1. 26ธค49 T-SUNAMI

    26ธค49 T-SUNAMI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +148
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" bgColor=#c1d7c0 border=0><TBODY><TR><TD><CENTER>
    เชอร์โนบิล

    </CENTER>เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2529 โรงไฟฟ้าเชอร์โนบิล หน่วยที่ 4 ได้เกิดอุบัติร้ายแรงที่สุดของการใช้พลังนิวเคลียร์เพื่อผลิตไฟฟ้า มีผู้เสียชีวิตทันที 30 คน ในจำนวนนี้เกือบทั้งหมดเนื่องมาจากการได้รับสารกัมมันตรังสีความแรงสูงในเวลาเฉียบพลัน ผลของการเกิดอุบัติเหตุครั้งนั้นยังส่งผลกระทบอีกเนิ่นนานต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณโดยรอบ รวมไปถึงประเทศเพื่อนบ้านอีกหลายประเทศ
    • โรงไฟฟ้าเชอร์โนบิล ตั้งอยู่ในอาณาเขตของประเทศยูเครนในปัจจุบัน ซึ่งขณะนั้นยังรวมเป็นสหภาพโซเวียต ปฏิกรณ์ที่ใช้มีลักษณะเฉพาะตัวของรัสเซียซึ่งแตกต่างจากปฏิกรณ์ที่ประเทศทางยุโรปตะวันตก รวมทั้งสหรัฐอเมริกาที่ใช้อยู่อย่างแพร่หลาย อุบัติเหตุเกิดขึ้นจากการที่พนักงานผู้ปฏิบัติการภายในโรงไฟฟ้า ทำการทดลองเพื่อทดสอบการหมุนของกังหันผลิตไฟฟ้าเมื่อปฏิกรณ์อยู่ในระดับพลังงานต่ำ โดยตัดระบบการควบคุมความปลอดภัยออก จนไม่สามารถควบคุมการเกิดปฏิกิริยาได้ในที่สุด อุบัติเหตุเพิ่มความรุนแรงขึ้นเนื่องจากกราไฟต์ซึ่งเป็นส่วนประกอบเฉพาะแบบของปฏิกรณ์ชนิดนี้เกิดระเบิดเนื่องจากความร้อนสูงเป็นผลให้อาคารคลุมปฏิกรณ์ซึ่งสร้างในรูปแบบของปฏิกรณ์แบบรัสเซียไม่มีความแข็งแกร่งเท่าอาคารคลุมปฏิกรณ์ทั่วไปแตกทำลายลง สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายออกสู่ภายนอก และส่งผลตกค้างอีกเป็นเวลานาน
    • เชอร์โนบิลหมายเลข 4 ซึ่งเกิดอุบัติเหตุถูกถมกลบด้วยโบรอนโดโลไมท์ ทราย ดินและตะกั่ว จากเฮลิคอปเตอร์ เพื่อปิดกั้นสารรังสีที่ฟุ้งกระจายออกมา แต่บางส่วนก็แพร่ไปยัง เบลารุส รัสเซีย รวมไปถึงประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียน และยุโรป สารที่สำคัญได้แก่ ไอโอดีน-131 และซีเซียม-137 ซึ่งเป็นสารที่มีครึ่งอายุสั้นแต่มีความแรงของรังสีสูง หลังจากนั้นมีการอพยพประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรวบ ในจำนวนนี้มีบางส่วนค่อย ๆ อพยพกลับมาอาศัยอยู่ที่เดิมในเวลาต่อมา
    • หน่วยงานสากลทางสิ่งแวดล้อม และสุขภาพได้ทำการตรวจสอบ วัดผลกระทบบริเวณรอบ ๆ โรงไฟฟ้าหลังจากเหตุการณ์นั้นตลอด แต่การสรุปผลกระทบที่แน่นอนยังทำได้ยาก เนื่องจากไม่มีผลการวัดก่อนหน้าการเกิดอุบัติเหตุมาเปรียบเทียบ
    • ปัจจุบัน โรงไฟฟ้าเชอร์โนบิลหน่วยที่ 4 ถูกปิดอย่างถาวรด้วยคอนกรีตเพื่อป้องกันอันตรายจากรังสี และเพื่อสร้างความปลอดภัยในการเดินเครื่องของโรงไฟฟ้าหน่วยอื่น ๆ ในบริเวณเดียวกัน อย่างไรก็ตามมีการสร้างอาคารปฏิกรณ์เสริมจากเดิมใช้งบประมาณไปกว่าสี่ร้อยล้านดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจากมีผลคุ้มค่ากว่าการปิดโรงไฟฟ้าทั้งหมด ซึ่งปัจจุบันมีเพียงหน่วยที่ 3 ที่เดินเครื่องผลิตไฟฟ้า มีพนักงานปฏิบัติงานเกือบหกพันคน ซึ่งได้รับการดูแลสุขภาพตามมาตรฐานสากลของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ประเทศยูเครนอาศัยพลังงานหลักจากน้ำมัน ก๊าซ และนิวเคลียร์ซึ่งมีสัดส่วนถึง 45% ในอนาคตมีโครงการพัฒนาการใช้พลังนิวเคลียร์อย่างครบวงจร
    • อุบัติเหตุโรงไฟฟ้าเชอร์โนบิลเป็นกรณีศึกษาทำให้เกิดความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีระหว่างซีกโลกตะวันออกและตะวันตก ซึ่งก่อนหน้านี้ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ตั้งแต่ พ.ศ. 2532 เป็นต้นมา วิศวกรนิวเคลียร์จากสหภาพโซเวียตได้เข้าเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าของกลุ่มประเทศทางตะวันตกเป็นจำนวนกว่าพันคน มีการปรับปรุงการออกแบบปฏิกรณ์และระบบความปลอดภัย โครงการศึกษาร่วมกันระหว่างประเทศหลายโครงการถูกจัดขึ้นเพื่อการพัฒนาการพลังงานนิวเคลียร์อย่างปลอดภัยมากขึ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE border=0><TBODY><TR><TD width=138>สรุปและเรียบเรียงจาก :</TD><TD>Chernobyl March 2001</TD></TR><TR><TD width=138></TD><TD>http://www.world-nuclear.org/info/chernobyl/info7.htm. </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. 26ธค49 T-SUNAMI

    26ธค49 T-SUNAMI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +148
    [​IMG][​IMG]

