน
    ดวงนี้เรียกดวงธรรมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    เป็นของจริง สัมผัสได้ เที่ยงแท้ และแน่นอน (คนละเรื่องกับอัตตา-อนัตตานะครับ)
    และการเห็นนี้ คือการเห็นรอบตัว
    คือเห็นทั้งซ้าย-ขวา-หน้า-หลัง-ล่าง-บน-นอก-ใน
    เห็นพร้อมกันไปหมด
    นอกจากเห็นแล้ว ยังสัมผัสได้อีกด้วยว่า สภาวะความหยุดนิ่งของใจเมื่ออยู่ที่ ศูนย์นั้นเป็นอย่างไร
    เพราะ "ใจ" คือ เห็น-จำ-คิด-รู้ นั้นไปรวมอยู่ที่ศูนย์ทั้งหมด
    ดังนั้น เราจึงรู้สึกได้ด้วย เมื่อเอาใจไปหยุดอยู่ที่ศูนย์

    ถ้าเราไม่เข้าใจเรื่อง สิบ และศูนย์
    เมื่อเราเห็นดวงนิมิตที่สิบ เราก็อาจเข้าใจคลาดเคลื่อนได้ว่า นั่น เราเห็นธรรมแล้ว
    แล้วเราก็พอใจอยู่อย่างนั้น เราไม่หยุด นิ่ง แน่น ต่อไป
    แปลว่า เราพลาดแล้ว ประโยชน์ไม่เกิดแล้ว
    และที่สำคัญ
    ถ้ายังไม่เข้าศูนย์ มารเขาก็หลอกรู้ลวงญาณได้เรื่อยไป โดยอาศัยนิมิตนั้น
    เราอาจเห็นกายธรรมหรือเห็นนิมิตหมายไปต่าง ๆ นานา
    สุดท้ายใจเราก็ออกนอกศูนย์
    แล้วมัวไปพอใจอยู่แต่นิมิตนั้น มันก็เรียบร้อยโรงเรียนมารเท่านั้นเอง

    ถ้าไม่เห็นสิบ เราก็ไม่มีทางเห็นศูนย์
    เรื่องนี้ จะเป็นเรื่องของการเห็นดวงธรรมนอกตัวครับ
    ต้องถกกันอีกยาว เดี๋ยวจะโพสต์เข้ามาอีกครับ <!--MsgFile=4-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=4-->ผ่านเข้ามาพบ
    [​IMG] - [ <!--MsgTime=4-->27 เม.ย. 49 18:21:20 <!--MsgIP=4-->]

    ฐานทั้งเจ็ดคืออะไร สำหรับวิชชาธรรมกาย

    ฐานที่ ๑: ปากช่องจมูก หญิงซ้าย ชายขวา
    การกำหนดบริกรรมนิมิตเป็นเครื่องหมายดวงแก้วกลมใสนั้น หญิงกำหนดขึ้นที่ปากช่องจมูกซ้าย ชายกำหนดที่ปากช่องจมูกขวา แล้วบริกรรมภาวนาคือท่องในใจเพื่อประคองบริกรรมนิมิตนั้นไว้ว่า “สัมมาอะระหังๆๆ” ๓ ครั้ง พร้อมด้วยตรึกนึกให้เห็นดวงที่ใส ใจอยู่ในกลางดวงที่ใส นี่เป็น ฐานที่หนึ่ง

    ฐานที่ ๒: เพลาตา หญิงซ้าย ชายขวา ตรงหัวตาพอดี
    เมื่อเห็นเครื่องหมายใสสว่างชัดดีพอสมควรแล้ว ก็ค่อยๆ เลื่อนเครื่องหมายนั้นไปหยุดอยู่ที่หัวตาด้านใน หญิงให้เลื่อนไปอยู่ทางหัวตาด้านซ้าย ชายด้านขวา และบริกรรมประคองนิมิตนั้นไว้ว่า “สัมมาอะระหังๆๆ” ๓ ครั้ง นี่เป็น ฐานที่สอง

    ฐานที่ ๓: กลางกั๊กศีรษะ ระดับเดียวกับเพลาตา
    แล้วค่อยๆ เลื่อนเครื่องหมายนั้นช้าๆ ไปหยุดอยู่ที่กึ่งกลางกั๊กศีรษะข้างใน พร้อมด้วยบริกรรมประคองนิมิตนั้นไว้ว่า “สัมมาอะระหังๆๆ” ๓ ครั้ง นี่เป็น ฐานที่สาม

    ฐานที่ ๔: ช่องเพดานปาก
    ทีนี้ จงเหลือบตาไปข้างหลัง เหมือนคนกำลังชักจะตายอย่างนั้น ในขณะที่หลับตาอยู่ ก็ช้อนตาขึ้นข้างบน โดยไม่ต้องแหงนหน้าขึ้นตาม พอตาค้างแน่นอยู่ ความเห็นจะกลับไปข้างหลัง แล้วก็ให้ความเห็นนั้นกลับเข้าข้างใน พร้อมๆ กับค่อยๆ เลื่อนเครื่องหมายนั้นลงไปตรงๆ ช้าๆ ไปหยุดอยู่ที่เพดานปาก พร้อมด้วยบริกรรมประคองนิมิตนั้นไว้ว่า “สัมมาอะระหังๆๆ” ๓ ครั้ง นี่เป็น ฐานที่สี่

    ฐานที่ ๕: ปากช่องลำคอ
    ค่อยๆ เลื่อนเครื่องหมายใสสว่างนั้นลงไปหยุดอยู่ที่ปากช่องลำคอ เหนือลูกกระเดือก ตั้งเครื่องหมายไว้นิ่งอยู่ที่ปากช่องลำคอนั่นแหละ พร้อมด้วยบริกรรมประคองนิมิตนั้นไว้ว่า “สัมมาอะระหังๆๆ” ๓ ครั้ง นี่เป็น ฐานที่ห้า

    ฐานที่ ๖: ศูนย์กลางกาย ระดับสะดือ
    ค่อยๆ เลื่อนเครื่องหมายนั้นลงไปตรงๆ ช้าๆ ตามเส้นทางลมหายใจเข้าออก เหมือนกับเรากลืนดวงแก้วลงไปในท้องยั้งงั้นแหละ ลงไปหยุดนิ่งอยู่ตรงสุดลมหายใจเข้าออก ตรงระดับสะดือพอดี แล้วบริกรรมประคองนิมิตนั้นไว้ว่า “สัมมาอะระหังๆๆ” ๓ ครั้ง นี่เป็น ฐานที่หก

    ฐานที่ ๗: ศูนย์กลางกาย เหนือระดับสะดือ ๒ นิ้วมือ
    แล้วจึงค่อยๆ เลื่อนเครื่องหมายนั้นขยับสูงขึ้นมาตรงๆ มาหยุดอยู่ ณ ศูนย์กลางกาย เหนือระดับสะดือประมาณ ๒ นิ้วมือ นี่เป็น ฐานที่เจ็ด

    นี่เป็นที่ตั้งถาวรของใจ คนเราเวลาจะเกิด จะดับ (ตาย) จะหลับ จะตื่น ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ ใสบริสุทธิ์เท่าฟองไข่แดงของไก่ จะลอยขึ้นมาที่ศูนย์นี้ เพราะฉะนั้น ศูนย์นี้จึงสำคัญนัก จะเข้ามรรคผลนิพพาน ก็ต้องเข้าที่ศูนย์นี้

    ทำใจให้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางนี้ ซ้าย ขวา หน้า หลัง ล่าง บน ไม่ไปทั้งนั้น เข้ากลางของกลางๆ ๆ นิ่งแน่นหนักขึ้น พอถูกส่วนเข้าเท่านั้นแหละ เห็นดวงใสแจ่มบังเกิดขึ้น เท่าฟองไข่แดงของไก่ อย่างเล็กเท่าดวงดาวในอากาศ อย่างโตเห็นเท่าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เลยทีเดียว ดวงธรรมที่เห็นนี้เป็นหนทางเบื้องต้นไปสู่มรรค ผล นิพพาน จึงเรียกว่า ดวงปฐมมรรค และเป็นที่ตั้งของ ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์


