heng-heng
ความเคลื่อนไหวล่าสุด:
26 กุมภาพันธ์ 2010
วันที่สมัครสมาชิก:
1 เมษายน 2008
โพสต์:
46
พลัง:
38

โพสต์เรตติ้ง

ได้รับ: ให้:
ถูกใจ 38 0
อนุโมทนา 0 0
รักเลย 0 0
ฮ่าๆ 0 0
ว้าว 0 0
เศร้า 0 0
โกรธ 0 0
ไม่เห็นด้วย 0 0

ผู้ติดตาม 1

แชร์หน้านี้

heng-heng

Active Member

heng-heng เห็นครั้งสุดท้าย:
26 กุมภาพันธ์ 2010
    1. pucca2101
    2. pucca2101
      pucca2101
      มาแย้ว.........หวัดดีจ้ะ ^__^ คิดถึงปุ๊กก้ามากเยยใช่ป่าวจ้ะ อิอิ เอาบุญมาให้อนุโมทนาก่องนอนจะได้หลับฝันดีนะจ้ะ
      มะวานไปทำบุญ
      - ถวายสังฆทาน
      - ซื้อโลงให้ศพไร้ญาติ
      - ชำระหนี้สงฆ์
      - เติมน้ำมันตะเกียง
      - ตักบาตรพระประจำวันเกิด
      - ไถ่ชีวิตโค กระบือ
      - ซื้อหญ้า เลี้ยง โค กระบือ
      - ฟังเทศน์ เวียนเทียน

      [IMG]
    3. คุณพัน
    4. คุณพัน
    5. Nud
    6. pucca2101
      pucca2101
      คิหิสุข หรือ กามโภคีสุข มี ๔ อย่าง

      อันความสุข แบบคฤหัสถ์ ชัดแจ่มแจ้ง
      มีสี่อย่าง จะแสดง แทงให้เห็น
      สุขแบบนี้ ต้องสะสม บ่มบำเพ็ญ
      พึงละเว้น จากความชั่ว กลั้วอบาย

      หนึ่งมีทรัพย์ ด้วยขันแข็ง แรงหยาดเหงื่อ ( อัตถิสุข )
      โดยไม่เบื่อ ไม่ระอา แม้ค้าขาย
      ไม่เอาเปรียบ ด้วยวิธี ที่แยบคาย
      ไม่แหนงหน่าย กับงานดี มีให้ทำ

      ข้อที่สอง สุขด้วยการ เจือจานให้ ( โภคสุข )
      ญาติผู้ใหญ่ ควรอุ้มชู เลี้ยงดูล้ำ
      หมั่นทำบุญ เพื่ออุดหนุน ค้ำจุนธรรม
      ใครระกำ ควรต้องช่วย ด้วยสมควร

      ข้อที่สาม แสนสุขใจ ไม่มีหนี้ (อนณสุข )
      การกินอยู่ แต่พอดี สุขีล้วน
      การเป็นหนี้ เหมือนกุ้งฝอย ลอยในอวน
      จิตปั่นป่วน ความสุขใจ ย่อมไม่มี

      ข้อที่สี่ ทำสิ่งใด ให้สุจริต ( อนวัชชสุข )
      ทั้งความคิด การพูดจา อย่าป้ายสี
      สิ่งใดชั่ว ไม่เกลือกกลั้ว มั่วราคี
      ควรประพฤติ แต่กรรมดี มีศีลธรรม