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%" background=bg3mile.jpg>โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทรีไมล์ไอส์แลนด์ </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">
    อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทรีไมล์ไอส์แลนด์มีสาเหตุมาจาก ความบกพร่องในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ควบคุมเครื่องปฏิกรณ์ที่ขาดการฝึกอบรมอย่างเพียงพอกล่าวคือ ปั๊มน้ำเครื่องหนึ่งหยุดทำ งานส่งผลให้กังหันไอน้ำปั่นกระแส ไฟฟ้าหยุดการทำงาน ทันทีทำให้เครื่องปฏิกรณ์หยุดการทำงานอัตโนมัติ ในเวลาต่อมา เจ้าหน้า ทีตัดสินใจพลาด โดย การตัด ระบบควบคุมการจ่ายน้ำอัตโนมัติ ให้เครื่องปฏิกรณ์มาควบคุมด้วยตนเอง ทำให้ ไม่มีน้ำเหลืออยู่พอที่จะหล่อเลี้ยงเชื้อเพลิง และคาดไม่ถึงว่าเกิดความร้อนสะสมในแท่งเชื้อเพลิงจนถึงภาวะอิ่มตัวเป็นเหตุให้เชื้อเพลิงหลอมละลาย ประกอบกับอุปกรณ์ บางส่วนบกพร่องไม่ได้รับการออกแบบให้สมบูรณ์ซึ่งสามารถแก้ไขได้ เช่นวาล์วนิรภัยค้าง และวาล์วกั้น น้ำฉุกเฉิน ปิดอยู่ เป็น ต้น เหตุการณ์ในครั้งนี้ หากเจ้า หน้าที่ไม่ตกใจ ปล่อยให้ระบบอัตโนมัติทำงานเองระบบความปลอด ภัยของโรงไฟฟ้าจะ ควบ คุม สถานการณ์ให้กลับคืนสู่สภาวะปกติได้ อุบัติเหตุครั้งนี้ คงไม่เกิดขึ้น ผลจากอุบัติเหตุดังกล่าว ทำให้แกนปฏิกรณ์ เสียหาย ทั้งหมด แต่เหตุการณ์ถูกจำกัดอยู่ภายในโรงไฟฟ้า มีการแพร่กระจาย ของสารกัมมันตรังสีต่อ สิ่งแวดล้อมโรงไฟฟ้าปิดการ ดำเนินการและมีเจ้าหน้าที่ 2 คนได้ รับรังสีสูงประมาณ 40 มิลลิซีเวิร์ท ซึ่งเกินกว่ามาตรฐานความปลอดภัย มีสารกัมมันตรังสี รั่วไหลออกสู่บรรยากาศภายนอก ทำให้ประชาชนบริเวณใกล้เคียงโรงไฟฟ้า ได้รับรังสี เพิ่มขึ้นเพียง 0.00416-0.0125 เท่า สำหรับ ผลจากการติดตามข้อมูลในเวลาต่อมาปรากฏว่าไม่พบการเกิดโรคมะเร็งเพิ่ม ขึ้นจากปกติ และไม่เกิดผลกระทบใดๆ แก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ ในบริเวณข้างเคียง

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE width=759 border=0><TBODY><TR><TD align=middle width=755 background=bgcherno.jpg>โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เชอร์โนบิล </TD></TR><TR><TD align=middle width=755>[​IMG] </TD></TR><TR><TD width=755>

    อุบัติเหตุโรงไฟฟ้าเชอร์โนบิลนั้นเป็นอุบัติเหตุที่ไม่ได้เกิดจากการเดินเครื่องโรงไฟฟ้าตามปกติแต่เป็นการเดินเครื่อง เพื่อ ทำการทดลองภายในโรงไฟฟ้าในกรณีเกิดไฟดับในโรงไฟฟ้ากังหันไฟฟ้าจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยแรงเฉื่อยตัวเอง เพื่อ จ่ายไฟให้ปั๊มระบายความร้อนฉุกเฉิน ในระยะสั้นๆได้ เพียงพอ หรือไม่ ขณะรอ กระแสไฟฟ้าจาก เครื่องกำเนิดไฟฟ้า ดีเซลภาย ในโรงงาน การทดลองได้ตัดระบบความปลอดภัยทั้งหมด ออก เช่นปลดกลไกดับ เครื่องอัตโนมัติเพื่อไม่ให้การ ทดลองหยุด ชะงักหยุดปั๊มน้ำ และปิดวาล์ว ระบายไอน้ำเพื่อให้ความดันคงที่ เป็นต้น เป็นการจงใจฝ่าฝืนกฏระเบียบด้านความปลอดภัย ที่ มีอยู่ประกอบกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลนี้มีข้อบกพร่องในการออกแบบที่ไม่เหมาะสมสำหรับกา ทดลองดังกล่าวโรงไฟ ฟ้า จึงเกิดการระเบิดเนื่องจากแรงดันไอน้ำภายในสูง (ไม่ใช่การระเบิดแบบระเบิดนิวเคลียร์ ) และ เกิดเพลิงไหม้ผลจาก อุบัติ เหตุ ทำให้สารกัมมันตรังสีเกือบทั้งหมดแพร่กระจายสู่บรรยากาศ และขยายขอบเขตไปยังนานา ประเทศ ต้องดำเนินการ อพยพประชาชน ประมาณ 112,000 คน ในรัศมี 30 กิโลเมตรพื้นที่ 10 ตารางกิโลเมตร มีการเปรอะเปื้อน รังสีสูงนอกจากนี้ มีเจ้าหน้าที่โรงไฟฟ้าและเจ้าหน้าที่ดับเพลงเสียชีวิตจำนวน 31 คน มีผู้บาดเจ็บทางรังสี 203 คนประชาชนที่ อาศัยอยู่ รอบโรง ไฟฟ้าได้รับรังสีเพิ่ม ขึ้นประมาณ1 เท่าจากที่ได้รับอยู่แล้วตามธรรมชาติและจะได้รับรังสี ทดลองตามระยะทางที่ห่างไกล จาก โรงไฟฟ้าออไปแต่เมื่อ สถานการณ์ผ่านไป10 ปี ในพ.ศ.2539 องค์การอนามัยโลก ได้สรุปผลการดำเนินงานการศึกษาติดตาม ผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยมีสาระสำคัญดังนี้ พบอัตรา การเกิดโรคต่อมไทรอยด์ ในเด็กเพิ่มขึ้นโดยมีผู้เสียชีวิตแล้ว 3 คน คาดว่า เป็นผลมาจากการได้รับไอโอดีนรังสีเข้าสู่ร่างกาย อย่างไรก็ตาม โรคมะเร็งชนิดนี้ สามารถรักษาให้หายได้หากอาการ ยังไม่ลุก ลามทั้งนี้ ไม่พบความผิดปกติของการเกิด โรคมะเร็งในเม็ดโลหิตขาว แต่ ประชาชน ซึ่ง อาศัยอยู่ในบริเวณได้รับ ผลกระทบ ทางรังสี มีอาการทางประสาทเพิ่มขึ้นเนื่องจากความหวาดกลัวอันตราย ซึ่งต้องได้รับการฟื้นฟู ดูแลให้หมดความวิตกกังวล ต่อไป
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา http://www.egat.co.th/me/nuc/Knowledge/item8.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 13 กุมภาพันธ์ 2007
  3. 26ธค49 T-SUNAMI

    26ธค49 T-SUNAMI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +148
    ย้อนรำลึก 20 ปีเหตุระเบิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ "เชอร์โนบิล"
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>26 เมษายน 2549 11:40 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ก้านสูบภายในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมปฏิกิริยาฟิสชั่นถูกทำให้ขึ้นและลงอย่างรวดเร็ว จึงเกิดความร้อนเกินปกติ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ก้านสูบที่ร้อนมากจนละลาย ไม่สามารถกลับเข้าที่เดิม (ภาพ4) และภาพ 5 แกนเตาที่ร้อนมาจนปะทุออกมาเหมือนลาวาจากปล่องภูเขาไฟ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ระดับความเข้มข้นของกัมมันตภาพรังสีที่กระจายไปทั่วยุโรป</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ทิศทางลมที่ช่วยนำพากัมมันตภาพรังสีกระจายไปทั่ว</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>บีบีซีนิวส์ – เหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลระเบิดเมื่อ 20 ปีก่อน แม้ว่าขณะที่เกิดเหตุจะมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนน้อย แต่ผลพวงสะสมของสารกัมมันตภาพรังสีกลับกินพื้นที่กว้างไกลและรุนแรงยาวนานกว่าที่คาดการณ์ไว้นัก ซึ่ง ณ วันนี้ควาทรงจำของเหตุหายนะกำลังเริ่มจากหาย แต่กัมมันตภาพรังสีก็ยังคงฝังติดแน่น โดยที่ไม่มีใครตอบได้ว่าจะหมดลงเมื่อใด