    ไม่ว่าจะเกิด หรือ ดับ ก็จะต้องผ่านฐานทั้งเจ็ดนี้นี่แหละครับ

    อย่างเช่นช่วงเวลาที่กายละเอียดของเราจะมาเกิด ก็ต้องเข้าทางปาดช่องจมูกขอพ่อเรานี่แหละ จนมาปฏิสนธิในครรภ์แม่เรานี่แหละ

    ที่ศูนย์กลางกายของแม่ แล้วก็คลอดออกมา <!--MsgFile=3-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=3-->xcvbnm
    [​IMG] - [ <!--MsgTime=3-->27 เม.ย. 49 18:03:32 <!--MsgIP=3-->]


    ครับ เรื่อง 7 ฐานที่ว่ามานั้นก็คือ "ทางเดินของใจ"

    มาดูกันก่อนว่า "ใจ" คืออะไร

    "ใจ" คือ เห็น-จำ-คิด-รู้ (เข้าใจว่าคุณสมถะ และคุณ xcvbnm คงเคยอธิบายเอาไว้แล้วโดยละเอียด)

    แล้วใจตั้งอยู่ที่ไหน
    ตอบว่า ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางกาย คือกลางตัวเหนือระดับสะดือสองนิ้วมือขึ้นมา

    เอาล่ะสิทีนี้
    แล้วในเมื่อใจของเราไปตั้งอยู่ในกลางตัว คือที่ศูนย์กลางกาย เวลาเราจะเข้าไปหาใจ เราจะไปทางไหน
    จะเอาแบบ ทะลุท้องเข้าหาใจของเราเลยหรือ
    หรือเอาแบบทะลุข้างหลังเข้ามา ฯลฯ

    คำตอบคือว่า จะเข้าไปหาใจที่ฐานที่ตั้งของใจได้ ต้องเข้าตามทางเดินของใจ
    มีอยู่ 7 ที่ครับ อย่างที่คุณ xcvbnm ได้กรุณาอธิบายไว้โดยละเอียดแล้ว
    โดยสรุปคือ
    1.ปากช่องจมูก ญ-ซ้าย ช-ขวา
    2.เพลาตา ญ-ซ้าย ช-ขวา
    3.จอมประสาท หรือกลางก๊กศีรษะ
    4.ปากช่องเพดาน
    5.ปากช่องลำคอ
    6.ฐานของศูนย์กลางกาย หรือ สิบ
    7.ศูนย์กลางกาย หรือ ศูนย์

    ความสำคัญของทั้ง 7 ฐาน ซึ่งก็คือทางเดินของใจนั้นมีหลายอย่าง
    เป็นทางของการ เกิด ดับ หลับ ตื่น
    คือจะเกิด จะตาย จะหลับ หรือจะตื่น ใจต้องไปหยุดอยู่ที่ศูนย์นี้ทั้งสิ้น
    และใจก็ต้องเดินไปตามทางเดินทั้ง 6 ฐานเพื่อไปสู่ศูนย์ตามที่กล่าวมาแล้ว

    ประเด็นที่ผมใคร่จะนำมาเรียนเสนอสำหรับผู้ที่กำลังฝึกฝนตนฝนวิชาธรรมกายอยู่ก็คือ
    การเดินใจไปตามทางเดินทั้ง 7 ฐานนี้สำคัญมาก

    หากไม่เดินไปตามนี้ เราก็มีโอกาสพลาดที่จะเข้าไปสู่ "สิบ" และ "ศูนย์"
    เมื่อเข้าสิบไม่ได้ การเข้าศูนย์ก็ไม่มีทางเป็นไปได้

    บางสำนัก ผมเห็นท่านสอนให้เอาใจเข้าไปวางไว้ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 เลย (ท่านสอนให้เรียกอย่างนี้)
    โดยท่านไม่ได้ให้เอาใจเข้าไปตามทางเดินของใจ
    ซึ่งอย่าลืมนะครับว่า ฐานที่ 1 และ 2 นั้น มีความแตกต่างกันของตำแหน่งเมื่อเป็นหญิงและชาย
    กล่าวคือ ชายต้องสอดใจเข้าทางขวา หญิงต้องสอดใจเข้าทางซ้าย
    หากทำในทางตรงกันข้าม คือชายเข้าทางซ้าย หญิงเข้าทางขวา ใจก็ไปต่อไม่ได้ เพราะผิดทางเดินของใจ
    ผลก็คือ ไปฐานที่ 3 ต่อไม่ได้ และแน่นอน ย่อมเข้าศูนย์ไม่ได้
    ดังนั้น เมื่อบางสำนักท่านไม่สอนให้เข้าสู่ทางเดินของใจ อย่างที่หลวงพ่อวัดปากน้ำท่านวางหลักเอาไว้
    ผลก็คือ ผู้เรียนไม่สามารถเอาใจเข้าสู่ศูนย์ได้
    ต่อให้ปฏิบัติไปอีกสักร้อยปีก็เข้าไม่ถึง เพราะผิดที่ผิดทาง ผิดฝาผิดตัว
    หรือถ้าจะมีการเห็น ก็คือการเห็นนอกตัว
    ถ้าอย่างนั้นก็หวานคอมาร
    เขาจะเสกสรรปั้นแต่งให้ท่านเห็นอะไรก็ทำได้สะดวกมือ
    อย่างนี้ ความเสียหายเกิดขึ้นแล้ว
    บางท่านเห็นดวงธรรมผุดขึ้นมาไม่ขาดสาย นับไม่ถ้วน
    เห็นเป็นท่อ เป็นสายเลยทีเดียว
    ความจริง ดวงธรรมมีอยู่ 6 ดวงครับ
    เมื่อจบชุด 6 ดวงแล้ว ท่านต้องเห็นกายใหม่
    คือจะเป็นกายแบบเดิมแต่ละเอียดขึ้นหรือหยาบลงก็สุดแล้วแต่ตามวิธีการเดินวิชาของเรา
    ไม่ใช่เห็นเป็นดวง เป็นท่อ เป็นสาย ไปอย่างนั้น
    ผิดหลักนะครับอย่างนั้น
    คิดให้ดีเถอะครับ เป็นเพราะการเห็นธรรมนอกตัวหรือเปล่า น่าคิดนะครับ

    ดังนั้น การที่คุณสมถะได้กรุณาเน้นยำให้เห็นถึงเรื่องความสำคัญของทางเดินของใจ 7 ฐานนี้ นับว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งครับ
    เป็นกุศลจริงๆ ครับ

    ขออนุโมทนาสาธุการจริง ๆ ครับ <!--MsgFile=6-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=6-->ผ่านเข้ามาพบ
    [​IMG] - [ <!--MsgTime=6-->27 เม.ย. 49 18:50:03 <!--MsgIP=6-->]


    <!--pda content="end"--><!--pda content="end"--><!--pda content="end"--><!--pda content="end"--><!--pda content="end"-->
     
  14. สมถะ

    สมถะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,091
    ค่าพลัง:
    +972
    คำถามของคุณขันธ์เป็นเรื่องที่น่าขัน


    การที่คุณพยายามคุยโดยให้เขียนคุยกันนั้น นั่นไม่ใช่การปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม และไม่จำเป็นที่ต้องคุยกัน เพราะเป็นเรื่องของการปฏิบัติเอามาคุยแบบตีความมันไม่จบ เพราะผลของการเข้าถึงมันไม่มี มันไม่เกิด แต่เอาเถิด ผมจะอธิบายตามที่เคยคุยเอาไว้นานมาแล้ว ดังนี้

    "เห็นสิบแล้วเห็นศูนย์ เป็นเค้ามูลสืบกันมา ฯลฯ"
    http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2006/04/Y4319998/Y4319998.html



    <!--MsgIDBody=0-->เรียนคุณสมถะ และเพื่อสหธรรมมิกผู้สนใจวิชาธรรมกายทุกท่านครับ
    ผมขออนุญาติเปิดประเด็นคุยกันเพื่อความรู้
    ไม่ใช่มาเถียงกันนะครับ
    แต่เรามาคุยกันในเรื่องความรู้ของวิชาว่า

    "สิบ" และ "ศูนย์" คืออะไร และสำคัญอย่างไร
    ที่ว่า "เห็นสิบ แล้วเห็นศูนย์" นั้นเป็นอย่างไร

