ติดตามสถานะการณ์

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย สุกิจSukit, 8 มิถุนายน 2013.

  1. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    ความจริงหลังกึ่งพุทธกาล
    25 กันยายน 13 เขาสู่สภาวะ Killing Time

    อาจารย์ Piyacheep S.Vatcharobol เตือนซ้ำ "ช่วงระยะเวลาอันตรายคือ ๒๕ กันยายน ถึง ๖ ตุลาคม"

    "สนามแม่เหล็กโลก สนามแม่เหล็กดาวอังคาร และสนามแม่เหล็กดวงอาทิตย์ จะปั่นป่วนครั้งมโหาฬาร เพราะดาวจะเรียงตัวครั้งใหญ่ในวันที่ ๑ ตุลาคมศกนี้ ขณะที่ FEMA, NASA, CIA,MOSSAD และ KGB รวมทั้งกองทัพชาติมหาอำนาจสั่งเตรียมความพร้อมเกิน ๑๐๐ % ด้วยอิทธิพลของการเรียงตัวของดาวในระนาบต่างๆในวันที่ ๑ ตุลาคม"
    https://www.facebook.com/Piyacheep?ref=stream&hc_location=stream


    กากบาทไว้ที่ปฎิทิน อีก 20 วันก็จะครบกำหนดสำหรับการเตรียมการทุกอย่างของ FEMA ให้เสร็จสิ้นทัน ก่อน 1 ตุลาคม 13 FEMA Preparing For Disaster By October 1st

    คำเตือนจาก เจสัน FEMA Preparing For Disaster By October 1st- "DHS Buiding An Army" Warns Marine Colonelhttp://www.youtube.com/watch?v=UJiQkKoIeFw
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      118.5 KB
      เปิดดู:
      1,703
  2. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ความจริงหลังกึ่งพุทธกาล
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=UJiQkKoIeFw]FEMA Preparing For Disaster By October 1st- "DHS Buiding An Army" Warns Marine Colonel - YouTube[/ame]
    FEMA Preparing For Disaster By October 1st- "DHS Buiding An Army" Warns Marine Colonel
    youtube.com
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 59 นาทีที่แล้ว
     
  3. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    ความจริงหลังกึ่งพุทธกาล
    1 ชั่วโมงที่แล้ว ·
    ความเงียบสงบก่อนพายุใหญ่กำลังจะมา

    วิดีโอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ทำนายอนาคตที่ได้ทำนายในพระคัมภีร์และสิ่งที่ได้เกิดขึ้นในขณะนี้และที่จะเกิดขึ้นในเร็ว ๆ

    End Times Warning - Mazzaroth and The Appointed Times 2014 (เผยแพร่เมื่อ 26 ส.ค. 2013)
    End Times Warning - Mazzaroth and The Appointed Times 2014 - YouTube

    พวกเขาไม่ต้องการให้ทุกคนรู้เกี่ยวกับการมีความจำเป็นเร่งด่วนในการเตรียมการณ์อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน มีเพียงเวปการอยู่รอดและข่าวความเคลื่อนไหวที่ไม่ออกสื่อใหญ่เท่านั้นที่พอจะมีข้อมูลให้ทุกคนได้ติดตาม

    เวปข่าวทำนายต่างๆดูจะคึกคักเป็นพิเศษปล่อยคลิปแนวเตือนออกมาค่อนข้างบ่อยในระยะหลังๆ คงเพื่อเทียบเคียงสิ่งที่เกิดขึ้น เป็นช่วงเวลาที่ชาวคริสแนะนำทุกท่านงัดคำทำนายสายต่างๆ ขึ้นมาทบทวนอีกครั้ง!

    อาด-เป็น-เพียง-ความ-เงียบ-สะ-หงบ-ก่อน-พา-ยุ-ไหย่-กำ-ลัง-จะ-มา 555
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      73.1 KB
      เปิดดู:
      1,579
  4. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    ความจริงหลังกึ่งพุทธกาล
    51 นาทีที่แล้ว ·
    ล้านล้านปลาตายทั่วโลก โดยที่นักวิทยาศาตร์ชั้นนำไม่สนใจ

    การรวบรวมลิ้งค์ที่มาของการตายทั่วโลกระยะเวลาเพียงสองเดือน แต่มีจำนวนมากของปลาตายที่มากจนคำนวนไม่ถูก.
    Miljoenen dode vissen wereldwijd | Gewoon-Nieuws.nl

    ทุกครั้งของการตายพวกเขาบอกแค่ว่าออกซิเจนในน้ำต่ำ.
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      100.9 KB
      เปิดดู:
      1,600
  5. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    The Event แชร์ รูปภาพ ของ Adepto Perfectus = dutchsinse
    1 ชั่วโมงที่แล้ว ·
    Several earthquakes at Yellowstone over the past 24 hours..
    แผ่นดินไหวหลายครั้ง ที่เยลโล่สโตนตลอด 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา
    Yellowstone Seismogram Thumbnails - 9/11/2013
    1 คนที่ถูกใจ
    ถูกใจ
    แสดงความคิดเห็น
    แชร์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      276.8 KB
      เปิดดู:
      1,696
  6. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      102.4 KB
      เปิดดู:
      1,573
  7. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Adepto Perfectus = dutchsinse
    8 ชั่วโมงที่แล้ว ·
    Heat wave across the midwest... hottest temps here in St. Louis.. currently 96F / 36C @ 6pm !

    [​IMG]

    Record heat wave blasts U.S. Midwest
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      629.2 KB
      เปิดดู:
      1,552
  8. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Piyacheep S.Vatcharobol
    วันนี้ เวลา 0:05 น.
    Southern Australia is being rattled by hundreds of quakes- and scientists aren’t sure why

    ยังไม่รู้อีกนะครับท่านว่าสาเหตุจากแผ่นดินไหวมาจากอะไร
    ก่อนปี 2009 ไหวเพียง ๕๐ ครั้ง
    แต่จาก 2009 ถึง 10 กันยายน 2013 ไหวกว่า ๗๐๐ ครั้ง

    ท่านไม่ทราบแต่เครือข่ายเราทราบสาเหตุนะขอรับ

    Posted on September 10, 2013 by The Extinction Protocol
    September 10, 2013 – AUSTRALIA - Scientists in Victoria are attempting to learn more about the increase in the number of earthquakes in the Gippsland region. Seismologists are describing the region as an earthquake hotspot. There were only 50 earthquakes recorded up until 2009, but since then there have been 700. The activity has been particularly high in the Strzelecki Ranges which lie between the Latrobe Valley and the Gippsland coastline. Locals have been intrigued by the tremors for years. Gary Gibson from the University of Melbourne says the motion in Gippsland is high. “There are other spots that are active for a period of time but they’re active for a geologically short period, maybe 100,000 years or something and they go quiet. And they’ve got no long term evidence of continued motion,” he said. “Whereas the motion in Gippsland here, the rate of earthquake activity we have at the moment is high. The geology suggests that the average over the last few million years is probably even higher.” There are eight seismographs planted in the ground along fault lines meters below the surface around Gippsland to monitor the tremors. They are so sensitive that they can record the vibrations of approaching footsteps. One of them is on Neville Cliff’s beef farm. “We’ve had some good earthquakes come through here. You can hear them coming. It’s like an express train coming and the house shakes,” he said. “How many farmers got a seismograph? People tell me how many cattle they’ve got and how many acres they’ve got and I say well have you got a seismograph?”