    เช้าตรู่ของวันที่ 26 เม.ย.29 เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 1 ใน 4 ของโรงงานไฟฟ้าเชอร์โนบิล ในสหภาพโซเวียต เกิดระเบิดขึ้น แต่ทางรัฐบาลมอสโควแห่งสหภาพโซเวียตกลับมีปฎิกิริยาอย่างเชื่องช้าต่ออุบัติภัยดังกล่าว แม้ว่านานาประเทศในละแวกใกล้เคียงจะตรวจพบสารกัมมันตภาพรังสีลอยไปไกลหลายร้อยกิโลเมตร

    การขาดข้อมูลข่าวสารที่แท้จริง ทำให้มีการอ้างความเสียหายแค่เพียงจำนวนผู้เสียชีวิตจากเหตุระเบิด ส่วนปัญหาการรั่วไหลของกัมมันตภาพรังสีที่ไม่เห็นเป็นรูปธรรมก็ยังคงเป็นปัญหามาจนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้ แม้จะผ่านเลยมาแล้ว 20 ปีก็ตาม

    จึงนับได้ว่าเหตุการณ์โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลระเบิดจนทำให้เกิดสารกัมมัตภาพรังสีรั่วไหลไปไกลในหลายพื้นที่นั้น นับเป็นอุบัติภัยทางนิวเคลียร์ที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์การใช้นิวเคลียร์

    ย้อนเหตุระเบิด 20 ปีก่อน

    ระหว่างช่วงต่อวันที่ 25-26 เม.ย.2529 ทีมวิศวกรกะกลางคืนได้ทำการทดลองที่เตาปฏิกรณ์หมายเลข 4 โดยทดสอบว่าระบบทำความเย็นจะสามารถดึงกระแสไฟฟ้าจากเตาปฏิกรณ์มาใช้อย่างไร หากเกิดกรณีไฟตกหรือพลังงานต่ำกว่าความต้องการ

    การทดสอบดังกล่าวเริ่มขึ้นในเวลา 23.00 น. (ประมาณ 03.00 น. เวลาประเทศไทย) ด้วยการใช้การสูบที่ควบคุมกระบวนการฟิสชันในเตาปฏิกรณ์ ให้ดูดซับนิวตรอนและทำให้ปฏิกิริยาลูกโซ่ช้าลง ทำให้พลังงานที่ออกมาลดลงจากเดิม 20% เพื่อเตรียมการทดลอง

    ปิดระบบรักษาความปลอดภัย เพื่อการทดสอบ

    อย่างไรก็ดี ระหว่างเตรียมการทดลองยังมีการสูบอีกหลายตัวที่ลดการทำงานและผลลัพธ์ลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งเตาเกือบอยู่ในสภาพปิดการทำงาน ซึ่งทำให้วิศวกรเกรงว่าเตาจะไม่เสถียร จึงดึงกระบวนการกลับเพื่อให้ผลลัพธ์เพิ่มขึ้น

    และในเวลา 00.30 น. ก็เริ่มการทดสอบขึ้น เมื่อเวลา 01.00 น. พลังงานของเตาเหลืออยู่เพียง 7% รวมกับก้านสูบบางตัวถูกทำให้เพิ่มการทำงานขึ้นอย่างรวดเร็ว ขณะที่ระบบปิดตัวเองอัตโนมัติก็ถูกปิดไม่ให้ทำงาน เพื่อให้เตาได้เดินหน้าท่ามกลางสภาพพลังงานต่ำกว่าปกติ

    จนกระทั่งเวลา 01.23 น. พลังงานของเตาเพิ่มขึ้นมาเป็น 12% ขณะที่การทดสอบเริ่มขึ้น และวิศวกรก็เพิ่มการทำงานของก้านสูบ แต่ในเวลาไม่ถึง 1 นาทีระดับพลังงานก็เกิดมีปัญหา และเตาปฏิกรณ์ก็เริ่มร้อนเกินพิกัด

    ในที่สุด....ก็ร้อนจน ระเบิด !!

    ทันทีที่เกิดความร้อนสูงเกิน ระบบปิดตัวเองก็ทำงานทันทีแต่ว่า ไม่เกิดปฏิกิริยาใดๆ ทำให้วิศวกรตัดสินใจอย่างฉับพลันตัดกระแสไฟฟ้าด้วยตัวเอง เพื่อหวังให้ก้านสูบต่างๆ กลับเข้าที่ แต่ความร้อนสูงเกินไปจากแกนของเตาปฏิกรณ์ก็ละลายก้านสูบจนเปลี่ยนรูปและขยับไม่ได้

    อีกไม่กี่นาทีถัดมา ความร้อนสูงกว่าปกติถึง 100 เท่า ก้อนวัตถุที่อยู่ในแกนเตาเริ่มปะทุและน้ำที่อยู่ในระบบทำความเย็นก็ร้อนขึ้นเรื่อยๆ จนทำให้หลังคาอาคารที่คลุมเตาปฏิกรณ์หลอมเปลี่ยนรูปเพราะความร้อน และปลิวหลุดออกไป ตามด้วยสิ่งที่อยู่ในเตาก็พวยพุ่งออกมาราวกับภูเขาไฟปะทุ

    สภาพอากาศบริเวณนั้นเต็มไปด้วยสะเก็ดจากเตา ซึ่งมีก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เต็มไปหมด ทำให้เกิดติดไฟและระเบิดในที่สุด

    หลังหายนะที่แสนอันตราย แต่ดูเหมือนไม่ร้ายแรง

    นักผจญเพลิงปีนขึ้นไปบนหลังคาของโรงงานเพื่อจะสยบเพลิงที่ลุกโชติช่วง ขณะเดียวกันเฮลิคอปเตอร์หลายต่อหลายลำก็ทยอยขนทรายมาใส่ในเตาเพื่อลดแรงไฟและกัมมันตรังสีที่แผ่ออกมา

    เหล่านักผจญเพลิงและพลทหารที่มาช่วยกันในครั้งนี้ ต่างก็ไม่รู้ว่าการเข้ามาเกี่ยวข้องกับกัมมันตภาพรังสีนั้นมีความเสี่ยงมาน้อยแค่ไหน อีกทั้งในภายหลังก็มีรายงานว่าคนกลุ่มนี้หลังจากช่วยดับเพลิงจนสำเร็จแล้วก็เสียชีวิตเพราะพิษกัมมันตภาพรังสี

    หายนะภัยครั้งนี้ถูกประเมินว่ารุนแรงกว่าระเบิดปรมาณูที่ถล่มนางาซากิและฮิโรชิมาในญี่ปุ่นถึง 100 เท่า สารกัมมันตภาพรังสียังคงปนเปื้อนอยู่ต่อเนื่องแม้ว่าเชอร์โนบิลจะปิดตัวลงแล้ว แต่ประชาชนที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งครอบคลุมเบลารุส ยูเครน และรัสเซียมีเพียง 350,000 คนที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่อื่น แต่อีก 5.5 ล้านคนยังคงอาศัยอยู่ในบริเวณนั้น

    สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือการปนเปื้อนของซีเซียมและสตรอนเทียม ซึ่ง ณ ปัจจุบันยังฝังแน่นอยู่ตามผืนดิน และหลังจากเกิดอุบัติเหตุระเบิด ก็พบกัมมันตรังสีปนเปื้อนอยู่ในทุกๆ ประเทศที่เหนือขึ้นไปตามทิศทางลมที่พัดพา

    ที่แย่กว่านั้นคือบางประเทศที่ได้รับกระแสลมพัดตรงมาจากเชอร์โนบิล พร้อมกับฝนที่นานๆ ครั้ง จึงทำให้การปนเปื้อนมีมากกว่าพื้นที่ใกล้เคียงที่เกิดเหตุด้วยซ้ำ อย่างเช่นประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวียที่ได้รับผลกระทบรุนแรงไม่แพ้กันเพราะอยู่ในทิศทางลมพอดี อีกทั้งฟาร์มบางแห่งบนเกาะอังกฤษก็ยังปรากฏการปนเปื้อนของกัมมันตภาพรังสีอีกด้วย