    มาคุยกันเพื่อให้เกิดความรู้นะครับ ไม่ได้มาโอ้อวดกัน
    เป็นความรู้ภาคปฏิบัติครับ <!--MsgFile=0-->
    จากคุณ : <!--MsgFrom=0-->ผ่านเข้ามาพบ [​IMG] - [ <!--MsgTime=0-->27 เม.ย. 49 13:53:54 <!--MsgIP=0-->]


    "เห็นสิบ แล้วเห็นศูนย์"

    ประโยคนี้จะว่าไปแล้วเป็นเคล็ดลับความสำเร็จ คือเป็นเคล็ดลับของภาคปฏิบัติให้ถึงของจริงเชียวนะครับ

    ขออนุญาตใช้ความรู้เท่าที่มีลองอธิบายดูนะครับ

    เมื่อเราพิจารณาประโยคนี้ "เห็นสิบ แล้วเห็นศูนย์" เราต้องทราบก่อนว่า สิบ คืออะไร แล้ว ศูนย์ คืออะไร


    "สิบ" คือฐานที่ 6 อยู่ระดับเดียวกับสะดือของเรา โดยสมมติว่ามีเส้นด้าย 2 เส้น เส้นที่ 1 สมมติว่าแทงจากสะดือทะลุหลัง ให้เส้นด้ายขึงตึง อีกเส้นหสึ่งสมมติว่าแทงจากสีข้างขวาทะลุสีข้างซ้าย ให้เส้นด้ายขึงตึง ตรงจุดตัดของเส้นได้ทั้งสอง หรือที่หลวงพ่อวัดปากน้ำเรียกว่า "กลางกั๊ก" นั่นแหละเรียกว่า "สิบ"


    "ศูนย์" คือฐานที่ 7 หรือศูนย์กลางกาย โดยอยู่เหนือสะดือขึ้นมา 2 นิ้วมือ(ตัวเราเอง) คืออยู่เหนือฐานที่ 6 ขึ้นมาประมาณ 2 นิ้วมือ(ตัวเราเอง) โดยอยู่ในท้องของเรา นี่เรียกว่า "ศูนย์" ครับ


    หลวงพ่อกล่าวไว้ชัดแล้วครับ เห็นสิบแล้วจึงเห็นศูนย์ หมายความว่า เมื่อใจนิ่งได้ถูกส่วน ใจจะเข้า "สิบ" แล้วจึงจะตก "ศูนย์" ทุกครั้งไป แสดงว่า ใจเราเมื่อครั้งเราเริ่มทำใจหยุดใจนิ่งได้ถูกส่วน ใจจะทำงานสองจังหวะ คือเข้าสิบแล้วตกศูนย์เสมอ แต่แรกเมื่อทำได้ เรามักสังเกตไม่ทัน ต่อไปเมื่อฝึกจนคล่องแล้ว อาการอย่างนี้เราจะทราบได้เอง


    โอ้..เรื่องความสำคัญนั้น มหาศาลทีเดียว เพราะนี่เป็นทางมรรคทางผลทีเดียว ถ้าไม่เข้าทางนี้ล่ะก็เป็นไม่เห็นของจริงกันล่ะ ท่านกล่าวว่า "ผิดศูนย์ผิดทางไม่เข้ากลางออกนอก" นี่เรียกว่าเข้าป่าเข้าดงรกชักไปเลย ไม่เห็นเดือนเห็นตะวันกันล่ะ ถ้าไม่เดินให้ถูกศูนย์ก็ไม่ถูกทาง


    เอ.....แต่เท่าที่ทราบนอกจากฐานที่ 6 คือ "สิบ" และฐานที่ 7 เรียกว่า "ศูนย์" หลวงพ่อวัดปากน้ำกล่าวว่า ทางเดินของใจมีทั้งหมด 7 ฐาน ไม่ทราบว่าทั้ง 7 ฐานนี้สำคัญอย่างไร การเดินใจทีละฐานทำขั้นตอนไหนบ้าง และเพื่ออะไร ขอรบกวนท่านผ่านเข้ามาพบ (เจ้าของกระทู้) และท่านผู้รู้และสนใจใคร่รู้ทั้งหลายช่วยอธิบายเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องด้วยครับ <!--MsgFile=1-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=1-->สมถะ
    [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=1-->27 เม.ย. 49 17:16:35 <!--MsgIP=1-->]


    โอ้ ชัดเจนทีเดียวครับคุณสมถะ
    แต่ก่อนที่จะไปเรื่อง 7 ฐาน ต่อไป ผมขออนุญาตแสดงความเห็นเรื่องนี้อีกสักนิดเถอะครับ
    เพื่อความเข้าใจที่สอดคล้องกัน

    สำคัญมากนะครับเรื่อง "สิบ" และ "ศูนย์" นี้
    มีคำกล่าวเอาไว้ครับ หลวงพ่อวัดปากน้ำท่านว่า

    "เห็นสิบแล้วเห็นศูนย์ เป็นเค้ามูลสืบกันมา
    เที่ยงแท้แน่หนักหนา ตั้งอนิจจาเป็นอาจิณ
    จุติแล้วปฏิสนธิ ย่อมเวียนวนอยู่ทั้งสิ้น
    สังขาราไม่ยืนยิน ราคีสิ้นเป็นตัวมา"

    ชัดเจนครับว่า
    เห็นสิบ แล้วจึงเห็นศูนย์
    คือเห็นดวงใสฐานที่ 6 ก่อน แล้วจึงเห็นจะเห็นดวงธรรมที่ศูนย์
    นี่คือหลักเกณฑ์
    เป็นประโยชน์มากสำหรับผู้ฝึกฝนครับ

    คำว่าศูนย์ คือศูนย์กลางกาย
    ศูนย์กลางกายมีที่เดียวนะครับ คือที่ฐานที่ 7
    ดังนั้น ไม่มีคำว่า ศูนย์กลางกายฐานที่ 6 และศูนย์กลางกายฐานที่ 7
    ค้นตำราดูได้ครับ ว่าไม่มีคำว่าศูนย์กลางกายฐานที่ 7 ในสารบบ
    จะค้นข้อมูลมาตั้งแต่สมัยหลวงพ่อบรรลุธรรมใหม่ ๆ ไปจนถึงรุ่น 3 ดวงธรรม รุ่น 5 กาย สุดท้ายมาถึงรุ่น 18 กาย 6 ดวงธรรม ก็ไม่มีกล่าวเอาไว้
    มีแต่ที่หลวงพ่อสอนเอาไว้ว่า "สิบ" และ "ศูนย์" นี้เท่านั้น
    นอกจากนั้น หลวงพ่อยังเรียกว่า เป็น "ดวงเครื่อง" เสียอีกแน่ะ
    ไม่คุ้นหูใช่ไหมครับ
    อันนี้ อย่าว่ากันนะครับ ผมไม่ได้กล่าวปักปรำว่าใครสอนผิดถูกไปจากตำรับตำรา
    แต่ผมเอาเรื่องความรู้ที่ศึกษามา มาชี้แจงให้ทราบ
    อย่าว่ากันเลยนะครับกัลยาณมิตรที่เคารพ

    เอ้า เข้าเรื่องต่อ

    เรื่องความรู้ของคุณสมถะที่แสดงนี้ ถ้ายกประเทศให้ได้ ผมยกให้คุณสมถะหมดเลย
    เพราะอะไร
    เพราะเรื่องการเห็นสิบก่อน แล้วจึงเห็นศูนย์ นี่ มันถูกตำราทีเดียว
    ไม่มีการพูดถึงกันแล้ว สมัยนี้

