ทุกแง่ทุกมุมเรื่องพระแก้ว 25 พุทธศตวรรษชนิดไม่กั๊กในฐานะช่างผู้สร้าง

ในห้อง 'พระพุทธรูป - วิหารทาน - สิ่งก่อสร้าง' ตั้งกระทู้โดย glassbuddha2009, 23 มิถุนายน 2022.

  1. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    สำรองพื้นที่
     
  2. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    สารบัญ

    หน้า 3

    สาเหตุที่ฟันธงว่า ไทยไม่สามารถพัฒนาการสร้างพระแก้ว 25 พุทธศตวรรษด้วยเทคนิค Pressed Glass ได้
     
  3. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
  4. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    พระแก้ว ๒๕ พุทธศตวรรษหน้าตักตั้งแต่ 3 นิ้วขึ้นไป มักมีเส้นรอบองค์แปลกๆ บางองค์เส้นรอบวง หรือเส้นรอบองค์ลากเหมือนเส้นสายสิญณ์รอบองค์ ทำมุมเอียงจากไหล่ข้างหนึ่งไประดับอกหรือท้องอีกด้านหนึ่ง บางเส้นลากจากสะโพก พาดผ่านหน้าแข้ง เอียงเฉียงลงที่ฐานพระ บางเส้นพาดฐานข้างหนึ่งไปฐานอีกข้างหนึ่ง รอยนี้คือรอยของการหยอดน้ำแก้วหลายครั้งในองค์เดียวกัน
     
  5. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    พระแก้ว 25 ศตวรรษหน้าตัก 5 นิ้วบางองค์มีเส้นคล้ายๆแผลเป็นนี้ รอบองค์พระ 2 - 3 เส้น

    รอยนี้ไม่มีทางแก้ไขได้ ปัญหานี้เกิดขึ้นเนื่องจาก ช่างม้วนน้ำแก้วได้แค่ทีละนิดเดียว พอหยอดน้ำแก้วลงแม่พิมพ์เหล็ก น้ำแก้วจะยังน้อย ต้องหยอดอย่างน้อย 3 - 4 หยอด น้ำแก้วจึงเพียงพอให้กดปั๊ม 1 ที
     
  6. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    พวกเราชาวช่างแก้วปั๊มพระ 25 ศตวรรษทดลองหาวิธีแก้ไขรอยนี้ด้วยวิธีต่างต่างนานาอยู่ตลอด เท่าที่ฟังปรามจารย์บอก เราพยายามมาตั้งแต่ 2498 แต่แก้ไม่ตก รอยของหยอดที่ 1 กับ 2 รอยหยอดที่ 2 กับ 3 รอยหยอดที่ 3 กับ 4 ในบางองค์ชัดทุกรอย บางองค์รอยชัดแค่ 2 รอบองค์ แก้ไม่ตก
     
  7. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    51028549_1054262118091472_683643593910386688_n.jpg
    เส้นรอบองค์ที่เห็นชัดในองค์นี้คือที่แขน๑ ที่ฐาน๑ แต่ความจริงมีอีกที่มองไม่ค่อยเห็น
     
  8. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    น้ำแก้วที่หยอดลงก่อน ความร้อนอยู่ที่ 800C เมื่อสัมผัสกรรไกรตัดขาด รอยตัดนั้นลดลงทันทีเหลือ 700C ช่างรีบตามมาหยอดต่อ ตรงนี้เว้นช่วง 5-8 วินาที รอยตัดจะเย็นลงอีก น้ำแก้วที่หยอดตามมาร้อนกว่า เรียกว่า 2 อุณหภูมิมาเจอกัน ทำให้เกิดรอยเส้นนี้ขึ้น
     
  9. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ปรามาจารย์แก้วในยุคกึ่งพุทธกาลเช่น อาจารย์ผมก็ตาม ปรามาจารย์ไท้ยิปก็ตาม ท่านใช้ปืนไฟเข้าช่วย เอาปืนไฟพ่นไฟลงในแม่พิมพ์เหล็ก พอช่วยได้บ้าง แต่บางครั้งแก้วจะสตั๊ค คือติดเหล็ก

    ในปีที่ผมเรียนคือ 2516 อาจารย์สมศักดิ์ท่านบอกว่า ปืนไฟนี้ต้องใช้เป็น คนไม่มีไหวพริบใช้ไม่ได้ จึงมีช่างบางทีมที่ไม่ใช้ปืนไฟเลย
     