    Honors student Dan Sandiford recently finished a study on the seismic activity of areas with fractures in the rock bed, called faults. He looked at whether the activity was related to faults in the Gippsland area. “The question really is, are those faults still active? Are the earthquakes that are happening and have been recorded here in the modern era related to those faults? The study suggested that those earthquakes did happen on faults and those faults are some of the largest ones which are known in the area,” he said. Gary Gibson says it is hoped the research will have some impact on building regulations in the area. “One of the problems with living in an inactive area is firstly that your building standards don’t take serious consideration of the type of earthquake that is going to affect us,” he said. “The way you try and avoid problems with earthquakes is you don’t want buildings to collapse under any circumstances so they have to be designed to withstand it.” –ABC.net — ผ่านทาง Trisha Wareing
    Southern Australia is being rattled by hundreds of quakes- and scientists aren't sure why
    September 10, 2013 – AUSTRALIA - Scientists in Victoria are attempting to learn more about the increase in the number of earthquakes in the Gippsland region. Seismologists are describing the regio...
    theextinctionprotocol.wordpress.com
     
  9. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Piyacheep S.Vatcharobol
    เมื่อวานนี้ เวลา 23:55 น. ใกล้กับ Bang Rak
    ในนี้โพสลงรูปกับข้อมูลไม่ได้มาก
    แต่สักเกตุมาแล้วกว่า ๒ อาทิตย์ ว่าตอนค่ำสยานประเทศ
    เช้าแยงกี้ไทมส์ พลังงานต่างๆจะไหล่ถาโถมเข้าโลก
    ปรากฏการณ์แปลกๆจะเกิดขึ้นรอบโลก แผ่นดินไหว
    ภูเขาไฟระเบิด น้ำพุร้อน หลุมยุบเกิดใหม่ และขยายตัว
    ว่านาทีนี้ ไฟฟ้าดับ ที่โรงไฟฟ้าย่อย

    ยังไม่ทราบสาเหตุที่เด่นชัเ ด้วยข้อมูลถูกปกปิดมากมาย
    แต่ที่แน่ๆ มีพลังงานบางอย่างเข้ามายังโลก
    ที่ไม่ได้มาจากดวงอาทิตย์ เพิ่มกำลังมากขึ้นทุกวัน
    ก็คงยังกล่าวโทษอะไรมากไม่ได้
    นอกจากไอซอนที่เข้าใกล้มายังโลกมากขึ้นเรื่อยๆ
    มหกรรมไฟฟ้าดับใหญ่ๆน่าจะเกิดขึ้นไปเรื่อยๆ
    แบบเครื่องบิน รถไฟ เรือเดินสมุทร

    ยิ่งเข้าใกล้ดาวเรียงตัว ๑ ตุลาคมมากไปเท่าไร
    สถานการณ์ยิ่งแย่ไปเรื่อยๆ
    ฤา คำเตือน FEMA จะขลังคราวนี้
    เก็บข้อมูลไปเรื่อยๆ นะครับ เก็บให้ท่าพอใจ และมั่นใจ
    และหวังว่า ท่านจะเตรียมตัวทันกันนะครับ ในระฆังยกแรก

    Trisha Wareingได้โพสต์ไปยังThe Solar Watchers: Cycle 24

    Power Outage in USA on Tuesday, 10 September, 2013 at 14:24 (02:24 PM) UTC.
    RSOE EDIS - Power Outage in USA on Tuesday, 10 September, 2013 at 14:24 (02:24 PM) UTC. EDIS CODE: PW-20130910-40873-USA
    RSOE Emergency and Disaster Information Service
    hisz.rsoe.hu
    Power Outage in USA on Tuesday, 10 September, 2013 at 14:24 (02:24 PM) UTC. EDIS CODE: PW-20130910-40873-USA. - We Energies is reporting that almost 8,200 customers are without power in the Bay View area of Milwaukee
    เลิกถูกใจ · · แชร์ · 3 นาทีที่แล้ว ·
    ถูกใจ

    Trisha Wareing We Energies is reporting that almost 8,200 customers are without power in the Bay View area of Milwaukee. The outage was reported about 8:30 a.m. and a spokesperson says there appears to be a problem at a power substation. Crews are on scene trying to figure out a fix. There is no word yet on when service may be restored.
    3 นาทีที่แล้ว · เลิกถูกใจ · 1
    RSOE Emergency and Disaster Information Service
    Power Outage in USA on Tuesday, 10 September, 2013 at 14:24 (02:24 PM) UTC. EDIS CODE: PW-20130910-40873-USA. - We Energies is reporting that almost 8,200 customers are without power in the Bay View area of Milwaukee
    hisz.rsoe.hu
     
  10. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    Surviving Earth Changes 2013 and Beyond แชร์ รูปภาพ ของ Adepto Perfectus = dutchsinse
    6 ชั่วโมงที่แล้ว ·
    As quick as the 6.0M earthquake unrest began , it has now ceased. We went from having ELEVEN 6.0M+ quakes to having none in the past few days.

    While the unrest slows (temporarily?) we're seeing adjacent movement across America, and Asia.

    In the United States, the edge of the craton is well defined by earthquakes over the past 2 days. Same as well goes for China / North of India / and South Russia.

    earthquake monitoring links here:


    11/30/2011 — List of Earthquake Links for global monitoring |

    "Because every dark cloud has a silver IODIDE lining…"

    11/30/2011 — List of Earthquake Links for global monitoring
    North America

    Webicorder links for Utah Region
    Webicorder links for Yellowstone Region
    Webicorder links for Teton Region
    Webicorder links for Intermountain West
    List of USGS midwest seismographs :

    CERI Seismic Information - Helicorder Images for Mid-America

    USGS main earthquake site:

    Earthquake Hazards Program

    USGS live internet seismic server:

    LISS - Live Internet Seismic Server

    USGS Global Seismograph Network :

    Global Seismographic Network

    USGS ANSS seismograph backbone:

    ANSS - Advanced National Seismic System

    USGS weekly volcanism report:

    Global Volcanism Program | Smithsonian / USGS Weekly Volcanic Activity Report

    USGS netquakes site live :

    Netquakes: Map of Instruments

    Montana Bureau of mines / Earthquakes :

    Recent Helicorder Displays

    Yellowstone supervolcano seismographs:

    Yellowstone Seismogram Thumbnails - 9/11/2013

    NCSN Drum Recorder Display(SAFOD pilot hole at Parkfield):

    Real-time Seismogram Displays

    USGS Hawaii data clearinghouse:

    U.S. Geological Survey - The National Map Partnerships for Hawaii & Pacific Basin Islands

    USGS Hawaii earthquakes :

    Recent Earthquakes in Hawai`i - Index Map

    USGS Earthquake Hazards Program Seismogram Displays :

    Seismogram Displays

    Midwest USA :

    Midwest USA : Recent Earthquakes in Central US - Index Map

    New Madrid seismic zone (NMSZ information): New Madrid Seismic Zone - maps of past quake activity

    Arkansas seismic network: Arkansas Seismic Network

    map of New Madrid Seismic Zone seismograph locations (interactive): Seismic Information at CERI

    CERI Helicorder Displays

    CERI Helicorder Displays

    CERI Helicorder Displays

    CERI Helicorder Displays

    CERI Helicorder Displays

    CERI Helicorder Displays

    CERI Helicorder Displays

    CERI Helicorder Displays

    ———————————————–

    West Coast USA:

    Pacific Northwest:

    Waveform Data | Pacific Northwest Seismic Network

    http://www.pnsn.org/OPS/stations.html

    California seismographs:

    Recent Helicorder Displays

    Real-time Seismogram Displays

    Alaska Volcano observatory: Alaska Volcano Observatory

    Mount Baker (pacific northwest): Mount Baker Volcano Research Center: Home Page

    Nevada Seismological Laboratory Helicorder : Nevada Seismological Lab
    Northern California Earthquake Data Center, Berkeley Digital Seismic Network [California]: NCEDC: Current Seismograms from the BDSN
    ————————————————

    Tsunami information:

    West Coast / Alaska Tsunami warning center: West Coast and Alaska Tsunami Warning Center

    Pacific Tsunami Warning center: http://ptwc.weather.gov/

    National Data Buoy Center (monitor buoys for wave activity): National Data Buoy Center

    Pacific Basin Information node: http://www.nbii.gov/portal/server.pt?open=512&objID=240&mode=2&in_hi_userid=2&cached=true

    ———————————————–

    East coast USA (columbia college):

    http://www.ldeo.columbia.edu/cgi-bin/LCSN/WebSeis/24hr_heli.pl?id=

    ———————————————-

    Various Global charts:

    Public Seismic Network Stations: Current PSN Seismicity
    ———————————————–


    Europe

    Slovak National Network of Seismic Stations, SNSN (Slovakia) Live seismograms from the Slovak National Network of Seismic Stations
    Institute of Catalan Studies, University of Barcelona (Spain): http://sismic.iec.cat
    Czech Regional Seismic Network, CRSN (Czech Republic): http://www.ig.cas.cz/en/seismic-service/live-seismograms
    Royal Netherlands Meteorological Institute, KNMI (The Netherlands): Huidige bodembeweging gemeten in station Heimansgroeve in Zuid-Limburg
    TÜBİTAK Marmara Research Center (Turkey): TÜBİTAK MAM Yer ve Deniz Bilimleri Enstitüsü Sismogram Sayfası
    Zentralanstalt für Meteorologie und Geodynamik ZAMG (Austria): Live Seismogramm Erdbeben-Station Conrad Observatorium
    Hellenic Seismological Broadband Network, Institute of Geodynamics, NOA (Greece): http://bbnet.gein.noa.gr/Real_Time_Plotting.htm
    Réseau National de Surveillance Sismique, RéNaSS (France): http://renass.u-strasbg.fr/cgi-bin/largeb/plotBB_web.pl
    Norwegian Seismic Array, NORSAR (Norway): NORSAR
    British Geological Survey (United Kingdom): British Geological Survey Helicorder Plots
    Royal Observatory of Belgium: Observatoire Royal de Belgique - Section de s
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      110.9 KB
      เปิดดู:
      1,385
  11. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Newsmania
    [​IMG]
    2 ชั่วโมงที่แล้ว ·
    ภูเขาไฟโลกอน ในอินโดนีเซียปะทุอีกรอบ เถ้าถ่านพุ่งสูงกว่า 2,500 ม. ทางการเตือนให้พื้นที่โดยรอบ 2.5 กม. เป็นพื้นที่อันตราย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      32 KB
      เปิดดู:
      1,362
  12. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    End Time Headlines
    BREAKING NEWS: A Strong Magnitude 5.7 Earthquake has struck off the Central East Pacific Rise.

    Kay Seaya
    Where did this happen at I know Central East Pacific but what state?

    Tony Mauk
    South of Mexico, west of South America. In the ocean.
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      68.2 KB
      เปิดดู:
      1,257
  13. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์ถูกสังเกตการณ์มาเป็นเวลาหลายร้อยปี เป็นดาวหางที่เดินทางเข้าใกล้กับดวงอาทิตย์อย่างมาก ในช่วงปลายยุค ปี ค.ศ. 1880 และปี ค.ศ. 1890 ครอยซ์ (Kreutz) ได้ศึกษาดาวหางซึ่งได้รับการสังเกตก่อนหน้านั้นและอธิบายว่าบางดวงเป็นดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์ และบางดวงไม่ได้เป็น นอกจากนี้เขายังพบว่าดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์ทั้งหมดเดินทางตามวงโคจรเดียวกันอย่างแน่นอน

    [​IMG]

    เท่าที่รู้จักกันไม่เคยมีดาวหางดวงใดพุ่งเข้าชนพื้นผิวดวงอาทิตย์หรือบรรยากาศชั้นโฟโตสเฟียร์ ดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์ แค่ได้เข้าใกล้ภายในระยะทางประมาณ 50,000 กิโลเมตร จากพื้นผิวดวงอาทิตย์ หรือผ่านบริเวณบรรยากาศชั้นบนสุดของบรรยากาศแสงอาทิตย์(Corona) เท่านั้น ส่วนใหญ่มักจะจางหายไปในบรรยากาศที่ร้อนด้วยพลังงานของดวงอาทิตย์

    ดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์จะถูกสังเกตเห็นได้ครั้งแรกเมื่อ 371 ปี ก่อนคริสตกาล โดยอริสโตเติลและอีฟอรัส(Ephorus) พวกเขาเห็นดาวหางเข้าใกล้ดวงอาทิตย์และแตกออกเป็นสองชิ้น มีการค้นพบ ดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์จนถึงปี 1979 เพียง 9 ดวงเท่านั้น โดยดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์ทั้งหมดสังเกตจากพื้นโลก จากนั้นเริ่มต้นในปี 1979 จึงส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศขึ้นไปค้นหาดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์ กล้องดูดาวเหล่านี้ใช้เครื่องมือที่เรียกว่าโคโรนากราฟ (Coronagraph) มันถูกออกแบบมาเพื่อดูบรรยากาศดวงอาทิตย์โดยใช้แผ่นบังแสงสร้างสุริยุปราคาจำลองเพื่อซ่อนส่วนที่สว่างของดวงอาทิตย์เอาไว้

    โคโรนากราฟ CP ของภารกิจของ NASA ค้นพบดาวหาง 10 ดวง ระหว่างปี ค.ศ. 1987 และค.ศ. 1989 ยังมี โคโรนากราฟอีกชิ้นหนึ่งที่มีขนาดใหญ่คือ LASCO ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศโซโฮ (SOHO)

    ตั้งแต่เครื่องมือ LASCO ถูกเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม ค.ศ. 1995 ก็มีการค้นพบดาวหางใหม่ทั้งหมดกว่า 700 ดวง และมีมากกว่า500 ดวง อยู่ในกลุ่มดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์ ส่วนดาวหางที่เหลือแบ่งเป็นสามกลุ่มใหม่ ได้แก่ กลุ่มเมเยอร์ (Meyer) กลุ่มมาร์สเดน(Marsden) และกลุ่มคราชท์ (Kracht) ที่ถูกค้นพบโดยการสังเกตผ่าน LASCO ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศโซโฮ แต่เพียงผู้เดียว โดยดาวหางกลุ่มครอทซ์เข้าใกล้กว่าดาวหางจากทั้งสามกลุ่มเป็น 10 เท่า

    ดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบเมเยอร์ (Meyer)