    จังหวะแรกเราจะเห็นดวงใสที่ "สิบ" ก่อน
    อธิบายให้ชัดอีกหน่อย คือ
    จังหวะนี้ยังเห็นเป็นนิมิตอยู่นะครับ
    จะเป็นอุคคหนิมิต หรือปฏิภาคนิตก็ตามที คือเปลี่ยนสี ย่อ ขยายได้
    แต่พอใจหยุด นิ่ง แน่น หนักเข้าไปอีก ใจก็ตกศูนย์ คือที่ เข้าสู่ฐานที่ 7
    พอตกศูนย์เข้าเท่านั้น ก็จะเห็นดวงปฐมมรรคขึ้น เป็นดวงกลมโตเท่าฟองไข่แดงของไก่ ขาวใสบริสุทธิ์
    ขั้นตอนนี้ ไม่ใช่นิมิตแล้ว
    ดวงปฐมมรรคที่เห็น มีขนาดที่แน่นอน สีขาว และใส ไม่มีแปรเปลี่ยน
    ดวงนี้เรียกดวงธรรมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    เป็นของจริง สัมผัสได้ เที่ยงแท้ และแน่นอน (คนละเรื่องกับอัตตา-อนัตตานะครับ)
    และการเห็นนี้ คือการเห็นรอบตัว
    คือเห็นทั้งซ้าย-ขวา-หน้า-หลัง-ล่าง-บน-นอก-ใน
    เห็นพร้อมกันไปหมด
    นอกจากเห็นแล้ว ยังสัมผัสได้อีกด้วยว่า สภาวะความหยุดนิ่งของใจเมื่ออยู่ที่ ศูนย์นั้นเป็นอย่างไร
    เพราะ "ใจ" คือ เห็น-จำ-คิด-รู้ นั้นไปรวมอยู่ที่ศูนย์ทั้งหมด
    ดังนั้น เราจึงรู้สึกได้ด้วย เมื่อเอาใจไปหยุดอยู่ที่ศูนย์

    ถ้าเราไม่เข้าใจเรื่อง สิบ และศูนย์
    เมื่อเราเห็นดวงนิมิตที่สิบ เราก็อาจเข้าใจคลาดเคลื่อนได้ว่า นั่น เราเห็นธรรมแล้ว
    แล้วเราก็พอใจอยู่อย่างนั้น เราไม่หยุด นิ่ง แน่น ต่อไป
    แปลว่า เราพลาดแล้ว ประโยชน์ไม่เกิดแล้ว
    และที่สำคัญ
    ถ้ายังไม่เข้าศูนย์ มารเขาก็หลอกรู้ลวงญาณได้เรื่อยไป โดยอาศัยนิมิตนั้น
    เราอาจเห็นกายธรรมหรือเห็นนิมิตหมายไปต่าง ๆ นานา
    สุดท้ายใจเราก็ออกนอกศูนย์
    แล้วมัวไปพอใจอยู่แต่นิมิตนั้น มันก็เรียบร้อยโรงเรียนมารเท่านั้นเอง

    ถ้าไม่เห็นสิบ เราก็ไม่มีทางเห็นศูนย์
    เรื่องนี้ จะเป็นเรื่องของการเห็นดวงธรรมนอกตัวครับ
    ต้องถกกันอีกยาว เดี๋ยวจะโพสต์เข้ามาอีกครับ <!--MsgFile=4-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=4-->ผ่านเข้ามาพบ
    [​IMG] - [ <!--MsgTime=4-->27 เม.ย. 49 18:21:20 <!--MsgIP=4-->]

    ฐานทั้งเจ็ดคืออะไร สำหรับวิชชาธรรมกาย

    ฐานที่ ๑: ปากช่องจมูก หญิงซ้าย ชายขวา
    การกำหนดบริกรรมนิมิตเป็นเครื่องหมายดวงแก้วกลมใสนั้น หญิงกำหนดขึ้นที่ปากช่องจมูกซ้าย ชายกำหนดที่ปากช่องจมูกขวา แล้วบริกรรมภาวนาคือท่องในใจเพื่อประคองบริกรรมนิมิตนั้นไว้ว่า
     
  15. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    <TABLE class=tborder id=post1344078 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 04:56 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #582 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>สมถะ<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1344078", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งล่าสุด: วันนี้ 05:07 PM
    วันที่สมัคร: Jan 2006
    ข้อความ: 480
    Groans: 2
    Groaned at 7 Times in 7 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 0
    ได้รับอนุโมทนา 1,219 ครั้ง ใน 265 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 131 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1344078 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->พิจารณาดูให้ดีครับ ข้อมูลที่ผมนำมาเสนอนั้นคุณไปดูในกูลเกิ้ลดีๆ ผมเองนำมาจากไหน ก็ผมเองเป็นคนทำข้อมูลนำเสนอไว้นานแล้ว คุณขันธ์คงไม่รู้จักผม ผมเองเป็นผู้โพสต์เรื่องวิชชาธรรมกายน่าจะเรียกว่ามากที่สุดคนนึงในโลกไซเบอร์แห่งนี้


    อย่านึกว่าผมไปก๊อปมา ผมเองนั่นแหละที่เป็นคนเสนอข้อมูลเหล่านั้นมานานแล้วจนมีอยู่ในคลังกระทู้เก่าของพันธุ์ทิพย์มากกว่า 300 กระทู้


    คุณขันธ์อย่าทำตัวน่าขันเลยครับ ผมมีข้อมูลที่คุยกับคุณได้ไม่รู้จบก็แล้วกัน


    เชิญท่านผู้สนมจเข้าไปอ่านกระทู้ของผมได้ที่นี่ครับ

    http://www.google.com/search?ie=tis-...om%2Freligious



    http://www.google.com/search?hl=en&i...&start=10&sa=N
    <!-- / message --></TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1344078")</SCRIPT> [​IMG] </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right><!-- controls -->[​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] <!-- / controls --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=tcat>สมาชิก 1 คน ได้กล่าว "อนุโมทนา" กับคุณ สมถะ ในข้อความที่เขียนด้านบน </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 6 คน ( เป็นสมาชิก 6 คน และ บุคคลทั่วไป 0 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>วิมุตติ, สมถะ, สันโดษ, upanya, ขันธ์ </TD></TR></TBODY></TABLE>สวัสดี สันโดษที่รัก ฝากด้วยนะ
    บะบาย...
     
  17. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ที่สมถะ ยกมานั้น ไม่ได้สรุป เพราะว่า ผมถามว่า จะให้ผมเห็นอย่างไรกับดวงแก้ว
    ซึ่งคำตอบก็ง่ายๆ คือ เห็นด้วยนิมิต ทีนี้ ตัวนิมิตนี้แหละ เป็นิมิตเบื้องต้น อันนำไปสู่ นิมิตธรรมกายทั้งปวง

    ให้เข้าใจด้วย
     
  18. สมถะ

    สมถะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,091
    ค่าพลัง:
    +972
    จะต่อวิชาอย่างไรครับ เมื่อเห็นดวงปฐมมรรคแล้ว
    http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2006/04/Y4320637/Y4320637.html


    เรียนคุณสมถะ และเพื่อนสหธรรมิกผู้สนใจใฝ่เรียนรู้และกำลังฝึกฝนวิชาธรรมกายอยู่ครับ
    คืออย่างนี้ครับ มีน้องคนหนึ่ง เขาได้เห็นดวงปฐมมรรคขึ้นที่ศูนย์แล้ว
    ปัญหามีอยู่ว่า จะต่อวิชาอะไร และอย่างไรให้เขา
    ขอทราบหลักสูตรเบื้องต้น ระดับกลาง และระดับสูงเป็นนโยบายด้วยครับ
    ถ้าจะกรุณาลงรายละเอียดในหลักสูตรเบื้องต้นอย่างเป็นลำดับขั้นตอน จะเป็นพระคุณมาก

    ผมคิดว่า
    หากจะให้เขาคงเห็นดวงธรรมอยู่อย่างนั้น
    แล้วปล่อยให้เขาค่อย ๆ เห็นไปทีละกายจากกายโลกีย์ไปจนถึงกายธรรมนั้นน่าจะเป็นปัญหาอย่างยิ่ง

    เพราะผมเคยพบกับบางท่านที่มีประสบการณ์ทำนองนี้
    (ท่านเป็นคุณป้าอายุกว่า 70 แล้ว มีตัวตนอยู่จริง พำนักอยู่ที่สหรัฐอเมริกา)
    ท่านกรุณาให้ความรู้กับผมว่า
    คุณ...ฉันเห็นกายรูปพรหมมากว่าสิบปีแล้ว ไปต่อไม่ได้เลย ฉันจะทำอย่างไรดี พยายามแล้วก็ไปไม่ได้ไกลกว่านี้
    มีอีกครับ
    บางท่าน เป็นคนอายุน้อยรุ่นหนุ่มสาว
    ท่านแจ้งว่า
    พี่...ผมเห็นดวงธรรม เข้าไปจนถึงกายฝันแล้ว พยายามประคองไว้เข้าตำราที่ว่า ลุ้น เร่ง เพ่งจ๋าขอลาก่อน
    รอให้ไปเองแต่ละกาย ๆ
    ต่อมา ทั้งดวงทั้งกายหายหมดเลย จนป่านนี้ ผมยังทำอีกไม่ได้
    ถามพระท่านแล้ว ท่านก็ว่า ให้ทำใจเฉยๆ สบาย ๆ เดี๋ยวก็ได้เอง
    นี่ล่วงเลยมาเป็นปีแล้ว ทำอย่างไรดีครับ
    ถ้าทำได้อีก แล้วผมยังรักษาไม่ได้ เกิดหายไปอีก มันจะแย่กว่าเดิมอีกหรือเปล่าครับ