    สุขภาพผู้เคราะห์ร้าย...รับกัมมันตภาพรังสีสะสม

    จำนวนผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ระเบิดที่เชอร์โนบิลมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ สหประชาชาติ (ยูเอ็น) ระบุจำนวนผู้เสียชีวิตว่ามีถึง 9,000 รายด้วยมะเร็งอันเนื่องมาจากการรับสารรังสีเข้าไป แต่ก็ยังมีอีกจำนวนมากที่ประสบปัญหาทั้งทางด้านภาวะเศรษฐกิจและสุขภาพจิตอีกด้วย

    ขณะเดียวกันกรีนพีซก็เชื่อว่าผู้ที่ได้รับผลกระทบทางด้านสุขภาพน่าจะมากกว่าที่ยูเอ็นคาดการณ์ไว้ โดยเฉพาะเสียชีวิตด้วยมะเร็งน่าจะสูงถึง 93,000 คน และโรคอื่นๆ อีกถึง 200,000 คน

    โรคที่เห็นเด่นชัดว่าเป็นผลพวงมาจากการรั่วไหลของกัมมัตภาพรังสีคือมะเร็งที่ต่อมไทรอยด์ โดยพบมากถึง 4,000 คน ซึ่งส่วนใหญ่กำลังเป็นเด็กและวัยรุ่นในช่วงที่เกิดเหตุระเบิด และกรีนพีซยังเชื่อว่าน่าจะมีอีก 60,000 รายที่เป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์ จากจำนวนผู้ป่วย 270,000 รายที่เป็นมะเร็งชนิดต่างๆ อันเป็นผลมาจากกัมมันตภาพรังสี

    อย่างไรก็ดี การระเบิดครั้งนี้ กลายเป็นบทเรียนสำคัญของมนุษย์ในการนำวิทยาการใหม่ๆ มาใช้ โดยต้องมีความละเอียดรอบคอบ และเตรียมรับมือกับผลกระทบเป็นอย่างดี ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (ไอเออีเอ) ได้ตั้งหน่วยรับมือฉุกเฉินที่กรุงเวียนนาของออสเตรียเมื่อปี 2529 มีอุปกรณ์การสื่อสารและคอมพิวเตอร์ ตลอดจนเอกสารและฐานข้อมูลที่จำเป็นในกรณีเกิดอุบัติเหตุสารกัมมันตภาพรังสีรั่วไหล มีเจ้าหน้าที่ประจำการ 30 คน ตลอด 24 ชั่วโมง และมีผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยนิวเคลียร์พร้อมเดินทางไปยังที่เกิดเหตุในประเทศต่าง ๆ เพื่อให้ความช่วยเหลือและประเมินสถานการณ์ โดยหวังว่าจะพยายามป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้นอีก

    <CENTER>
    คลิกที่ไอคอน Manager Multimedia
    เพื่อรับชมภาพกิจกรรมรำลึก 20 ปีเชอร์โนบิล


    [​IMG]
    </CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right height=10>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=baseline><TD vAlign=top width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD class=hit align=left height=19>ข่าวที่เกี่ยวข้อง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>ผลพวง "เชอร์โนบิล" อาจทำคนตายเกินครึ่งแสน แต่ UN เคยคาดแค่ 4 พัน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. 26ธค49 T-SUNAMI

    26ธค49 T-SUNAMI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +148
    <STYLE type=text/css>.vit {font-size:12px;color:#ffffff;font-family:tahoma;}.vit1 {font-size:12px;color:#000000;font-family:tahoma;}.vit2 {font-size:13px;color:#000000;font-family:tahoma;}.vit3 {font-size:17px;color:#000000;font-family:tahoma;}} body { scrollbar-face-color: #FFCC00; scrollbar-highlight-color: #ffffff; scrollbar-SHADOW-color: #ffffff; scrollbar-3DLIGHT-color: orange;}}A:link {text-decoration: none; Color: #0060BF}A:visited {text-decoration: none; Color: #008000}A:hover {text-decoration: none; font-weight: none; Color: #FF0000}</STYLE><TABLE id=table1 height=814 width=799 align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=799 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left bgColor=#000000>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left bgColor=#000000><OBJECT id=obj1 codeBase=http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0 height=80 width=600 border=0 classid=clsid:D27CDB6E-AE6D-11CF-96B8-444553540000>

















    <embed src="science/top2.swf" pluginspage="http://www.macromedia.com/go/getflashplayer" type="application/x-shockwave-flash" name="obj1" width="160" height="160"></OBJECT></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=31 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=799 bgColor=#000000 height=31>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#990000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=128 bgColor=#ffda03 cellSpacing="0" cellPadding="0"><TABLE id=table2 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=799 border=1><TBODY><TR><TD width=124><TABLE id=table3 height=207 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle background=science/bg_login.jpg height=207> <TABLE id=table4 height=141 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD align=middle background=science/bg.JPG height=141> [​IMG]
    <INPUT size=10 name=txtName>
    [​IMG]
    <INPUT type=password size=10 name=pwd1>
    [​IMG]
    _________
    [​IMG]
    [​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE id=table5 height=486 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR bgColor=#fffae5><TD vAlign=top width=126><TABLE id=table6 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#000000> [​IMG]หน้าแรก</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000> [​IMG]ข่าว</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] ในประเทศ</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] ต่างประเทศ</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000> [​IMG]เทคโนโลยีชีวภาพ</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] โคลนนิง</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] จีเอ็มโอ</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] พันธุกรรม</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000> [​IMG]นวตกรรม</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] เทคโนโลยีชาวบ้าน</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] สิ่งประดิษฐ์</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000> [​IMG]วิจัย</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] การแพทย์-สุขภาพ</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] เทคโนโลยี</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] วิทยาศาสตร์</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000> [​IMG]E-Learning</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] หน่วยและการวัด</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] ทดสอบหลังเรียน</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] แม่เหล็กไฟฟ้า</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 height=21> [​IMG] ทดสอบหลังเรียน</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000> [​IMG]ติดต่อเรา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top><TABLE id=table7 height=397 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width=9 height=40> </TD><TD align=middle width=649 height=40>ประมวลภาพกิจกรรมรำลึก 20 ปี "เชอร์โนบิล"</TD><TD></TD></TR><TR><TD width=9 height=193> </TD><TD align=middle width=649 height=193> [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </TD><TD></TD></TR><TR><TD width=9> </TD><TD width=649>
    บรรดาผู้เข้าร่วมพิธีไว้อาลัยรำลึกเหตุการณ์อุบัติเหตุโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์เชอร์โนบิลเกิดอุบัติเหตุรั่วไหลได้หลั่งไหลมารวมตัวกันเพื่อไว้อาลัยให้กับผู้ที่จากไป ทั้งที่บริเวณตัวโรงงานและในตัวเมืองหลวงของยูเครนเองก็จัดพิธีดังกล่าว

    วันนี้ (26 เม.ย.) นับเป็นวันครบรอบ 20 ปีของอุบัติเหตุโรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์เชอร์โนบิลระเบิด โดยหลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลาย พื้นที่ของโรงไฟฟ้าอยู่ในเมืองพริเพียต (Prypiat) ยูเครน

    ทั้งนี้ ยูเครนได้จัดรำลึกที่เมืองสลาวูทิช โดยมีผู้เข้าร่วมไว้อาลัยนับพันคนต่างพากันจุดเทียน ถือดอกคาร์เนชั่นสีแดง เดินไปตามถนนใน จากนั้นผู้มาร่วมงานยืนไว้อาลัยในเวลา 01.23 น.วันนี้ ตามเวลาท้องถิ่น ซึ่งเป็นเวลาก่อนเกิดอุบัติเหตุ 1 นาที พร้อมเสียงตีระฆังดังกังวาน ทำให้ผู้ร่วมงานถึงกับกลั้นน้ำตาไว้ไม่อยู่เมื่อนึกย้อนถึงเหตุการณ์ดังกล่าว