    ไมค์ เมเยอร์(Maik Meyer) ได้ค้นพบว่าดาวหาง 1997 L2, 2001 E1 และ 2001 X8 มีความสัมพันธ์กัน สมาชิกหลักๆในกลุ่มนี้มีความเป็นไปได้ว่าเคยเคลื่อนที่ผ่านจากซีกฟ้าเหนือข้ามไปยังซีกฟ้าใต้ แสดงให้เห็นว่าเส้นทางของดาวหางเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ด้วยความเอียงทำมุมกับระนาบระบบสุริยะประมาณ 70องศา

    ร้อยละ 95 ของดาวหางที่ค้นพบโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศโซโฮ เห็นได้ชัดว่าเป็นสมาชิกของกลุ่มครอยซ์ การตั้งข้อสังเกตเมื่อดาวหางคู่ C/2000 C2 - C/2000 C5, C/2000 C3 - C/2000 C4 และ C/2000 Y6 - C/2000 Y7 น่าจะเชื่อมต่อระหว่างกัน เมเยอร์เป็นคนแรกที่ชี้ให้เห็นความคล้ายคลึงกันระหว่างวงโคจรของดาวหาง C/1997 L2 และ C/2001 X8 กับความเอียง i = 72 องศา โคจรแยกออกจากกัน 4.5 ปี

    ดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบมาร์สเดน (Marsden)

    มาร์สเดนบันทึกต่อไปในดาวหาง 1999 J6, 1999 U2, 2000 C3 และ 2000 C4 เป็นรูปแบบกลุ่มที่มีระยะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด Q = 0.049 AUและความเอียงเฉลี่ย i = 25 องศา สมาชิกของกลุ่มนี้สามารถเข้าใกล้โลก ประมาณวันที่ 11-12 พฤษภาคม และถ้ามีชีวิตรอดออกมาหลังจากอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดไปแล้วจะเข้าใกล้กับโลกในระหว่างวันที่ 10-11 มิถุนายนและจะกลายเป็นดาวหางที่มองเห็นได้จากซีกโลกเหนือและจะเห็นใด้ดีที่สุดจากซีกโลกใต้

    ดาวหาง 1999 J6 ตามเกณฑ์นี้และเป็นสมาชิกใหม่ในรายการของดาวหางที่เข้าใกล้โลกในช่วงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1999 ดาวหางอาจมีอันดับความสว่างปรากฏ 11 ระหว่างวันที่ 9-11 มิถุนายน 1999 มันเข้าใกล้ประมาณ 0.024 AU จากโลกเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ.1999 ที่ เวลาประมาณ 14 UT ซึ่งเป็นลำดับที่ 3 ของระยะทางดาวหางที่เข้าใกล้กับโลก และลดอันดับความสว่างลดลงไม่เกิน 20 จนกระทั่งต้นเดือนกรกฎาคม นอกจากนี้ยังมีคู่ของ C/1999 J6 คือC/1999 U2 มีความเอียง i = 27 องศา โคจรแยกออกจากกันกว่า 5 เดือน

    [​IMG]

    ดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบคราชท์ (Kracht)

    ดาวหางอีกหลายดวง เช่น 1999 M3, 1999 N6, 2000 O3 และ 2001 Q7 ในรูปแบบกลุ่มที่กว้างขึ้นซึ่งกลุ่มมาร์สเดนเป็นส่วนย่อย การจัดกลุ่มนี้ถูกเสนอโดยเรนเนอร์ คราชท์ (Rainer Kracht) กลุ่มของดาวหางนี้มีระยะใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด Q ~ 0.05 AU และความเอียงเฉลี่ย i ~ 13องศา คาบโคจร 4-5 ปี

    เขาตั้งข้อสังเกตว่าส่วนมากของดาวหางกลุ่มครอทซ์ที่เห็นในปี ค.ศ. 1996 และค.ศ. 2002 สามารถเชื่อมโยงโดยวงโคจรเดียวและคาดการณ์ว่าพวกมันควรจะกลับมาในปี ค.ศ. 2008 แม้ว่าบางดวงอาจจะสว่างน้อยมากที่จะเห็น เขาแสดงให้เห็นผลดังต่อไปนี้

    เขาได้วิเคราะห์วงโคจรและแสดงให้เห็นว่าจะใช้เวลาประมาณ 90 ปีที่ผ่านมามีความคืบหน้าจาก วงโคจรของกลุ่มมาร์เดนและกลุ่มวงโคจรชนิดคราชท์ เขามีหน้าเว็บที่แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการ นอกจากนี้เขายังตั้งข้อสังเกตว่า 2002 Q8 และ 2002 S11 มีวิวัฒนาการโคจรที่คล้ายกันอย่างน่าทึ่งและอาจต้องแยกออกจากดาวหางแม่ช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1966 และค.ศ. 1972

    เขาได้เขียนกราฟแสงของ " กลุ่มคราชท์ 2 " เขาได้ปรับปรุงการวัดอันดับความสว่างของเขา ด้วยการลบพื้นหลังรวมทั้งการแก้ไขขอบภาพมืดและเพิ่มกราฟแสงด้วยตัวเองของดาวหาง C/2002 R5 = C/2008 L6 L7 และเขาตั้งข้อสังเกตว่าดาวหางนี้ดูเหมือนว่าจะหยุดนิ่งที่ปี ค.ศ. 1996 แต่กลับมาอีกและบอกว่าอาจจะยังมีดาวหางที่อยู่นิ่งของดาวหางกลุ่มคราชท์และมาร์สเดน ซึ่งจะแสดงตัวขึ้นอย่างไม่คาดคิดในอนาคต

    ครอบครัวดาวหาง

    ดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์ (Kreutz Sungrazers)

    เป็นครอบครัวของดาวหางที่มีคุณสมบัติคือวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด เชื่อว่าดาวหางดวงใหญ่มีวงโคจรหลายร้อยปีและถูกตั้งชื่อตามนักดาราศาสตร์เยอรมันชื่อเฮนริค ครอยซ์ (Heinrich Kreutz) ผู้สังเกตการณ์คนแรก สมาชิกหลายดวงของครอยซ์ เป็นดาวหางสว่างที่เห็นด้วยตาเปล่าในตอนกลางวันเมื่อโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ดางหางที่โด่งดังดวงหนึ่งชื่อว่า อิเคยะ-เซกิ (Ikeya-Seki) ในปี ค.ศ. 1965 เป็นหนึ่งในดาวหางที่สว่างที่สุดในรอบหลายพันปี ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มของดาวหาง สว่างในระบบครอยซ์ ดวงอื่นๆ อาจจะเริ่มเข้ามาถึงในระบบสุริยะชั้นในอีกไม่กี่ปี

    [​IMG]

    สมาชิกหลายร้อยดวงที่มีขนาดเล็กเพียงไม่กี่เมตร ถูกค้นพบตั้งแต่การส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศโซโฮ (SOHO : Solar And Heliospheric Observatory) ในปี ค.ศ. 1995 พบว่าไม่มีดาวหางขนาดเล็กเหล่านี้ผ่านเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดแล้วหลงเหลือออกไปได้ ส่วนดาวหางขนาดใหญ่ชื่อ C/2011 W3 ที่ผ่านเข้าไปใกล้ดวงอาทิตย์ในปี ค.ศ.1843 และสามารถผ่านเข้าไปใกล้ดวงอาทิตย์แล้วรอดออกมาได้

    [​IMG]