    ทั้งหมดนี้ ผมมีความเห็นว่า ท่านเหล่านี้ล้วนประสพกับปัญหาเรื่องความไม่ชัดเจนในการเรียนวิชาเบื้องต้น
    ดังนั้น จึงขอรบกวนท่านผู้รู้
    ช่วยชี้แจงหลักสูตรเบื้องต้นที่ชัดเจนสำหรับผู้เรียนผู้ฝึกด้วยครับ

    ขอขอบพระคุณล่วงหน้าและขออนุโมทนาในกุศลจิตที่จะได้พยายามชี้แจงเพื่อประโยชน์ของผู้เรียนครับ <!--MsgFile=0-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=0-->ผ่านเข้ามาพบ [​IMG]
    - [ <!--MsgTime=0-->27 เม.ย. 49 17:00:10 <!--MsgIP=0-->]


    เป็นคำถามที่ยากจะหาคนตอบได้จริงๆ ครับ เมื่อเราเป็นครูอาจารย์เขา ศิษย์ของเรามีความเพียรชอบ จนใจหยุด ใจนิ่ง เห็นดวงปฐมมรรคในท้องของตน เราผู้เป็นครูอาจารย์จะต่อวิชชาให้เขาอย่างไร เรื่องนี้สำคัญยิ่งครับ เพราะถ้าเราช่วยเขาจากดวงปฐมมรรคให้เห็นพระธรรมกายได้ ถือว่าเขาโชคดีมหาศาล แล้วเราจะหาอาจารย์ที่ว่านี้ได้ที่ไหน...


    จะต่อวิชาอย่างไรเมื่อท่านผู้ฝึกกับเราเห็น "ดวงปฐมมรรค" แล้ว ดวงปฐมมรรค นั้นคืออะไร


    ดวงปฐมมรรค หรือเรียกว่าดวงธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เรียกย่อๆ ว่าดวงธรรมก็ได้ ดวงใสก็ได้ หมายเอาเมื่อเราฝึกใจได้ระดับหนึ่งโดยการกำหนดนิมิตเป็นดวงแก้วขาวใสในท้องตรงฐานที่ 7 เมื่อใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนเข้า ดวงนิมิตนั้นเปลี่ยนเป็น "ดวงปฐมมรรค" ตรงจุดเปลี่ยนนี้เรามักสังเกตไม่ทัน เมื่อใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนเข้าดวงนิมิตเปลี่ยนเป็นดวงปฐมมรรคทันที ปรากฏมีรัศมีสว่างโชติขึ้นมา ลืมตาก็เห็นหลับตาก็เห็น ยังความปราบปลื้มใจมาสู่ผู้ฝึก แต่เมื่อถึงตรงจุดนี้แล้วจะไปต่ออย่างไร ผู้ฝึกเองก็ไม่ทราบ จึงควรไปขอต่อวิชชาจากครูอาจารย์


    ครูอาจารย์ที่ฉลาดต้องรู้จักกำหนดหลักสูตรให้ผู้เรียนได้เรียนเป็นขั้นเป็นตอน กำหนดหลักสูตรให้ชัดเจนว่า ผู้ฝึกกับเราเขาจะต้องเรียนรู้อะไรบ้าง ฝึกอย่างไร เรียนอย่างไร ทำได้จุดนี้แล้วไปจุดไหนต่อ เมื่อผู้ฝึกเห็นดวงปฐมมรรคในท้องตรงฐานที่ 7 ได้แล้ว ควรต่อวิชชาอย่างไร จะต่อวิชชาให้เขาเห็น 18 กายเลยดีไหม แต่เวลาเรามีน้อยจะทำอย่างไร และผู้ฝึกก็ยังใหม่อยู่


    การต่อวิชา 18 กายให้ผู้ฝึกใหม่นั้นดูว่าจะยากไป ควรต่อให้เห็นพระธรรมกายเบื้องต้นก่อน เพราะกายธรรมรักษาได้ง่ายกว่ากายโลกีย์ เมื่อผู้ฝึกเห็นกายธรรมชัดเจนดีแล้ว เราค่อยเลื่อนชั้นในหลักสูตรต่อไป จนถึงวิชา 18 กาย การฝึกให้เห็นพระธรรมกายเบื้องต้นนั้น คือหลักสูตร 4 กายธรรม ได้แก่ กายธรรมพระโสดา กายธรรมพระสกิทาคามี กายธรรมพระอนาคามี กายธรรมพระอรหัตต์ วิธีการฝึกต่อวิชา จากดวงปฐมมรรคให้เห็น 4 กายธรรมเบื้องต้น มีดังนี้


    ขณะนี้ผู้ฝึกเห็นดวงปฐมมรรคในท้อง(ฐานที่ 7) ส่งในนิ่งไปกลางดวงปฐมมรรค ท่องใจ หยุดในหยุด ๆ ๆ ดวงใส(ดวงปฐมมรรค)จะใสขึ้น ชัดขึ้น สว่างขึ้น


    ลำดับต่อไป ให้สมมติใจคือความรู้สึกทั้งหมดของเราเป็นปลายเข็มเย็บผ้า เข็มเย็บผ้าคือใจของเรา ส่งเข็มใจสัมผัสนิ่งไปกลางดวงใส ท่องใจ หยุดในหยุด ๆ ๆ นึกให้เห็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็มกลางดวงใส(ดวงปฐมมรรค) เห็นแล้ว. . . ส่งใจนิ่งไปกลางจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ท่องใจ หยุดในหยุด นึกให้จุดเล็กใสเท่าปลายเข็มว่างออกไป เกิดกายธรรม เป็นพระพุทธรูปขาวใส เกตุดอกบัวตูม หน้าตักกว้าง 5 วา สูง 5 วา นั่งขัดสมาธิอยู่ในกลางว่างใส หันหน้าทางเดียวกับเรา เป็นสัดส่วนของกายธรรมพระโสดา




    *** เมื่อเห็นกายธรรมพระโสดาแล้ว ท่องใจ หยุดในหยุดๆ ๆ กายธรรมพระโสดาจะใสขึ้น ชัดขึ้น สว่างขึ้น ลำดับต่อไป


    ส่งใจของเรามองปากช่องจมูกของกายธรรมพระโสดา (หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา) ท่องใจ หยุดในหยุด


    เลื่อนใจมองเพลาตาของกายธรรมพระโสดา (หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา)ท่องใจ หยุดในหยุด


    มองเข้าไปที่จอมประสาทในกลางกะโหลกศีรษะกายธรรมพระโสดา ท่องใจ หยุดในหยุด


    มองผ่านปากช่องลำคอลัดฐานลงไปในท้องกายธรรมพระโสดา ท่องใจ หยุดในหยุด เห็นดวงธรรม


    ส่งใจนิ่งไปกลางดวงธรรมท่องใจ หยุดในหยุด เห็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม


    ส่งใจนิ่งไปกลางจุดเล็กในเท่าปลายเข็ม ท่องใจ หยุดในหยุด นึกให้จุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ว่างออกไป เกิด กายธรรม เป็นพระพุทธรูปขาวใส เกตุดอกบัวตูม หน้าตักกว้าง 10 วา สูง 10 วา นั่งขัดสมาธิอยู่ในกลางว่างใส หันหน้าทางเดียวกับเรา เป็นสัดส่วนของกายธรรมพระสกิทาคามี




    *** ท่องใจ หยุดในหยุดๆ ๆ ต่อไป นึกเลื่อนใจมองปากช่องจมูกของกายธรรมพระสกิทาคามี (หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา) ท่องใจ หยุดในหยุด


    เลื่อนใจมองเพลาตาของกายธรรมพระสกิทาคามี (หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา)ท่องใจ หยุดในหยุด