    ประธานาธิบดีวิคเตอร์ ยูชเชนโก มีกำหนดจะไปประกอบพิธีที่โบสถ์เพื่อเป็นเกียรติแก่พนักงานในโรงงานไฟฟ้าที่สละชีวิตตัวเองหรือได้รับผลกระทบจากกัมมันตภาพรังสีอย่างหนักในเวลาต่อมา ในขณะที่ผู้นำประเทศอย่างสหรัฐและรัสเซียประกาศพร้อมจะช่วยงบประมาณด้านการก่อสร้างสถานที่ฝังศพของผู้เสียชีวิต ส่วนทบวงพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (ไอเออีเอ) เรียกร้องให้ทั่วโลกร่วมมือกันมากขึ้น ในการใช้พลังงานนิวเคลียร์ในโลกที่เพิ่มสูงขึ้น

    อุบัติเหตุดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2529 แต่หลังเกิดเหตุทางการอดีตสหภาพโซเวียตเดิมพยายามปกปิดเรื่องดังกล่าว โดยใช้เวลาถึง 2 วันกว่าจะบอกความจริงแก่ชาวโลกแต่นั่นก็มีการสารกัมมันตรังสีกระจายไปยังยุโรปแล้วบางส่วน








    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></P>
    ที่มา : http://www2.tatc.ac.th/~sanong/20year.html
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เห็นข่าวเรื่องโรงงานพลังนิวเคลียร์ หลายที่ทั้งในยุโรป และ อเมริกา ระบบฉุกเฉินทำงานเอง กับความบกพร่องบางอย่าง แต่ไม่ได้เอามาลง

    ขอเอากระทู้นี้อัพเดทเรื่องเกี่ยวกับโรงงานพลังนิวเคลียร์เลยแล้วกัน
     
  6. 26ธค49 T-SUNAMI

    26ธค49 T-SUNAMI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +148
    ข่าวนิวเคลียร์ 2550

    ข่าวนิวเคลียร์ 2550

    จีนเลือก AP 1000
    --------------------------------------------------------------------------------
    บริษัทเวสติงเฮาส์ อิเล็กตริก แห่งพิตตส์เบิร์ก สหรัฐอเมริกาคว้าสัญญาก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ครั้งสำคัญในจีน
    หลังจากที่มีการเจรจานานนับหลายเดือน State Nuclear Power Technology Co.(SNPTC) ของจีนก็ประกาศเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2549 ว่าบริษัท China National Nuclear Co. (CNNC) ได้ตกลงเลือก AP 1000 ซึ่งเป็นแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์รุ่นที่ 3 ของ เวสติงเฮาส์เป็น
     
  7. 26ธค49 T-SUNAMI

    26ธค49 T-SUNAMI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +148
    [​IMG][​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" background=../../Web/For_In_ter_net/oldman_files/image001.jpg border=0><TBODY><TR><TD width="100%" background=linelb.jpg>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=118 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=1>
    [​IMG]
    </TD><TD width="46%" bgColor=#2df263 height=1>[พลังงานนิวเคลียร์คืออะไร][รังสีคืออะไร]</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=1>
    [​IMG]
    </TD><TD width="46%" bgColor=#5f78f1 height=1>ข้อมูลกากกัมมันตรังสีในประเทศไทย</TD></TR><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=22>[​IMG] </TD><TD width="46%" bgColor=#67f58e height=22>การใช้ประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย[​IMG]</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=22>
    [​IMG]
    </TD><TD width="46%" bgColor=#788df1 height=22>การจัดการกากกัมมันตรังสี[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=29>[​IMG] </TD><TD width="46%" bgColor=#b1fac6 height=29>กัมมันตภาพรังสีคืออะไร</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=29>
    [​IMG]
    </TD><TD width="46%" bgColor=#adbaf8 height=29>อุบัติเหตุ เชอร์โนบิล<SMALL><SMALL> &</SMALL></SMALL> ทรีไมล์ไอส์แลนด์</TD></TR><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=31>[​IMG] </TD><TD width="46%" bgColor=#cbfcd9 height=31>การได้รับรังสีทั่วไปจากแหล่งต่างๆ</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=31>
    [​IMG]
    </TD><TD width="46%" bgColor=#ced6fb height=31>แหล่งข้อมูลด้านพลังงานนิวเคลียร์</TD></TR><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>[​IMG] </TD><TD width="46%" bgColor=#effef3 height=30>กากกัมมันตรังสีคืออะไร</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>
    [​IMG]
    </TD><TD width="46%" bgColor=#edf0fe height=30>รังสีกับมนุษยชาติ</TD></TR><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>[​IMG] </TD><TD width="46%" bgColor=#f7fff9 height=30>ขีดจำกัดขนาดของรังสี, อาการเจ็บป่วย</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>
    [​IMG]
    </TD><TD width="46%" bgColor=#eff1fe height=30>การป้องกันอันตรายจากรังสี</TD></TR><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>[​IMG] </TD><TD width="46%" bgColor=#fdfffe height=30>คำศัพท์นิวเคลียร์</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>
    [​IMG]
    </TD><TD width="46%" bgColor=#ffffff height=30>อุบัติเหตุทางรังสีและหลักปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินทางรังสี[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>[​IMG]</TD><TD width="46%" bgColor=#fdfffe height=30>หน่วยวัดรังสี[รังสีกับสิ่งแวดล้อม][ผลกระทบจากรังสีต่อร่างกาย][​IMG]</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>[​IMG]</TD><TD width="46%" bgColor=#ffffff height=30>จำนวนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วโลก[​IMG][งานคุณภาพกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์][​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>[​IMG]</TD><TD width="46%" bgColor=#fdfffe height=30>ธาตุผี โคบอลท์(Co-60)</TD><TD align=middle width="4%" bgColor=#000000 height=30>[​IMG]</TD><TD width="46%" bgColor=#ffffff height=30>[ฟิล์มวัดรังส][​IMG][ตารางธาตุ][​IMG][พลังงานทดแทน][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
     