    ประวัติศาสตร์การค้นพบ
    ครั้งแรกที่มีการค้นพบว่าดาวหางที่มีวงโคจรใกล้กับดวงอาทิตย์เป็นดาวหางใหญ่ของปี ค.ศ. 1680 ดาวหางนี้มีการโคจรผ่านเข้าไปใกล้ดวงอาทิตย์เพียง200,000 กิโลเมตร (0.0013 AU) เหนือพื้นผิวของดวงอาทิตย์ซึ่งคิดเป็นประมาณครึ่งหนึ่งของระยะห่างระหว่างโลกและดวงจันทร์ มันจึงกลายเป็นดาวหางใกล้ดวงอาทิตย์ที่รู้จักกันครั้งแรก ระยะทางใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดของมันคือเพียง 1.3 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์
    นักดาราศาสตร์ในเวลานั้นรวมทั้งฮัลเลย์ สันนิษฐานว่าดาวหางนี้คือการกลับมาของดาวหางที่สว่างเห็นใกล้ดวงอาทิตย์ในท้องฟ้าในปี ค.ศ. 1106 และ163 ปีต่อมาดาวหางใหญ่ของปี ค.ศ. 1843 ปรากฏตัวขึ้นและผ่านเข้าใกล้กับดวงอาทิตย์อย่างมาก แม้จะมีการคำนวณวงโคจรที่แสดงให้เห็นว่ามันมีระยะเวลานานหลายร้อยปี

    ดาวหางสว่างมองเห็นได้ในปี ค.ศ. 1880 พบว่ามีวงโคจรเกือบจะเหมือนกันกับปี ค.ศ. 1843 และดาวหางยิ่งใหญ่ที่ตามมาในปี ค.ศ. 1882 นักดาราศาสตร์บางคนชี้ให้เห็นว่าบางทีดาวหางทั้งหมดคือดาวหางดวงเดียวกันซึ่งมีคาบการโคจรสั้นลงอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเคลื่อนที่ผ่านเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดและอาจจะชะลอโดยสสารบางอย่างที่หนาแน่นรอบๆดวงอาทิตย์

    ความคิดนี้ถูกเสนอครั้งแรกในปี ค.ศ. 1880 ข้อเสนอแนะก็คือว่าดาวหางเป็นเศษเล็กเศษน้อยของดาวหางที่มาเยือนดวงอาทิตย์ก่อนหน้านี้ เมื่อดาวหางใหญ่ของปี ค.ศ. 1882 แตกออกเป็นหลายชิ้นหลังจากผ่านเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด ในปี ค.ศ. 1888 ครอยซ์ตีพิมพ์บทความแสดงให้เห็นว่าดาวหางจากปีค.ศ. 1843 (C/1843 D1, ดาวหางสว่างใหญ่เดือนมีนาคม) ปี ค.ศ. 1880 (C/1880 C1, ดาวหางสว่างใหญ่ในซีกใต้) และปี ค.ศ. 1882 (C/1882 R1 ดาวหางสว่างใหญ่เดือนกันยายน) อาจจะเป็นชิ้นส่วนของดาวหางยักษ์ที่ได้แตกออกเป็นหลายวงโคจรก่อนหน้านี้

    [​IMG]

    หลังจากนั้นก็พบดาวหางอีกดวงหนึ่งในปี ค.ศ. 1887 (C/1887 B1) และต่อไปอีกดวงหนึ่งในปี ค.ศ. 1945 ซึ่งดาวหางทั้งสองดวงต่อมาปรากฏตัวขึ้นในทศวรรษที่ 1960 คือ ดาวหางเพเรยรา (Pereyra) ในปี ค.ศ. 1963 และดาวหางอิเคยะ-เซกิ (Ikeya-Seki) ซึ่งกลายเป็นดาวหางที่สดใสอย่างมากในปี ค.ศ. 1965 และแตกออกเป็นสามชิ้นหลังจากที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด การปรากฏตัวของสองดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์ อย่างรวดเร็วช่วยสร้างแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อของการเปลี่ยนแปลงในดาวหางกลุ่มนี้

    สมาชิกดาวหางที่มีความโดดเด่น

    สมาชิกที่มีความสว่างมากของดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์ จนมองเห็นได้ง่ายในท้องฟ้าเวลากลางวันอย่างงดงาม

    มีดาวหางสามดวงที่น่าประทับใจที่สุดได้แก่ดาวหางใหญ่ของปี ค.ศ. 1843, ดาวหางใหญ่ของปี ค.ศ. 1882 และดาวหางอิเคยะ-เซกิ (Ikeya-Seki) อีกดวงที่เด่นคือดาวหางสุริยุปราคา (Eclipse) ปี ค.ศ. 1882

    ดาวหางใหญ่แห่งปี ค.ศ. 1843

    [​IMG]

    สังเกตเห็นครั้งแรกในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ของปี ค.ศ. 1843 เพียงกว่าสามสัปดาห์ก่อนที่จะผ่านเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด โดยวันที่ 27 กุมภาพันธ์ค.ศ. 1843 มันก็สามารถมองเห็นในท้องฟ้าเวลากลางวัน ผู้สังเกตการณ์ได้อธิบายว่าเห็นหางยาวยืดออกไปจากดวงอาทิตย์ 2-3 ° ก่อนที่จะถูกกลืนหายไปในแสงจ้าของท้องฟ้า หลังจากผ่านเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดมันก็โผล่เข้ามาในท้องฟ้าตอนเช้าและแผ่หางยาวมาก วันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 1843 มันยื่นหางออกมาประมาณ 45 องศา ข้ามฟากฟ้าและกว้างมากกว่า 2 องศา คำนวณความยาวของหางว่ามีความยาวมากกว่า 300 ล้านกิโลเมตร (2 AU) นับว่าเป็นการบันทึกหางดาวหางที่ยาวที่สุด จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1996 เมื่อหางของดาวหางเฮียกุตาเกะ (Hyakutake) ถูกค้นพบว่าหางจะยืดยาวถึง 550 ล้านกิโลเมตร (ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ 1 AU ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร)

    ดาวหางก็ได้รับความสนใจอย่างมากตลอดช่วงต้นเดือนมีนาคมก่อนที่จะจางหายไปในต้นเดือนเมษายน เห็นได้ชัดว่าดาวหางนี้ทำให้คนประทับใจมากและช่วยสร้างแรงบันดาลใจในความกลัวบางอย่างที่กำลังใกล้เข้ามา

    ดาวหางสุริยุปราคา ปี ค.ศ. 1882

    การรวมตัวกันของผู้สังเกตการณ์ในประเทศอียิปต์เพื่อชมปรากฏการณ์สุริยุปราคาในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1882 ซึ่งเป็นที่น่าประหลาดใจอย่างมากเมื่อพวกเขาสังเกตเห็นริ้วสว่างที่อยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์ ขณะที่คราสเกือบเต็มดวง

    ในการสังเกตการณ์ครั้งนั้นเกิดขึ้นโดยบังเอิญอย่างน่าทึ่ง เพราะภาพของคราสเผยให้เห็นว่าดาวหางได้เคลื่อนที่อย่างเห็นได้ชัดในช่วง 1 นาที 50 วินาทีและคาดว่าดาวหางเคลื่อนผ่านดวงอาทิตย์ด้วยความเร็ว 500 กิโลเมตรต่อวินาที ดาวหางดวงนี้บางครั้งจะเรียกว่าเป็นเทวฟิก (Tewfik) หลังจากเทวฟิกคือมหาอำมาตย์ Khedive ของอียิปต์ในช่วงเวลานั้น

    ดาวหางใหญ่ของปี ค.ศ. 1882

    [​IMG]