    มองเข้าไปที่จอมประสาทในกลางกะโหลกศีรษะกายธรรมพระสกิทาคามี ท่องใจ หยุดในหยุด


    มองผ่านปากช่องลำคอลัดฐานลงไปในท้องกายธรรมพระสกิทาคามี ท่องใจ หยุดในหยุด เห็นดวงธรรม


    ส่งใจนิ่งไปกลางดวงธรรมท่องใจ หยุดในหยุด เห็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม


    ส่งใจนิ่งไปกลางจุดเล็กในเท่าปลายเข็ม ท่องใจ หยุดในหยุด นึกให้จุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ว่างออกไป เกิด กายธรรม เป็นพระพุทธรูปขาวใส เกตุดอกบัวตูม หน้าตักกว้าง 15 วา สูง 15 วา นั่งขัดสมาธิอยู่ในกลางว่างใส หันหน้าทางเดียวกับเรา เป็นสัดส่วนของกายธรรมพระอนาคามี




    *** ท่องใจ หยุดในหยุดๆ ๆ ต่อไป นึกเลื่อนใจมองปากช่องจมูกของกายธรรมพระอนาคามี (หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา) ท่องใจ หยุดในหยุด


    เลื่อนใจมองเพลาตาของกายธรรมพระอนาคามี (หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา)ท่องใจ หยุดในหยุด


    มองเข้าไปที่จอมประสาทในกลางกะโหลกศีรษะกายธรรมพระอนาคามี ท่องใจ หยุดในหยุด


    มองผ่านปากช่องลำคอลัดฐานลงไปในท้องกายธรรมพระอนาคามี ท่องใจ หยุดในหยุด เห็นดวงธรรม


    ส่งใจนิ่งไปกลางดวงธรรมท่องใจ หยุดในหยุด เห็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม


    ส่งใจนิ่งไปกลางจุดเล็กในเท่าปลายเข็ม ท่องใจ หยุดในหยุด นึกให้จุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ว่างออกไป เกิด กายธรรม เป็นพระพุทธรูปขาวใส เกตุดอกบัวตูม หน้าตักกว้าง 20 วา สูง 20 วา นั่งขัดสมาธิอยู่ในกลางว่างใส หันหน้าทางเดียวกับเรา เป็นสัดส่วนของกายธรรมพระอรหัตต์




    *** ท่องใจ หยุดในหยุดๆ ๆ ต่อไป นึกเลื่อนใจมองปากช่องจมูกของกายธรรมพระอรหัตต์ (หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา) ท่องใจ หยุดในหยุด


    เลื่อนใจมองเพลาตาของกายธรรมพระอรหัตต์ (หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา)ท่องใจ หยุดในหยุด


    มองเข้าไปที่จอมประสาทในกลางกะโหลกศีรษะกายธรรมพระอรหัตต์ ท่องใจ หยุดในหยุด มองผ่านปากช่องลำคอลัดฐานลงไปในท้องกายธรรมพระอรหัตต์ ท่องใจ หยุดในหยุด เห็นดวงธรรม


    ส่งใจนิ่งไปกลางดวงธรรมท่องใจ หยุดในหยุด เห็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ส่งใจนิ่งไปกลางจุดเล็กในเท่าปลายเข็ม ท่องใจ หยุดในหยุด ๆ ๆ ๆ ๆ เรื่อยไป กายธรรมพระอรหัตต์ก็จะใสแจ่มอยู่ในท้องของเรา พึงนึกให้เห็นกายธรรมพระอรหัตต์และดวงธรรมของกายธรรมพระอรหัตต์ใสแจ่มอยู่ในท้องของเรา ทุก อิริยาบถ ไม่ว่าเราจะยืน เดิน นั่ง นอน ลืมตาหรือหลับตาเชียวนะ.......


    จบการต่อวิชาจากดวงปฐมมรรคให้เห็นพระธรรมกายหรือหลักสูตร 4 กายธรรมเบื้องต้น




    **** เราใช้เวลาไม่นานเลยผู้ฝึกที่เห็นดวงปฐมมรรคก็จะเลื่อนชั้นขึ้นไป เห็นพระธรรมกายเบื้องต้น หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรเพื่อต้องการให้ผู้ฝึกสามารถรักษาสภาพใจที่หยุดนิ่งอยู่กับกายธรรมเนืองๆ เพราะการเห็นกายธรรมจะเห็นได้ชัดเจนกว่า รักษาให้อยู่กับเราได้ตลอดดีกว่าฝึกเข้า 18 กาย โดยให้ไปเห็นกายโลกีย์คือ กายมนุษย์ กายทิพย์ กายพรหม กายอรูปพรหม (ทั้งหยาบและละเอียด)ก่อน กายธรรมใสสว่างกว่ากายโลกีย์ รักษาได้ง่ายกว่ากายโลกีย์


    เมื่อฝึกได้ถึงขั้นนี้แล้ว ควรระลึกนึกถึงพระธรรมกายในท้องเนืองๆ ทุกอิริยาบถ และฝึกเดินวิชชา 4 กายธรรมนี้เป็นอนุโลมปฏิโลม คืออนุโลมหมายถึง เดินหน้า จากกายธรรมพระโสดา กายธรรมพระสกิทาคามี กายธรรมพระอนาคามี กายธรรมพระอรหัตต์ ปฏิโลมคือเดินถอยหลัง จาก กายธรรมพระอรหัตต์ ถอยกลับมาที่กายธรรมพระอนาคามี กายธรรมพระสกิทาคามี กายธรรมพระโสดา ฝึกเดินอนุโลมปฏิโลมให้กายธรรมต่างๆ ใสแจ่มตลอดไป เพื่อเตรียมพร้อมสู่การฝึกหลักสูตรต่อไป


    การที่เรามีปัญหาเดินวิชา 18 กายไม่ได้ตลอดจนครบ 18 กายก็เพราะเราใจเร็วด่วนได้เกินไป ไม่ฝึกใจไปทีละขั้นตอนจนชำนาญเสียก่อนนั่นเอง


    เมื่อสังเกตให้ดีจะเห็นว่าการเดินใจตามฐานต่างๆ ทุกครั้งที่จะเข้าหากายใหม่ เป็นเรื่องสำคัญยิ่ง เพราะไม่ทำอย่างนี้ ใจจะไม่เข้ากลาง เมื่อไม่เข้ากลางก็ไม่เห็นดวงใส(ดวงธรรม)ในท้องของกายนั้นๆ เมื่อไม่เห็นดวงธรรมก็ไปต่อไม่ได้


    มีคำถาม ขอถามเจ้าของกระทู้ และทุกคนช่วยอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมด้วยครับ จุดเล็กใสเท่าปลายเข็มกลางดวงธรรม(ดวงปฐมมรรค) นั้นคืออะไร สำคัญอย่างไร เคยได้ยินอาจารย์บ้างท่านบอกให้ผู้ที่เห็นดวงปฐมมรรคหรือเห็นพระธรรมกาย เอาใจแตะนิ่งๆ เบาๆ สบายๆ ให้องค์พระผุดขึ้นมาเรื่อยๆ ผุดขึ้นมาเป็นสาย ให้ดวงธรรมผุดขึ้นมาเรื่อยๆ ผุดขึ้นเป็นสาย ทำใจเบาๆ สบายๆ ไม่ทราบว่าทำอย่างนั้นได้อะไร ถูกหลักเกณฑ์หรือไม่ อย่างไร

    จากคุณ : <!--MsgFrom=6-->สมถะ
    [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=6-->28 เม.ย. 49 19:38:42 <!--MsgIP=6-->]



    ขอบพระคุณคุณสมถะมากครับ
    ที่ได้กรุณาตอบคำถามมาโดยละเอียด

    ผมขออนุญาตสรุปความนิดนึงนะครับ
    "ปัญหา" ที่ผมได้เรียนแจ้งในกระทู้ก็คือ
    ปัญหาการเรียนขั้นพื้นฐาน
    ที่ทำให้ผู้เรียนที่เริ่มเห็นดวงปฐมมรรคไม่สามารถเดินต่อไปเพื่อให้ครบ 18 กายได้
    ส่วนใหญ่ติดอยู่ที่กายโลกีย์ คือตั้งแต่กายมนุษย์นี้เป็นต้นไป แล้วไปต่อไม่ได้
    พอรักษาไว้ไม่ได้ก็หายไป