  8. 26ธค49 T-SUNAMI

    26ธค49 T-SUNAMI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +148
    [​IMG]
    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD width=760><TABLE width=760 border=0><TBODY><TR><TD width=100>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom width=650>
    [​IMG]
    <TABLE cellPadding=0 width=614 border=0><TBODY><TR><TD width=60>[​IMG]</TD><TD width=63>[​IMG]</TD><TD width=70>[​IMG]</TD><TD width=56>[​IMG]</TD><TD width=61>[​IMG]</TD><TD width=60>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD width=36>[​IMG]</TD><TD width=81>
    [​IMG]
    </TD><TD width=55>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE borderColor=#99cccc cellSpacing=0 cellPadding=2 width=760 border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=752 height=61>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left height=64><TABLE width=744 border=0><TBODY><TR><TD width=746>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=115><TABLE width="98%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle height=26>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellPadding=0 width=700 border=0><TBODY><TR><TD width=130>
    [​IMG]
    </TD><TD width=564>สมาคมนิวเคลียร์ฯ จัดงานเลี้ยงแสดงมุทิตาจิต ต่อ ศาสตราจารย์ ดร.ถิรพัฒน์ วิลัยทอง และ ดร.มนูญ อร่ามรัตน์ ที่ปรึกษาสมาคมฯ เนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2549 ณ ห้องบัวขาว อาคารฝึกประสบการณ์วิชาชีพ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=26>[​IMG]</TD><TD>สธ.หาค่ามาตรฐาน “รังสีรักษา” ฉบับแพทย์ไทย [​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=26>[​IMG]</TD><TD>เกาหลีเหนือทดลองอาวุธนิวเคลียร์
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=26>[​IMG]</TD><TD>คณะกรรมการบริหารสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=26>[​IMG]</TD><TD>การการสัมมนาระดับภูมิภาค เรื่อง การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=26>[​IMG]</TD><TD>คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ชุดใหม่ (วาระปี 2549-2550) </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="4%" height=26> </TD><TD width="96%"> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left height=64><TABLE cellPadding=5 width=724 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[​IMG]่ บทความที่ผ่านมาทั้งหมด เปิดดูได้ที่หน้า วิชาการ </TD></TR><TR><TD vAlign=top width=355></TD><TD vAlign=top width=343></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=center align=left><TABLE width=731 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=124>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=306><TABLE width=301 border=0><TBODY><TR><TD width=295 bgColor=#006699>Einstein's Section</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD vAlign=top> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=287><TABLE width=287 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#006699>Link เกี่ยวกับไอน์สไตน์</TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE width=277 border=0><TBODY><TR><TD width=54>[​IMG]</TD><TD width=213>สหประชาชาติ กำหนดให้ 2005 เป็นปีแห่งฟิสิกส์ของโลก </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=center align=left><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width=704 border=0><TBODY><TR><TD width=700 height=30><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width=102 bgColor=#006633 border=0><TBODY><TR><TD width=98>
    Download
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD>
    • หนังสือ การใช้รังสีในการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค เขียนโดย รศ.พ.ญ.ภาวนา ภูสุวรรณ รศ.พ.ญ.อรสา ชวาลภาฤทธิ์ และ รศ.เรือเอกหญิง พ.ญ.เยาวลักษณ์ ชาญศิลป์
      download file: nst-book-nuclear-med.pdf (7.0 Mb) [​IMG]
    • ใบสมัครสมาชิกสมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย member.pdf[​IMG]
    • โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ nulearpower.ppt (30 Mb) บรรยายให้แก่สภาหอการค้าไทย โดย รศ.พล.ต.ดร.ชัยณรงค์ เชิดชู นายกสมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย หรือไฟล์ในรูปแบบ Acrobat (nuclearpower.pdf) ขนาดไฟล์ 4 MB
    • อันตรายจากรังสี download file: nst-rad-danger.pdf (1.1 Mb)
    • มารู้จักเชื้อเพลิงนิวเคลียร์กันเถอะ nuclear-fuel.pdf (1.1 MB)
    • จดหมายข่าวสมาคมฯ ฉบับที่ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ม.ค.-ก.พ.. 2549 (nst newsletter 2.3 MB)
    • new_paper_laos.doc (10Mb)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left height=55><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=731 border=0><TBODY><TR><TD width=714>[​IMG] เว็บไซต์แนะนำ</TD><TD width=10> </TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width=732 border=0><TBODY><TR><TD width=120>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=237>สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (Thailand Institue of Nuclear Technology)</TD><TD width=138>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=217>สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ www.oaep.go.th </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>สมาคมฟิสิกส์ไทย http://www.thps.org/</TD><TD>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>สนธิสัญญา ว่าด้วยการห้ามทดลอง อาวุธนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ CTBT www.thaindc.oaep.go.th </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>ศูนย์บริการ ฉายรังสีแกมมา และวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี ม.เกษตรศาสตร์ http://www.rdi.ku.ac.th/gamma-irradiation/ </TD><TD>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>Link โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>ศูนย์ความรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี STKC กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ www.stkc.go.th</TD><TD>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>โครงการวิจัยฟิสิกส์ และวิทยาการก้าวหน้า สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ www.oaep.go.th/physics </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>ศูนย์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีนิวเคลียร์ www.oaep.go.th/nstkc </TD><TD> </TD><TD vAlign=top> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=center align=left height=55>
    • ท่านที่มีข้อเสนอแนะ หรือต้องการเผยแพร่ผลงานหรือบทความ ติดต่อเพื่อส่งเรื่องลงในเวบไซต์ หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของสมาคมฯ ต้องการสมัครสมาชิกใหม่ ปรับปรุงข้อมูลสมาชิก ติดต่อได้ที่เลขาธิการสมาคมฯ
      คุณอารีรัตน์ email: areeratt@oaep.go.th หรือ areerattk@gmail.com
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left height=55><TABLE cellPadding=10 width=728 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center width=567 height=187>ที่ทำการ ... สมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย
    สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ 16 ถ.วิภาวดีรังสิต ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ 10900
    โทร. 02-5795230 ต่อ 541,542 โทรสาร 02-5620118

    Email adress: wichian4@yahoo.com
    Office: Nuclear Soceity of Thailand (NST),
    Office of Atoms for Peace (OAP)
    16 VibhawadeeRangsit Rd., Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand
    Tel. 662-5795230 ext 541, 542 Fax. 662-5620118 Email adress: wichian4@yahoo.com
    สถิติผู้เข้าชม ตั้งแต่ 10 มิ.ย. 2547<SCRIPT language=javascript>var data, p;var agt=navigator.userAgent.toLowerCase();p='http';if((location.href.substr(0,6)=='https:')||(location.href.substr(0,6)=='HTTPS:')) {p='https';} data = '&r=' + escape(document.referrer) + '&n=' + escape(navigator.userAgent) + '&p=' + escape(navigator.userAgent)if(navigator.userAgent.substring(0,1)>'3') {data = data + '&sd=' + screen.colorDepth + '&sw=' + escape(screen.width+ 'x'+screen.height)};document.write('');document.write('[​IMG] ');</SCRIPT> [​IMG]
    </TD><TD width=115>แผนที่
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left height=55></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left height=55>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.nst.or.th/
     
  9. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,680
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** เชอร์โนบิล ****

    ไม่มีผู้ใดรล่วงรู้ว่า...
    เหตุการณ์ที่....เชอร์โนบิล ...
    ผู้คนเรียกหา อ้อนวอน "พระเจ้า"
    สิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือ โลกุตตระ...จึงเมตตาสงสารดวงวิญญาณ
    โปรดช่วยไว้ ไม่ให้ลุกลาม !!!