    ค้นพบโดยผู้สังเกตการณ์อิสระหลายคน สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเมื่อมันปรากฏตัวขึ้นในช่วงต้นเดือนกันยายน ค.ศ. 1882 เพียงไม่กี่วันก่อนที่จะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด มันสว่างขึ้นอย่างรวดเร็วและในที่สุดมันก็สามารถมองเห็นได้ในเวลากลางวันเป็นเวลาสองวัน (16-17 กันยายน)

    หลังจากผ่านเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดของดาวหางยังคงสดใสเป็นเวลาหลายสัปดาห์ ระหว่างเดือนตุลาคมนิวเคลียสของดาวหางดวงนี้ถูกมองว่าได้มีการแตกออกจากกันถึง 2 ครั้ง ในครั้งแรกนิวเคลียสได้แยกกันออกเป็น 2 ชิ้น และต่อมาก็แตกออกจากกันเป็น 4 ชิ้น นักสังเกตการณ์บางคนยังรายงานการสังเกตการณ์ว่า แสงกระจายหลายองศาห่างจากนิวเคลียส อัตราการแยกชิ้นส่วนจากนิวเคลียสเป็นเช่นนั้น พวกมันจะกลับมาอีกประมาณ 670 และ 960 ปีหลังจากที่แตกออก

    ดาวหางอิเคยะ-เซกิ (Ikeya-Seki)

    [​IMG]

    ดาวหางอิเคยะ-เซกิ (Ikeya-Seki) เป็นดาวหางล่าสุดที่สว่างมาก มันถูกค้นพบโดยสองนักดาราศาสตร์สมัครเล่นชาวญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1965 ห่างกันเพียง 15 นาที ของแต่ละคนและได้รับการยอมรับอย่างรวดเร็วให้เป็นดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์ มันสว่างขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 4สัปดาห์ ก่อนที่จะเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์จนมีอันดับความสว่าง 2 ในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1965 และผ่านใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1965 ผู้สังเกตการณ์ทั่วโลกมองเห็นมันในท้องฟ้าช่วงเวลากลางวันได้อย่างง่ายดาย ไม่กี่ชั่วโมงก่อนที่จะผ่านใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดมันมีอันดับความสว่าง -10 ถึง -11เปรียบได้กับดวงจันทร์กึ่งดวงและสว่างกว่าดาวหางอื่น ๆ ที่เคยเห็นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1106 หนึ่งวันหลังจากที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดอันดับความสว่างลดลงเหลือ -4

    นักดาราศาสตร์ชาวญี่ปุ่นใช้เครื่องโคโรนากราฟ (Coronagraph) มองเห็นดาวหางแตกออกเป็นสามชิ้น ก่อนที่จะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด เพียง 30 นาทีเมื่อดาวหางปรากฏในท้องฟ้าตอนเช้าในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน นิวเคลียส 2 ใน 3 ชิ้นถูกตรวจพบแน่ชัดและดาวหางแผ่หางที่โดดเด่นมาก ประมาณ 25องศา ในระยะเวลาตลอดเดือนพฤศจิกายน ก่อนจะจางหายไปในเดือนมกราคม ค.ศ. 1966

    ประวัติการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการดาวหาง

    การศึกษาโดยไบรอัน มาร์สเดน (Brian Marsden) ในปี ค.ศ. 1967 เป็นความพยายามครั้งแรกที่จะติดตามประวัติศาสตร์การโคจรของกลุ่มดาวหางเพื่อระบุบรรพบุรุษดาวหาง ทุกดวงที่ทุกคนรู้จักกันจนถึงปี ค.ศ. 1965 มีความเอียงของวงโคจรใกล้เคียงกันคือประมาณ 139 - 144 องศา จากระนาบระบบสุริยะ

    มาร์สเดน พบว่าดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มที่มีองค์ประกอบวงโคจรแตกต่างกันเล็กน้อยหมายความว่าเป็นผลมาจาก การแตกออกมากกว่าหนึ่งครั้งเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด การติดตามวงโคจรของอิเคยะ-เซกิ และดาวหางใหญ่ของ ปี ค.ศ. 1882 มาร์สเดน พบว่าการผ่านใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดของพวกมันก่อนหน้านี้ความแตกต่างระหว่างองค์ประกอบวงโคจรของพวกมันที่มีอันดับความสว่างเดียวกัน ซึ่งเป็นความแตกต่างระหว่างองค์ประกอบของเศษเล็กเศษน้อยของดาวหางอิเคยะ-เซกิ หลังจากที่มันแตกออก นี่หมายความว่ามันเป็นเหตุผลที่น่าจะเป็นจริงว่าทั้ง 2 ชิ้น เป็นชิ้นส่วนพวกมันเป็นสองส่วนของดาวหางเดียวกันซึ่งได้แยกออกจากกันในวงโคจรที่ผ่านมา ซึ่งก็คือดาวหางใหญ่ของปี ค.ศ. 1106

    [​IMG]

    ดาวหางจากปี ค.ศ. 1668, ค.ศ. 1689, ค.ศ. 1702 และค.ศ. 1945 ดูเหมือนจะเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับพวกดาวหางปี ค.ศ. 1882 และค.ศ. 1965 แม้ว่าวงโคจรของพวกมันยังไม่ดีพอที่จะบอกว่าพวกมันแยกตัวออกจากดาวหางดวงใหญ่ในปี ค.ศ. 1106 หรือก่อนหน้าที่จะ ผ่านใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด กลุ่มย่อยของดาวหางนี้เป็นที่รู้จักกันเป็นกลุ่มย่อย 2 เช่น ดาวหางไวท์-ออทิซ-บอลีลลี (White-Ortiz-Bolelli) ที่มองเห็นในปี ค.ศ. 1970 แต่ได้แตกออกในระหว่างวงโคจรก่อนหน้านั้นเป็นเศษเล็กเศษน้อย

    [​IMG]

    ดาวหางที่สังเกตการณ์ในปี ค.ศ. 1843 และค.ศ. 1963 (ดาวหาง Pereyra) ดูเหมือนจะมีวงโคจรที่คล้ายกันและเป็นกลุ่มย่อยที่ 1 แม้ว่าเมื่อศึกษาวงโคจรของพวกมันจะย้อนกลับไปหนึ่งครั้งที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดก่อนหน้านี้ ความแตกต่างระหว่างองค์ประกอบวงโคจรยังคงค่อนข้างมาก อาจจะหมายความว่าพวกมันแยกออกจากกันหนึ่งครั้งก่อนหน้านั้น และพวกมันอาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับดาวหางจากปี ค.ศ. 1106 เพียงอย่างเดียว แต่ดาวหางที่ย้อนไปประมาณ50 ปีก่อนหน้านั้น กลุ่มย่อยที่ 1 ยังรวมถึง ดาวหางที่เห็นในปี ค.ศ. 1695, ค.ศ. 1880 และค.ศ. 1887 เช่นเดียวกับดาวหางส่วนใหญ่ที่ตรวจพบโดยภารกิจกล้องโทรทรรศน์อวกาศโซโฮ

    สรุปคุณสมบัติของดาวหางเฉียดดวงอาทิตย์แบบครอยซ์
    1. คาบการโคจร 300-900 ปี
    2. ระยะใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดไม่เกิน 2 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์
    3. อันดับความสว่างปรากฏ -10 ถึง 1