    คุณสมถะกำลังให้ความรู้ในทางปฎิบัติว่า
    จากการที่ได้เห็นดวงปฐมมรรคแล้ว
    ให้ต่อวิชาเข้าสู่กายธรรมพระโสดาทันที
    จากนั้นก็ต่อวิชาให้เข้าสู่กายธรรมพระสกิทาคามี พระอนาคามี และกายธรรมอรหัตต์โดยลำดับ

    หมายความว่า ให้เดินวิชาเข้าสู่กายธรรมเลย โดยยังไม่เดินวิชากับกายโลกีย์ คือตั้งแต่กายฝันไปจนถึงกายอรูปพรหมหยาบ

    หมายความต่อไปว่า ให้เดินวิชากับกายธรรมทั้ง 4
    คือโสดา สกิทาคามี อนาคามี และอรหัตต์ เหล่านี้ไปก่อน โดยวิชาโดยอนุโลม-ปฏิโลม จนกระทั่งกายธรรมทั้ง 4 นี้ใส
    ก็เป็นอันแน่ใจได้ว่า สามารถรักษาสภาวะใจให้หยุดนิ่งได้ดีขึ้นโดยลำดับ

    การเดินวิชาโดยอนุโลมนั้นหมายถึง เดินวิชาตั้งแก่กายธรรมโสดา-สกิทาคามี-อนาคามี-อรหัตต์
    ส่วนการเดินวิชาโดยปฎิโลมนั้นหมายถึง เดินวิชาจาก กายธรรมอรหัตต์-อนาคามี-สกิทาคามี-โสดา
    ทำซ้ำอย่างนี้จนกว่า "กายธรรม" จะใส

    เหตุที่ต้องเดินวิชาเฉพาะกายธรรมนี้ก่อนก็เป็นเพราะ
    กายธรรมนั้นสามารถ "ต่อรู้-ต่อญาณ" ให้เราเห็นวิชาได้โดยตลอดรอดฝั่ง
    ต่างฝ่ายต่างช่วยกัน
    คือ ยิ่งเราเดินอนุโลม-ปฏิโลม กายธรรมก็ยิ่งใส
    เมื่อกายธรรมยิ่งใส ก็ต่อรู้-ต่อญาณให้เราเดินวิชาได้ดีขึ้น หยุด นิ่ง แน่น ได้ดีขึ้น

    ดังนั้น
    การเดินวิชาเฉพาะกายธรรมนี้ก่อน จึงนับเป็นวิธีอันสำคัญ ที่จะช่วยให้เรารักษาวิชาเราไว้ให้ได้ ไม่เลือนหายไป
    เพราะเราสามารถประคองใจให้หยุดนิ่งได้ดีขึ้นโดยความช่วยเหลือของกายธรรมเหล่านั้น

    ต่อเมื่อเราหยุดนิ่งแน่นได้ดีแล้ว เราก็ไปเดินวิชา 18 กายต่อได้
    คราวนี้เมื่อถึงกายโลกีย์เราก็ไม่ต้องห่วงแล้ว
    เพราะเราอาศัยกายธรรมมาช่วยเราเดินวิชาให้ตลอดรอดฝั่งทั้ง 18 กาย

    นี่เอง จึงเป็นวิธีที่จะสามารถต่อวิชาให้ผู้เรียนสามารถเดินวิชา 18 กายได้อย่างตลอดรอดฝั่ง

    เสียดาย....
    คุณป้าคนนั้น หากรู้วิธีนี้ ป่านนี้คงก้าวหน้าไปไหนต่อไหนแล้ว
    น่าเสียดายจริงๆ ครับ <!--MsgFile=7-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=7-->มาดึก (ผ่านเข้ามาพบ) [​IMG] - [ <!--MsgTime=7-->29 เม.ย. 49 01:15:51 <!--MsgIP=7-->]



    ต่อครับ เนื่องจากคุณสมถะได้กรุณาถามมาว่า

    ".....จุดเล็กใสเท่าปลายเข็มกลางดวงธรรม(ดวงปฐมมรรค) นั้นคืออะไร สำคัญอย่างไร เคยได้ยินอาจารย์บ้างท่านบอกให้ผู้ที่เห็นดวงปฐมมรรคหรือเห็นพระธรรมกาย เอาใจแตะนิ่งๆ เบาๆ สบายๆ ให้องค์พระผุดขึ้นมาเรื่อยๆ ผุดขึ้นมาเป็นสาย ให้ดวงธรรมผุดขึ้นมาเรื่อยๆ ผุดขึ้นเป็นสาย ทำใจเบาๆ สบายๆ ไม่ทราบว่าทำอย่างนั้นได้อะไร ถูกหลักเกณฑ์หรือไม่ อย่างไร..."

    ขออนุญาตแสดงความเห็นเป็นเรื่อง ๆ ไปนะครับ

    1...."จุดเล็กใสขนาดโตเท่าปลายเข็ม" ที่อยู่กลางดวงธรรมนั้นคืออะไร สำคัญอย่างไร

    จุดเล็กใสนั้นก็คือ "กลาง"
    หรือคำพระที่ท่านเรียกว่า "มัชฌิมาปฎิปทา" นั่นเอง
    จุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม หรือต่อไปจะเรียกว่า "กลาง" นี้ มีอยู่ทุกดวงธรรม
    ที่ดวงธรรมมานุปัสสนาสติปัฎฐาน เมื่อเข้ากลางได้ ก็เห็นดวงศีล
    เข้ากลางดวงศีลได้ ก็เห็นดวงสมาธิ
    เข้ากลางดวงสมาธิได้ ก็เห็นดวงปัญญา
    เข้ากลางดวงปัญญาได้ก็เห็นดวงวิมุตติ
    เข้ากลางดวงวิมุตติได้ ก็เห็นดวงวิมุตติญาณทัศนะ
    เข้ากลางดวงวิมุตติญาณทัศนะได้ ก็เห็นกายใหม่อีกกาย
    จะเป็นกายที่หยาบกว่า หรือละเอียดกว่ากายเดิมก็สุดแล้วแต่ว่าเราจะเดินวิชาไปหากายสุดหยาบ หรือกายสุดละเอียด

    หรือแม้จะเดินวิขาโดยซ้อนกาย หรือสับกาย ก็ต้องเดินเข้ากลางนี้ทั้งนั้น
    (นอกเรื่อง...จะไปนิพพาน ท่องไปทั่วภพสาม หรือโลกันต์ ก็ต้องเข้ากลางนี้ทั้งสิ้น)

    รวมความว่า หากไม่มี "กลาง" หรือ "จุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม" แล้ว เราก็หมดหนทางไป คือไปต่อไม่ได้
    ไม่รู้จะไปทางไหน
    ทางก็ตันอยู่อย่างนั้น

    ฉะนั้น "กลาง" นี้จึงสำคัญนัก
    เรียกว่าเป็นหัวใจเลยก็ว่าได้
    ทั้งพระและมารจึงต่างแย่งชิงกันสุดฤทธิ์
    ฝ่ายพระต้องการจะเปิดเผย ให้เห็นและเข้า "กลาง"ให้ได้
    ฝ่ายมารก็หวงแหน ปกปิด ปัดป้องอย่างเต็มที่ ไม่ให้เห็นและไม่ให้รู้ด้วย ถึงรู้ก็ให้รู้อย่างบิดเบือนอีก
    นอกจากนั้น ยังปัดให้ไปเรียนวิชาอย่างอื่นที่ออกนอกศูนย์ ออกนอกทาง
    ถ้าออกนอกศูนย์ ออกนอกทางแล้ว การจะเห็น "กลาง" ได้ก็หมดหวัง
    ดังนั้น กลาง หรือจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม จึงมีเรื่องราวและความสำคัญดังที่กล่าวมานี้

    2... ที่ว่า "...เคยได้ยินอาจารย์บ้างท่านบอกให้ผู้ที่เห็นดวงปฐมมรรคหรือเห็นพระธรรมกาย เอาใจแตะนิ่งๆ เบาๆ สบายๆ ให้องค์พระผุดขึ้นมาเรื่อยๆ ผุดขึ้นมาเป็นสาย ให้ดวงธรรมผุดขึ้นมาเรื่อยๆ ผุดขึ้นเป็นสาย ทำใจเบาๆ สบายๆ ไม่ทราบว่าทำอย่างนั้นได้อะไร ถูกหลักเกณฑ์หรือไม่ อย่างไร...."