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  10. 26ธค49 T-SUNAMI

    26ธค49 T-SUNAMI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +148
    <!-- TOP BANNER SECTION BEGINS -->
    http://news.thaieurope.net/content/view/1295/64/
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=800 bgColor=#fff border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[​IMG] </TD></TR><TR bgColor=#003399><TD colSpan=2><MARQUEE scrollAmount=-40 behavior=slide loop=1 align="right"><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>ติดตาม เตือนภัย ไขปัญหา เรื่องยุโรปเพื่อไทย โดยสถานเอกอัครราชทูตและหน่วยราชการไทยในยุโรปทุกแห่ง </TD></TR></TBODY></TABLE></MARQUEE>
    </TD></TR><TR><TD class=PageHeader>[​IMG] </TD><TD class=PageHeader align=right width=200 background=http://news.thaieurope.net/templates/dw_template_v2_60celebrations/images/dw_head_right.jpg bgColor=#405395 height=125><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>
    <FORM name=login action=http://news.thaieurope.net/ method=post target=_self>Username : <INPUT class=inputbox alt=username size=15 name=username>
    Password : <INPUT class=inputbox style="FONT-FAMILY: Verdana" type=password alt=password size=17 name=passwd>
    <INPUT type=hidden value=login name=option> <INPUT class=button type=submit value=Login name=Submit>
    <INPUT id=ckb type=checkbox alt="Remember Me" value=yes name=remember> Remember me​
    Lost password ? Register
    <INPUT type=hidden value=login name=op2> <INPUT type=hidden value=enThai2 name=lang> <INPUT type=hidden value=/index.php?option=com_content&task=view&id=1295&Itemid=64 name=return> <INPUT type=hidden value=0 name=message> </FORM></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR bgColor=#003366><TD><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD noWrap>หน้าหลัก เว็บบอร์ด FAQ's ติดต่อเรา ลิ๊งค์น่าสนใจ ค้นหา About us </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD><FORM action=http://news.thaieurope.net/ method=post target=_self>
    <INPUT class=inputbox onblur="if(this.value=='') this.value='ค้นหา ...';" onfocus="if(this.value=='ค้นหา ...') this.value='';" alt=search value="ค้นหา ..." name=searchword>​
    <INPUT type=hidden value=search name=option> </FORM></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR bgColor=#003366><TD colSpan=2>
    Tuesday, 13 February 2007
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <!-- END of TOP PageHeader SECTION --><!-- MAIN CONTENT AREA -->
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=778 bgColor=#ffffff border=0><!-- BEGIN the LEFT COLUMN for Nav Menu --><TBODY><TR vAlign=top><TD id=leftnav width=180>[​IMG] <TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR align=left><TD>[​IMG]เศรษฐกิจ [​IMG]การค้า
    [​IMG]เกษตร
    [​IMG]การเงิน/การคลัง
    [​IMG]การลงทุน
    [​IMG]จับคู่-ธุรกิจ
    [​IMG]การท่องเที่ยว
    [​IMG]ปฎิทินธุรกิจ
    </TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]GSP</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]ไข้หวัดนก</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]Rapid Alerts</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]ท่านถาม-เราตอบ</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]วิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]พลังงาน/สิ่งแวดล้อม</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]การศึกษา/วัฒนธรรม</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=moduletable_thaicomm cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR align=left><TD>[​IMG]ชุมชนไทยในยุโรป</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]กฎระเบียบกงสุล</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]ไขปัญหากงสุล</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR align=left><TD>[​IMG]</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]การเมือง [​IMG]ไทย-ยุโรป
    [​IMG]การเมือง/การต่างประเทศ EU
    </TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]ASEM / ASEAN-EU</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TH vAlign=top>รู้ลึกเรื่อง EU และ ยุโรป </TH></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR align=left><TD>[​IMG]รายงานพิเศษ</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]บทสัมภาษณ์</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]บทวิเคราะห์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TH vAlign=top>เปิดแฟ้ม ... </TH></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR align=left><TD>[​IMG]สหภาพยุโรป</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]ประเทศยุโรป</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]ประเด็นสำคัญ</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]กฎระเบียบ EU</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TH vAlign=top>Blog พูดคุย ... </TH></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR align=left><TD>[​IMG]Past Revisited</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]Hotline from the East</TD></TR><TR align=left><TD>[​IMG]Viewpoint</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TH vAlign=top>ปฎิทินธุรกิจ/กิจกรรม </TH></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=mod_events_latest_first>15 Feb :: Biofach 2007, Germany</TD></TR><TR><TD class=mod_events_latest>20 Feb :: Texworld Spring 2007, France</TD></TR><TR><TD class=mod_events_latest>27 Feb :: North Atlantic Seafood Forum and Exhibition, Norway</TD></TR><TR><TD class=mod_events_latest>28 Feb :: Climatizacion, Spain</TD></TR><TR><TD class=mod_events_latest>1 Mar :: Alimentaria, Spain</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD><LINK href="modules/mod_events_cal.css" type=text/css rel=stylesheet><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD class=mod_events_monthyear>
    February 2007​
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=mod_events_table cellSpacing=0 cellPadding=2 align=center><TBODY><TR class=mod_events_dayname><TD class=mod_events_td_dayname>S</TD><TD class=mod_events_td_dayname>M</TD><TD class=mod_events_td_dayname>T</TD><TD class=mod_events_td_dayname>W</TD><TD class=mod_events_td_dayname>T</TD><TD class=mod_events_td_dayname>F</TD><TD class=mod_events_td_dayname>S</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>28</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>29</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>30</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>31</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>1</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>2</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>3</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_daywithevents>4</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>5</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>6</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>7</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>8</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>9</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>10</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_daynoevents>11</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>12</TD><TD class=mod_events_td_todaynoevents>13</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>14</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>15</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>16</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>17</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_daynoevents>18</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>19</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>20</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>21</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>22</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>23</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>24</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_daynoevents>25</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>26</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>27</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>28</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>1</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>2</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>3</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=140><TBODY><TR><TD class=mod_events_thismonth align=middle>This month </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD class=mod_events_monthyear>
    March 2007​
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=mod_events_table cellSpacing=0 cellPadding=2 align=center><TBODY><TR class=mod_events_dayname><TD class=mod_events_td_dayname>S</TD><TD class=mod_events_td_dayname>M</TD><TD class=mod_events_td_dayname>T</TD><TD class=mod_events_td_dayname>W</TD><TD class=mod_events_td_dayname>T</TD><TD class=mod_events_td_dayname>F</TD><TD class=mod_events_td_dayname>S</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>25</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>26</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>27</TD><TD class=mod_events_td_dayoutofmonth>28</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>1</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>2</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>3</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_daynoevents>4</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>5</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>6</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>7</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>8</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>9</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>10</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_daynoevents>11</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>12</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>13</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>14</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>15</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>16</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>17</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_daynoevents>18</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>19</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>20</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>21</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>22</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>23</TD><TD class=mod_events_td_daywithevents>24</TD></TR><TR><TD class=mod_events_td_daynoevents>25</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>26</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>27</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>28</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>29</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>30</TD><TD class=mod_events_td_daynoevents>31</TD></TR><TR></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=140><TBODY><TR><TD class=mod_events_thismonth align=middle>Next month </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TH vAlign=top>ค้นเรื่องเก่า </TH></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]