    เรียบเรียงโดย วทัญญู แพทย์วงษ์
    สำนักบริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์

    ข้อมูลโดย
    Comets: 'Sungrazer' comets / Space Science / Our Activities / ESA
    Sun approaching comets
    Kreutz Sungrazers - Wikipedia, the free encyclopedia

    http://www.narit.or.th/index.php/astronomy-article/659-sungrazers
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • a1.jpg
      a1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      44.3 KB
      เปิดดู:
      1,138
    • a2.JPG
      a2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      29.2 KB
      เปิดดู:
      1,103
    • a3.JPG
      a3.JPG
      ขนาดไฟล์:
      21 KB
      เปิดดู:
      1,163
    • a4.JPG
      a4.JPG
      ขนาดไฟล์:
      40.3 KB
      เปิดดู:
      1,101
    • a5.JPG
      a5.JPG
      ขนาดไฟล์:
      56.8 KB
      เปิดดู:
      1,120
    • a6.jpg
      a6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      116.2 KB
      เปิดดู:
      1,096
    • a7.jpg
      a7.jpg
      ขนาดไฟล์:
      83.3 KB
      เปิดดู:
      1,582
    • a8.jpg
      a8.jpg
      ขนาดไฟล์:
      38.4 KB
      เปิดดู:
      1,226
    • a9.JPG
      a9.JPG
      ขนาดไฟล์:
      48.7 KB
      เปิดดู:
      1,113
    • a10.JPG
      a10.JPG
      ขนาดไฟล์:
      48.7 KB
      เปิดดู:
      1,084
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กันยายน 2013
  14. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    My Solar Alerts
    เมื่อวานนี้ เวลา 19:23 น. ·
    Last night, NASA's all-sky fireball network recorded nearly two dozen fireballs streaking over the southern USA. Their orbits are shown here, all intersecting at a certain blue dot in space.
    In the diagram, the orbits are color coded by velocity. Speeds ranged from 16 to 71 km/s (36,000 to 159,000 mph).

    Most of these fast-moving meteoroids were "sporadics"--that is, random specks of space dust associated with no organized debris stream. The inner solar system is littered with such meteoroids, which strike Earth every day as our planet orbits the sun
    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      99.2 KB
      เปิดดู:
      898
  15. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]
    My Solar Alerts
    8 ชั่วโมงที่แล้ว ·
    if you could click your fingers and see all the other comets visible in the sky at the same time, the ones too faint to be seen without a telescope, this is what you’d see
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      84.7 KB
      เปิดดู:
      866
  16. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      25.4 KB
      เปิดดู:
      864
  17. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    จริงหรือไม่จริง มันพิสูจน์กันได้...
    ข้อมูลจาก - คุณ Saroche Glinrong เล่า ใน FB

    เรื่องจริง..จากอ่าวไทย....ผมเป็นกัปตัน เรือบรรทุกน้ำมัน แต่ไม่ขอบอกชื่อนะครับ ขณะนี้เรือผมได้ทอดสมออยู่ที่หาดแหลมเจริญ เพื่อรอรับน้ำมันดีเซลจากIRPCหรือTPIเก่าละครับ แต่เมื่อปตท.ได้ซื้อไปก็เปลี่ยนชื่อเป็นIRPC ผมรับน้ำมันเพื่อส่งไปที่เขมรและเวียดนาม
    เรื่อผมบรรทุกก๊าซLPGไม่ได้ เพราะไม่ใช่เรือบรรทุกก๊าซ แต่ผมมีเพื่อนที่เป็นกัปตันเรือบรรทุกแก๊สLPGอยู่หลายคนพวกจะมารับ แก๊สLPGจากIRPCเพื่อไปส่งเขมรและเวียดนาม เหมือนผม เดือนละหลายเที่ยวเรือ ขณะที่ผมกำลังโพสอยู่นี่ก็มีเรือแก๊สรอรับอยู่ 3 ลำ
    ตั้งแต่ผมเดินเรือ มายังไม่เคยเห็นเรือแก๊สที่นำเข้าเลยแม้แต่ลำเดียว มีแต่เรือส่งออก ปตท. บอกได้นำเข้าแก๊ส มาจากต่างประเทศปีละเป็นล้านตัน แล้วเขาเอาเข้ามาทางไหนละครับ ถ้าทางเรือผมไม่เคยเห็น เคยเห็นแต่เรือส่งออก ลองมาดูที่แหลมเจริญที่ระยองซิครับมีเรือมาคอยรับทุกวันละครับ เพื่อส่งไปเขมร เวียดนาม แล้วไอ้นักวิชาการด้านน้ำมันที่มาออกรายการตาสว่างนะครับ เขาเป็นอดีตคนที่ทำงานปตท. สิ่งที่เขาพูดนะ เป็นการแก้ต่างให้ทั้งนั้น
    ปตท. ได้ไปลงทุนในการวางท่อแก๊ส NGV จากมาเลเซีย และพม่า ตั้งหลายแสนล้านบาท ปตท.จึงต้องการให้คนไทยใช้ NGV เพราะก๊าซ
    NGVเขา มีกันทุกประเทศละครับ เขมรตอนนี้ก็เจอ ก๊าซ NGV อยู่หลายหลุม เวียดนามก็เจอ พม่าเขาก็มีเยอะ ทั่วโลกเขามีกันหมด ถ้าคนไทยไม่ใช่NGV แล้ว ปตท. จะเอาไปขายใครละครับ ต้องบังคับให้คนไทยใช้ให้ได้ โอยอ้างว่าก๊าซNGVปลอดภัยกว่า จริงๆแล้วไม่ใช่หลอกครับ อันตรายพอๆกันละครับ เพราะNGVเป็นก๊าซที่มีแรงดันสูง โอกาสที่จะระเบิดก็ยอมมีสูงตามไปด้วย ถ้ามันอยู่ในกระโปรงหลังรถ มันจะออกไปไหนละครับ มันก็จะระเบิดอยู่ที่ท้ายรถละครับ ตอนนี้ยังไม่มีเรือลำไหนสามารถบรรทุกก๊าซ NGVได้เลย เรือที่บรรทุกLPGไม่สามารถ บรรทุก NGVได้ เพราะNGV มีแรงดันสูงกว่าLPGหลายเท่า ปตท. เลยไม่สามารถส่งออกได้
    นอกจากมาหลอกขายคนไทย ตอนนี้โรงกลั่นเป็นของ ปตท. เกือบหมดแล้ว ปั้มน้ำมันที่ไม่มีโรง
    กลั้นก็ต้องไปซื้อน้ำมันจาก ปตท. มาขายอีกที เลยต้องขายแพงกว่า ปตท. ปตท.ไม่ได้ช่วยอะไรคนไทยเลยนะครับ...(กัปตัน..รักเมืองไทย)
     
  18. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    น้ำท่วมฉับพลันในโรมาเนีย สังเวยแล้ว 7 ศพ
    วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน 2556 เวลา 17:04 น.

    สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานจากกรุงบูคาเรสต์ ประเทศโรมาเนีย เมื่อวันที่ 12 ก.ย.ว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจโรมาเนีย เปิดเผยว่า มีผู้เสียชีวิต 7 คน และหลายร้อยคนต้องอพยพออกจากบ้านเรือนในภาคตะวันออกของประเทศ เนื่องจากฝนตกหนัก ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน ในพื้นที่ห่างไกลเมื่อคืนที่ผ่านมา โดยคริสตินา ทาตูลิซี โฆษกหญิงของสำนักงานตำรวจ กล่าววันนี้ว่า มี 5 คนจมน้ำ และอีก 2 คนหัวใจวาย หลังจากน้ำท่วมใน 12 หมู่บ้าน ส่วนเด็กวัย 8 ขวบ สูญหาย ฝนตกหนักต่อเนื่องตั้งแต่เมื่อเย็นวันพุธที่ผ่านมา และต่อเนื่องจนถึงคืนที่ผ่านมา

    กระทรวงมหาดไทยโรมาเนีย แถลงว่า เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือประชาชนมาได้ 45 คน และอพยพ 330 คนจากบ้านเรือนของพวกเขา โดยมีบ้านเรือนอย่างน้อย 20 หลังถูกน้ำท่วม และรถยนต์ 10 คันถูกกระแสน้ำพัด นายกรัฐมนตรีวิกเตอร์ ปอนตา ส่งรองนายกรัฐมนตรี ไปยังพื้นที่เกิดเหตุ และเรียกประชุมรัฐบาลในวันนี้ เพื่อหารือเกี่ยวกับสถานการณ์ดังกล่าว
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      54.9 KB
      เปิดดู:
      722
  19. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    MUST SEE !!!

    Not good :(

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=yqyr2TwSlGQ]TEPCO releases video of groundwater entering crippled Fukushima Daiichi Complex [Remix via Jim Lee] - YouTube[/ame]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กันยายน 2013
  20. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,253
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ญี่ปุ่น “ปรี๊ดแตก” หนังสือพิมพ์ “ฝรั่งแสบ” วาดการ์ตูนล้อเลียนโรงไฟฟ้า “ฟูกูชิมะ”
    โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 12 กันยายน 2556 17:11 น.

    [​IMG]

    เอเอฟพี/เอเจนซีส์ – ญี่ปุ่นออกมาแสดงความโกรธเคืองในวันนี้ (12 ก.ย.) กับภาพการ์ตูนล้อเลียนในหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสฉบับหนึ่ง ซึ่งมุ่งประเด็นไปที่แดนอาทิตย์อุทัย ประเทศที่ได้รับสิทธิให้เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาโอลิมปิกปี 2020 แม้ว่ายังคงประสบวิกฤตโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ฟูกูชิมะอยู่ก็ตาม

    “เลอกานาร์ดอ็องแชน” หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์แนวหยิกแกมหยอก ได้ตีพิมพ์ภาพการ์ตูนของนักซูโมสองคน ซึ่งมีแขนและขามากกว่าคนปกติธรรมดา กำลังต่อสู้กันอยู่หน้าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่กำลังมีปัญหารอยรั่ว ขณะที่ตัวการ์ตูนอีกตัวที่เป็นนักข่าวกีฬากำลังรายงานว่า การที่นักกีฬามีแขนและขาเพิ่มขึ้นเช่นนี้ ทำให้ซูโมเหมาะสมที่จะเป็นกีฬาโอลิมปิกมากยิ่งขึ้น

    ภาพการ์ตูนอีกภาพหนึ่งเผยให้เห็นคนสองคนที่สวมชุดป้องกันรังสีนิวเคลียร์ยืนอยู่ริมสระน้ำ ขณะถือเครื่องวัดกัมมันตภาพรังสี และกล่าวว่ามีการสร้างสถานที่แข่งกีฬาทางน้ำในโรงไฟฟ้าฟูกูชิมะแล้ว

    โยชิฮิเดะ สุกะ เลขาธิการคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่น กล่าวว่า การล้อเลียนกันด้วยมุกตลกแบบแดกดันเช่นนี้ จะทำให้คนต่างชาติเข้าใจประเทศญี่ปุ่นผิดๆ ขณะที่รัฐบาลได้ออกมาย้ำว่า ทั้งอุบัติเหตุและปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นกับโรงไฟฟ้าญี่ปุ่นเป็นเหตุสุดวิสัย และไม่น่าจะส่งผลกระทบต่อการจัดกีฬาโอลิมปิก

    ทั้งนี้ ญี่ปุ่นมักจะมีความรู้สึกอ่อนไหวกับทัศนคติที่สื่อต่างชาติมีต่อตน อีกทั้งรู้สึกโกรธเคืองที่วิกฤตร้ายแรงซึ่งเป็นเรื่องน่าเศร้าของคนจำนวนมาก ถูกนำมาเขียนการ์ตูนล้อเป็นเรื่องตลกเช่นนี้

    “ภาพล้อเลียนประเภทนี้สร้างความบอบช้ำให้บรรดาเหยื่อในภัยพิบัตินิวเคลียร์” สุกะกล่าวในการแถลงข่าว

    “การทำข่าวแบบนี้ทำให้คนเข้าใจปัญหาน้ำเสีย ผิดไปจากความเป็นจริง” เขากล่าว

    รัฐบาลจะประท้วงหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ของฝรั่งเศสฉบับนี้ สุกะเน้นย้ำ

    เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นภายหลังที่เคยมีกรณีคล้ายๆ กันก่อนหน้านี้ยังไม่ถึงปี ซึ่งสื่อฝรั่งเศสได้หยิบยกภัยพิบัติที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์และความเสียหายที่เกิดขึ้นมาทำเป็นเรื่องตลก

    รายการ “เราไม่ได้โกหก” ของสถานีโทรทัศน์ฟรองซ์ 2 ได้นำภาพของเอจิ คาวาชิมะ ผู้รักษาประตูทีมชาติญี่ปุ่นซึ่งถูกตัดต่อให้มีแขน 4 ข้างมาออกอากาศ

    รายการนี้อธิบายว่าเป็นเพราะ “ผลกระทบจากโรงไฟฟ้าฟูกูชิมะ” ที่ทำให้คาวาชิมะทำหน้าที่รักษาประตูได้อย่างเหนียวแน่น จนญี่ปุ่นสามารถคว้าชัยชนะในนัดที่แข่งกับฝรั่งเศสได้

    อย่างไรก็ตาม ทางสถานีได้ออกมาแสดงความเสียใจที่เล่นมุกตลกนี้ และมีรายงานว่า โลรองต์ ฟาเบียส รัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศของแดนน้ำหอม ก็ได้ออกมากล่าวขออภัยเช่นกัน

    ขณะที่ไม่มีรายงานว่ามีผู้เสียชีวิตโดยตรงจากรังสีที่รั่วไหลออกมา เพราะการหลอมละลายของเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทั้ง 3 เตา ที่ฟูกูชิมะ แต่ประชาชนเรือนหมื่นก็ถูกบีบคั้นให้ต้องละทิ้งบ้านเรือน และมีคนจำนวนมากที่ไม่คิดจะหวนกลับไปอีก

    ญี่ปุ่นไม่มีธรรมเนียมการเสียดสีประชดประชันกันแรงๆ เหมือนชาติตะวันตกอื่นๆ ขณะที่วัฒนธรรมของแดนอาทิตย์อุทัยนั้นให้ความสำคัญกับความสามัคคีของคนในสังคม และไม่ส่งเสริมให้ประชาชนล้อเลียนผู้อื่น

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.JPEG
      1.JPEG
      ขนาดไฟล์:
      108.1 KB
      เปิดดู:
      1,798
    • 2.JPEG
      2.JPEG
      ขนาดไฟล์:
      91.5 KB
      เปิดดู:
      1,252

แชร์หน้านี้

Loading...