    ขออนุญาตแสดงความเห็นอันเป็นเชิงความรู้ครับ
    หากกระทบกับนโยบายหรือวิธีปฏิบัติที่สั่งสอนกันของท่านใดเข้า ผมต้องขอกราบขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยครับ

    ตามความรู้ที่แจ้งไว้ในข้อที่ 1.
    เมื่อจบ 6 ดวงธรรม ก็จะเข้าสู่กายใหม่ จะเป็นกายที่หยาบกว่า หรือละเอียดกว่ากายเดิมนั้น ก็สุดแล้วแต่วิธีการเดินวิชา
    ดังนั้น หากเดินวิชาไป โดยเห็นดวงธรรม (ไม่ใช่กายธรรมนะครับ คนละประเด็น) ผุดขึ้นมาไม่สิ้นสุด เป็นท่อ เป็นสายอย่างนั้นแล้ว
    เชื่อได้ว่า "ผิดหลักวิชา" ตามที่ได้เรียนเอาไว้ข้างต้นอย่างแน่นอน

    สาเหตุน่าจะมาจากการปล่อยให้ใจเบา ๆ สบาย ๆ เรื่อยไปอยู่อย่างนั้น
    คือไม่ยอมสั่งวิชาต่อไปว่าจะเอาอย่างไร
    จะเข้ากลาง หรือจะไปกายไหน จะสับกาย หรือจะซ้อนกาย หรือจะทำอะไรก็ไม่เอาให้แน่สักอย่าง
    และอย่างที่แจ้งให้ทราบอย่างชัดเจนแล้วว่า ทั้งพระและมาต่างๆแย่งชิง "กลาง" กันอย่างสุดฤทธิ์
    วิธีแย่ง หรือวิธีปกครองนั้น ทั้งพระและมารต่างต้องการปกครอง "ใจ"
    ใจประกอบด้วย เห็น-จำ-คิด-รู้
    หากเราไม่ยอมสั่งวิชา ไม่เดินตามตำราหรือตามคำแนะนำของครูบาอาจารย์ที่วางหลักเกณฑ์ตามแบบแผนวิธีที่ถูกต้อง
    คือปล่อยให้นิ่งๆ เบา ๆ สบาย ๆ อยู่อย่างนั้น ไม่ช้าก็เข้าสู่สภาวะของความ"เคลิบเคลิ้ม"
    คือมีความรู้สึก สบาย จนไม่อยากจะทำอะไรต่อไป
    นั่น แปลว่าท่านโดนยิงเครื่องเข้าแล้ว
    วิชาของมารที่จะยิงเข้ามาในเครื่อง คือดวงธรรมของเรานั้น จะทำให้เราชะงักและไม่เดินวิชาต่อ
    การที่ท่านรู้สึกเช่นนั้น นั่นก็แปลว่า ท่านโดนปกครองเข้าแล้ว
    เปรียบเสมือนใจเรานั้นโดน "หุ้ม" เอาไว้ด้วยวิชาของเขา ไม่ให้เราทำอะไรต่อ
    เป็นเพราะเราเปิดช่องว่าง ปล่อยใจเอาไว้ ไม่ยอมสั่งวิชาแท้ ๆ มารจึงได้ช่องอย่างนั้น

    และหากยังปล่อยให้ใจเผินลอยอยู่อย่างนั้น ไม่ช้า ท่านก็จะถูกปกครองมากขึ้น
    และเมื่อ ใจของท่านถูกปกครอง ก็แปลว่า เห็น-จำ-คิด-รู้ ก็ถูกปกครองลงอย่างสิ้นเชิง
    ท่านก็จะเห็น และจะจำ และจะคิด และจะรู้ ไปอย่างที่ผู้ปกครองเขาต้องการ
    นั่นคือ การเห็นของท่านจะผิดไปจากวิชาของธรรมภาคพระ
    คือแทนที่จะเห็นเพียง 6 ดวงธรรม แล้วเกิดกายใหม่ขึ้น ท่านก็จะเห็นการผุดขึ้นมาอย่างไม่ขาดสายของดวงธรรม(ไม่ใช่กายธรรม)
    เห็นเป็นท่อ เป็นสายแล้วยิ่งไปกันใหญ่

    นั่น ความเสียหายใหญ่หลวงเกิดขึ้นแล้ว
    วิชาของท่านเพี้ยนไปแล้ว
    และหากไม่ได้รับการแก้ไข
    จากหุ้มก็กลายเป็น เคลือบ เอิบ อาบ ซึม ซาบ ปน เป็น ไปจนถึงร้อยไส้
    และถูก "ทับทวี" ขึ้นไป จนละเอียดและลึกซึ้ง จนยากที่จะเยียวยา
    น่ากลัวนะครับเรื่องนี้ ไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ เลย

    ดังนั้น ผมจึงขออนุญาตเรียกร้องให้พวกเราศึกษาตำราอันเป็นหลักที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำได้วางเป็นหลักเอาไว้
    ถ้าไม่มีความสำคัญ ท่านก็คงไม่ให้ศิษย์ของท่านทำเอาไว้ให้เป็นหลักฐานหรอกจริงไหมครับ

    จงประกอบเหตุ สังเกตผล ทนเอาเถิด ประเสริฐนัก นะครับ <!--MsgFile=8-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=8-->ผ่านเข้ามาพบ
    [​IMG] - [ <!--MsgTime=8-->29 เม.ย. 49 02:04:02 <!--MsgIP=8-->]


    แก้ไข ความเห็นที่ 7 ครับ
    "หมายความว่า ให้เดินวิชาเข้าสู่กายธรรมเลย โดยยังไม่เดินวิชากับกายโลกีย์ คือตั้งแต่กายฝันไปจนถึงกายอรูปพรหมหยาบ"

    แก้เป็น "...........ไปจนถึงกายอรูปพรหมละเอียด"

    ขอโทษด้วยครับ มันดึกแล้ว ตาลาย <!--MsgFile=9-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=9-->ตาลาย..แก้ไข (ผ่านเข้ามาพบ)
    [​IMG] - [ <!--MsgTime=9-->29 เม.ย. 49 02:06:36 <!--MsgIP=9-->]



    อนูโมทนา...ยอดเยี่ยมมากครับคุณ(ผ่านเข้ามาพบ)

    อธิบายได้ละเอียดชัดเจนเหลือเกิน เชิญเถิดครับท่านผู้

    สนใจนักปฏิบัติทั้งหลายโปรดพิจารณาโดยละเอียดเรื่อง

    นี้สำคัญจริงๆ ครับ สาธุ สาธุ สาธุ... <!--MsgFile=10-->

    จากคุณ : <!--MsgFrom=10-->สมถะ
    [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=10-->29 เม.ย. 49 09:44:47 <!--MsgIP=10-->]<!--pda content="end"--><!--pda content="end"--><!--pda content="end"--><!--pda content="end"-->
    <!--pda content="end"-->
     
  19. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ผมจะกลับบ้านแล้วครับ คุณสมถะ ผู้รอบรู้ ด้านธรรมกาย ผมว่า คุณควรสมัครไปแข่ง แฟนพันธ์แท้ธรรมกาย
    เพราะว่า คุณ รู้เยอะ จำเยอะ แต่ ไม่ได้เรื่องอะไรสักอย่าง

    เช่นว่า ยกป้ายขึ้นมาปั๊บตอบภายใน 3 วินาที อันนี้กายพระอรหันต์ อันนี้กายพระโสดา

    หรือ ตอบคำถามเช่นว่า หลวงพ่อสด ท่านได้วิชชาธรรมกายวันแรก วันที่เท่าไร เวลาอะไร

    เอาแบบนี้ดีกว่านะ สมถะ เผื่อจะได้ บ้านสักหลัง ดีกว่ามาเถียงกับผมแบบนี้นะ
     
  20. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,167
    กระทู้เรื่องเด่น:
    22
    ค่าพลัง:
    +29,753
    [MUSIC]http://www.dhammakaya.org/wmp.asx[/MUSIC]
     

แชร์หน้านี้

Loading...