    </TD><!-- END the LEFT COLUMN --><!-- BEGIN the CENTER COLUMN --><TD id=centernav><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">โครงการ International Thermo Nuclear Energy Reactor (ITER) </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%">[​IMG] </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width="70%" colSpan=2>โดย คณะผู้แทนไทยประจำประชาคมยุโรป </TD></TR><TR><TD class=createdate vAlign=top colSpan=2>Tuesday, 30 May 2006 </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [​IMG] Photo: ITER
    โครงการ International Thermo Nuclear Energy Reactor หรือ ITER เป็นโครงการความร่วมมือด้านพลังงานนิวเคลียร์ ระหว่างสหภาพยุโรปและประเทศพันธมิตรในปัจจุบันอีก 6 ประเทศ ซึ่งได้แก่ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น รัสเซีย เกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา โครงการดังกล่าวมีเป้าหมายที่จะสร้างเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทดลองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เพื่อเป็นแหล่งสร้างพลังงานทดแทนขนาดใหญ่
    โครงการ ITER ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1985 ซึ่งเกิดจากความร่วมมือระหว่าง สหภาพโซเวียต สหภาพยุโรป(ผ่านทาง URATOM) สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ระยะการวางโครงร่างและออกแบบทางวิศวกรรมเสร็จสิ้นลงในปี ค.ศ. 2001 ใช้งบวิจัยและพัฒนากว่า 650 เหรียญสหรัฐฯ (ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว สหภาพโซเวียตได้เกิดการล่มสลายลง สหพันธรัฐรัสเซียจึงเขารับช่วงต่อโครงการ และสหรัฐอเมริกาได้ขอถอนตัวออกจากความร่วมมือดังกล่าวในปี ค.ศ. 1999 แต่สหรัฐอเมริกาได้กลับเข้าร่วมโครงการใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 2003) หลังจากเสร็จสิ้นระยะการดำเนินการออกแบบจึงได้เริ่มมีการประชุมถึงแผนปฎิบัติการ และการก่อสร้าง โดยได้เปิดการประชุมเจรจาร่วมกับประเทศคานาดา(ซึ่งได้ถอนตัวไปในปี ค.ศ. 2003) จีน เกาหลีใต้ และอินเดีย( เข้าร่วมโครงการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 2005)
    โครงการ ITER นับว่าเป็นโครงการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้งบประมาณสูงที่สุดในโลก โดยมีมูลค่าการลงทุนก่อสร้างถึง 4.6 พันล้านยูโร ใช้เวลาในการก่อสร้าง 10 ปี และมีอายุการดำเนินงานเตาปฏิกรณ์ 20 ปี ซึ่งเมื่อนับรวมระยะเวลาโครงการทั้งหมด 30 ปี จะมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนและดำเนินการสูงถึง 10 พันล้านยูโร
    หลังจากการประชุมเจรจาที่ยืดเยื้อมานานหลายปี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 2005 ที่ประชุมได้บรรลุข้อตกลงร่วมกันในการก่อสร้างที่ตั้งโครงการหลักที่เมือง Cadarache ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส ซึ่งข้อตกลงดังกล่าวเกิดจากการประนีประนอมระหว่างสหภาพยุโรป และญี่ปุ่น โดยนักวิจัยชาวญี่ปุ่นจะต้องได้เป็นหัวหน้าโครงการ ITER และจะมีนักวิจัยชาวญี่ปุ่นเข้าทำงานในที่ตั้งโครงการดังกล่าวในอัตราส่วน 20 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้โครงการสนับสนุนต่างๆที่เหลือจะต้องก่อตั้งในประเทศญี่ปุ่น และสหภาพยุโรปจะต้องให้การสนับสนุนงบประมาณมากถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของการก่อสร้างในประเทศฝรั่งเศส โดยพันธมิตรอื่นๆจะให้การสนับสนุนงบประมาณเพียงประเทศละ 10 เปอร์เซ็นต์
    โครงการ ITER เป็นโครงการคู่ขนานกับโครงการ International Fusion Materials Irradiation Facility (IFMIF) ซึ่งเป็นโครงการพัฒนาวัตถุดิบที่มีความเหมาะสมสำหรับใช้ในเตาปฎิกรณ์นิวเคลียร์ITER นอกจากนี้ยังมีโครง DEMO หรือ โรงงานไฟฟ้าสาธิต ซึ่งจะทำหน้าที่ผลิตพลังงานไฟฟ้าสำหรับใช้ในเชิงพาณิชย์
    องค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมได้ออกมาต่อต้านโครงการ ITER ว่าเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณโดยมิได้สร้างงานให้แก่ประชาชน และได้แสดงความเป็นห่วงว่า โครงการขนาดใหญ่ดังกล่าวดังกล่าวจะเบียดเบียนงบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนา(R&D)พลังงานไม่หมดไป
    ฝ่ายสนับสนุนการใช้พลังงานนิวเคลียร์ แสดงความคิดเห็นว่า ถ้าโครงการ ITER ประสบความสำเร็จจะช่วยลดต้นทุนในการผลิตพลังงาน และสามารถสร้างพลังงานสะอาดเพื่อใช้ทดแทนพลังงานจากก๊าซธรรมชาติและน้ำมันได้ นอกจากนี้ได้มีการประเมินว่าโครงการดังกล่าวจะสามารถสร้างงานได้ประมาณ 10,000 ตำแหน่ง
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=sectiontableheader>ข้อคิดเห็น</TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD vAlign=top>โดย paveen on 2006-05-31 10:14:23 <HR>เป็นพลังงานแห่งอนาคตจริงๆค่ะ (อีกกว่า 30 ปี ถึงจะจบโครงการ)

    อ่านข่าวจากที่อื่น เห็นนักวิทยาศาสตร์เขาว่ากันว่า ตามทฤษฎี การนำพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชั่นมาใช้ มีความปลอดภัยสูงกว่านิวเคลียร์ฟิชชั่น (แบบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน)

    แต่เขาไม่แน่ใจกันว่าในทางปฏิบัติ พอใช้ไปนานๆ จะมีผลกระทบอย่างไรกับเตาปฏิกรณ์ เลยยังไม่แน่ใจเรื่องความปลอดภัย 100% เลยต้องทดลองดูก่อน

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    กรุณาลงทะเบียนเป็นสมาชิก เพื่อจะได้ร่วมแสดงข้อคิดเห็น

    Powered by AkoComment 2.0!
    </TD></TR><TR><TD class=modifydate align=left colSpan=2>Last Updated ( Tuesday, 30 May 2006 ) </TD></TR></TBODY></TABLE><CENTER><HR width="100%" color=#000099 SIZE=1></CENTER><TABLE style="MARGIN-TOP: 25px" align=center><TBODY><TR><TH class=pagenav_prev>< Prev </TH><TD width=50> </TD><TH class=pagenav_next>Next > </TH></TR></TBODY></TABLE>[ Back ]


    <!-- BEGIN addition for ver 2.0 --><TABLE id=newslink width="100%" bgColor=#ffffff valign="top"><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width="100%" colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=top></TD><TD vAlign=top></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- END addition for ver 2.0 -->

    <!--
    Copyright 2000 - 2005 Miro International Pty Ltd. All rights reserved.
    Mambo is Free Software released under the GNU/GPL License.​
    -->
    ...................................................................................................................
    Copyright © 2005 by thaieurope.net. All Rights Reserved.
    Powered by [​IMG] <!-- [​IMG] [​IMG] -->​
    </TD><!-- BEGIN the RIGHT COLUMN --><TD id=rightnav vAlign=top align=middle width=180><TABLE class=moduletable cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TH vAlign=top>Related Items </TH></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>


    [​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=778 align=center border=0><TBODY><TR align=right bgColor=#003366 height=20><TD id=footer background=http://news.thaieurope.net/templates/dw_template_v2_60celebrations/images/dw_foot.gif colSpan=2>contact : webmaster@thaieurope.net </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <!-- 1171401819 -->
     
  11. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,680
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** ไม่ยั่วยุกัน ****

    อิหร่าน ไม่ยั่วยุ ได้ไหม ?
    เกาหลีเหนือ ไม่ยั่วยุ ได้ไหม ?
    จีน ไม่ยั่วยุ ได้ไหม ?
    รัสเซีย ไม่ยั่วยุ ได้ไหม ?

    อเมริกา อดทน ได้ไหม !!!
    สุดท้าย...ไม่มีใครชนะ....ต่างระส่ำระสาย หาที่ยืนที่อาศัย ยากลำบาก !!!!
    แล้วจะทำอย่างไร
    เคยคิดต่อบ้างไหม...ว่า ยิงอาวุธนำวิถี ....แล้วจะเกิดอะไรตามมา !!!
    พระเจ้า...เทพเจ้า ของท่าน...เตือนแล้วนะ

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  12. คนโกหก

    คนโกหก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    481
    ค่าพลัง:
    +1,413
    หลวงปู่เทพโลกอุดร จุติมาเจรจาช่วยกู้โลก ภัย ปี 2000 ที่ทำนายไว้จึงไม่เกิด
    ปัจจุบัน พระอวโลกิเตศวร ช่วยโปรดสัตว์ปูทางเรื่องสันติภาพทั่วโลก โดยไม่
    จำกัดศาสนา พระกษิติครรภ์ช่วยไทยให้พ้นภัยที่ทำนายไว้


    บางคนเห็นว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น จึงไม่รู้ว่าเบื้องหลังมีใครช่วยโลกโดยไม่แสดงตนบ้าง?
     

แชร์หน้านี้

Loading...