เตือนนักดำน้ำฝั่งอันดามันให้ใส่ชุดรัดกุม เหตุน้ำทะเลเย็นลง

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย NoOTa, 8 มีนาคม 2007.

  1. NoOTa

    NoOTa Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    20,125
    กระทู้เรื่องเด่น:
    349
    ค่าพลัง:
    +64,492
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เตือนนักดำน้ำฝั่งอันดามันให้ใส่ชุดรัดกุม เหตุน้ำทะเลเย็นลง </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>8 มีนาคม 2550 18:27 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle>http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9500000027553<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> ทช.เผย น้ำทะเลฝั่งจังหวัดอันดามันเย็นกว่าปกติ ทำให้เกิดแพลงตอนบลูม ซึ่งไม่เป็นพิษต่อสัตว์น้ำ แต่ขอเตือนนักดำน้ำฝั่งอันดามันให้ใส่ชุดดำน้ำให้รัดกุม อบอุ่นที่สุด เพื่อปกป้องร่างกายไม่ให้เกิดอันตรายจากความเย็นใต้น้ำ

    นางนิศากร โฆษิตรัตน์ อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) เปิดเผยว่า ขณะนี้น้ำทะเลฝั่งทะเลอันดามัน บริเวณจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ มีอุณหภูมิที่ต่ำกว่าปกติ ซึ่งตั้งแต่ช่วงปลายปี 2549 หน่วยงานวิชาการด้านสมุทรศาสตร์ ทช.ที่ติดตามปรากฏการณ์ Indian Ocean Dipole (IOD) คาดการณ์ว่า จะมีปรากฏการณ์ IOD เกิดขึ้นในภาคพื้นมหาสมุทรอินเดีย ในปี 2550 ซึ่ง IOD เป็นปรากฏการณ์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมหาสมุทรและภูมิอากาศ โดยน้ำทะเลในมหาสมุทรอินเดียฝั่งตะวันออกจะมีมากกว่าฝั่งตะวันตก เมื่อระดับน้ำไม่เท่ากัน จึงเกิดการหมุนเวียน ทำให้มวลน้ำเย็นที่อยู่ใต้ทะเลเคลื่อนเข้ามาใกล้ฝั่งมาก ส่งผลให้น้ำทะเลใกล้ชายฝั่งมีอุณหภูมิเย็นกว่าปกติ ขณะเดียวกัน มวลน้ำเย็นนี้ก็ดึงเอาธาตุอาหารชั้นสูงใต้ทะเลขึ้นมาอยู่บนผิวน้ำด้วย เป็นอาหารอย่างดีกับสาหร่ายแพลงตอน ทำให้แพลงตอนเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว สะพรั่งเต็มบนผิวท้องทะเลในบริเวณนั้นๆ เรียกว่า แพลงตอนบลูม ซึ่งไม่เป็นพิษ หรืออันตรายใดๆ ต่อสัตว์น้ำ โดยปรากฏการณ์นี้จะเกิดเพียงแค่ระยะเวลา 2-3 วันเท่านั้น แล้วก็จะหายไปเอง
     

แชร์หน้านี้

Loading...