      นี่คือสุข ที่ควรสร้าง อย่างชาวบ้าน
      แต่สุขนี้ ใช่ยาวนาน ชื่นบานล้ำ
      ต้องสร้างบุญ หนุนบำเพ็ญ เป็นประจำ
      จึงพ้นกรรม นำสุขี ที่ยั่งยืน
    7. pucca2101
      pucca2101
      สุขของคฤหัสถ์ หรือ คิหิสุข หรือ กามโภคีสุข ๔ (สุขของชาวบ้าน, สุขที่ชาวบ้านควรพยายามเข้าถึงให้ได้สม่ำเสมอ, สุขอันชอบธรรมที่ผู้ครองเรือนควรมี )
      ๑. อัตถิสุข (สุขเกิดจากความมีทรัพย์ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตนโภคทรัพย์ที่ได้มาด้วยน้ำพักน้ำแรงความขยันหมั่นเพียรของตน และโดยชอบธรรม)
      ๒. โภคสุข (สุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตนได้ใช้ทรัพย์ที่ได้มาโดยชอบนั้น เลี้ยงชีพ เลี้ยงผู้ควรเลี้ยง และบำเพ็ญประโยชน์)
      ๓. อนณสุข (สุขเกิดจากความไม่เป็นหนี้ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตนเป็นไท ไม่มีหนี้สินติดค้างใคร)
      ๔. อนวัชชสุข (สุขเกิดจากความประพฤติไม่มีโทษ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตนมีความประพฤติสุจริต ไม่บกพร่องเสียหาย ใครๆ ติเตียนไม่ได้ ทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ )

      บรรดาสุข ๔ อย่างนี้ อนวัชชสุข มีค่ามากที่สุด
    8. ประทีปแก้ว
      ประทีปแก้ว
      สวัสดีวันพระค่ะ วันนี้ประทีปแก้วก็ตักบาตรทำบุญ ทำวัตรเช้า - เย็น และกรรมฐานค่ะ คุณเฮงเฮง อนุโมทนาบุญร่วมกันนะคะ
      [IMG]
      [IMG]
    9. เฮียปอ ตำมะลัง
      เฮียปอ ตำมะลัง
      [IMG]

      สวัสดีวันพระ ครับคุณheng-heng

      ด้วยความศรัทธาต่อพระรัตนตรัย ข้าพเจ้าสมาทานศีล ๘ อุโบสถ
      ด้วยกุศลอันนี้ดีแล้วนี้ ข้าพเจ้าขอแบ่งบุญให้แก่เพื่อนของข้าพเจ้า
      ขอให้เพื่อน ๆ ของข้าพเจ้าจงมีแต่ความสุข สุขภาพแข็งแรง สมหวังในสิ่งที่ตั้งใจด้วยเทอญ
    10. pucca2101
      pucca2101
      หวัดดีจ้ะ ^___^ เหนื่อยจังเยยอะ วันนี้ปุ๊กก้าไปอัดรายการตีสิบ ช่วงดันดารามา ยังไงก้ช่วยกันเชียร์ปุ๊กก้าหน่อยน๊า ^^

      http://www.youtube.com/watch?v=PNKOB...eature=related
      [IMG]
    11. บุษบากาญจ์
      บุษบากาญจ์
      สวัสดีค่ะยินดีได้รู้จักนะคะ
    12. deejaimark
    13. deejaimark
    14. เฮียปอ ตำมะลัง
      เฮียปอ ตำมะลัง
      วันนี้ไม่ออกไปเที่ยวไหนหรือครับ ?
    15. เฮียปอ ตำมะลัง
      เฮียปอ ตำมะลัง
      ปัญญาคือความฉลาดเกิดแต่เรียนและคิด

      ทุกข์เป็นสิ่งไม่พึงปรารถนาสูงสุด ปัญญาเท่านั้นจะทำให้บรรลุความปรารถนาสูงสุดนั้นได้ ปัญญาจึงเป็นสิ่งสูงสุด
      ผู้มีปัญญาจึงเป็นผู้สูงสุด และศีลเท่านั้นที่เป็นฐานแห่งปัญญา ต้องตามพระพุทธภาษิตมีความว่า
      “ศีลเท่านั้นเป็นเลิศในโลกนี้ ส่วนผู้มีปัญญาเป็นผู้สูงสุด”
      ~~~~~~::::::::::~~~~~~::::::::::~~~~~~
      สวัสดีครับคุณสองเฮง
    16. คุณพัน
    17. คุณพัน
      คุณพัน
      สวัสดีค่ะ ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ
    18. deejaimark
    19. deejaimark
    20. deejaimark
  • Loading...
  • Loading...
Loading...