  10. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ฝรั่งเศสเป็นประเทศแรกๆที่เข้าใจปัญหานี้เป็นอย่างดี จึงใช้วิธีดังภาพด้านบน ปั้นก้อนแก้วให้เป็นก้อนใหญ่ก้อนเดียว แล้วจึงยัดก้อนแก้วทั้งก้อนนี้เข้าแม่พิมพ์เหล็ก ใช้แรงคน 2 - 4 คนโยกก้านกล หรือบางแห่งใช้ไฮโดรลิกกด พระแก้วจึงไม่มีเส้นรอบวง

    วิธีนี้พัฒนาขึ้นที่ฝรั่งเศสน่าจะประมาณ ค.ศ. ใกล้ๆ 2000
     
  11. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ช่างแก้วที่มาปั้นก้อนแก้วให้เป็นก้อนเดียวกันได้นี้ ต้องผ่านการฝึกนานเกือบ 7 ปี (ตามคำสัมภาษณ์ของ C.E.O. ของลาลีคใน Stars News)

    ช่างไทยพอนึกคำว่า 7 ปีก็....
     
  12. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ขอบคุณลูกๆและภรรยาที่บางครั้งช่วยแปลให้ผมเข้าใจ ผมไม่เป็นทุกภาษานอกจากไทยและจีนกลาง

    ในส่วนที่ผมเห็นภาพนิ่งวิชาแก้วก็ตาม คลิปก็ตาม แล้วเข้าใจ ผมใช้ประสบการณ์ล้วนๆที่เข้าไปเข้าใจ
     
  13. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ทำไมจึงบอกว่าไทยหมดสิทธิ์ เพราะไทยไม่เคยคิดทำ ถามคนไทยคนจีนสมัยนี้ในไทย ที่เกิดในไทย ไม่มีใครอยากทำ คิดแต่ซื้อจากนอก

    แต่ฝรั่งคิดกลับกัน เขาคิดสร้างในประเทศเขา เขาจะได้ยั่งยืนนาน

    เมื่อไรไทยจะคิดอย่างฝรั่ง
     
  14. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ต่อครับ ไปต่อดีกว่า อย่าไปตำหนิคนที่เกิดในไทย เดี๋ยวพูดต่อไม่ได้
     
  15. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    g001AA.png
    องค์นี้เส้นรอบองค์มาโผล่ที่พระอุระและข้อศอกทั้ง 2 ข้างเป็นสีใส สาเหตุจากปืนไฟที่ช่างไม่มีไหวพริบ ไม่ตามติดงานที่ตนทำไปเมื่อวานก่อนๆ เพราะในขณะใช้ปืนไฟ ช่างจะไม่รู้ว่าจะเกิดอะไรตามมา แก้วมันแดงจนมองไม่ออกครับ
     
  16. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    6350362909668600001.jpg
    ขอบคุณแหล่งที่มาของภาพ

    ในภาพเกิดอะไรขึ้น ท่านเห็นหรือไม่ สิ่งไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นบนตำแหน่งสำคัญคือพระพักตร์ ท่านใดตอยได้ว่า เหตุจากอะไร ให้วิทยาทานหน่อยครับ
     
  17. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ตอบเลยแล้วกัน ถ้ารอยริ้วบนใบหน้านี้ เกิดขึ้นกับทุกๆองค์ที่ปั๊มออกมา แปลว่า แม่พิมพ์เหล็กมีรอยนี้ แต่มันไม่ได้เกิดกับทุกองค์นี่ครับ

    แล้วรอยริ้วนี้มาจากไหนกัน มันเกิดจากช่างปั๊มองค์ก่อนไปแล้ว แทนที่จะให้ช่างอีกคนหยอดน้ำแก้วในทันที** ช่างเว้นนานเกินสมควร เช่นแทนที่จะเว้น 5 วินาที เขาเว้น 10-15 วินาที เหล็กเริ่มเย็นลง พอหยอดน้ำแก้วลง น้ำแก้วอยู่ระหว่าง 700-800C เหล็กเย็นกว่า แก้วร้อนกว่า เหล็กพอถูกร้อนจะขยายตัว พาผิวแก้วแหวกเป็นริ้วไปด้วย
     
  18. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ** = เพราะเหตุนี้ เทคนิคนี้ต้องปั๊มด้วยความเร็วประมาณ 1-2 นาทีต่อองค์ห้ามหยุด ถ้าช้าลงหน่อยเพราะเหนื่อย จะเกิดรอยริ้วทันทีกับองค์ที่ช้า

    ปัญหานี้แก้ได้ถ้าใช้ปืนไฟเลี้ยง แต่โรงงานในไทยส่วนมากบอกว่าเปลืองค่าปืนไฟ เอาความเร็วนี่แหละ
     
  19. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    U00343046365484418194767981AAA.jpg
    ตัวอย่างเส้นรอบองค์ที่เกิดจากขบวนการสร้าง การหยอดน้ำแก้วหลายครั้งต่อองค์
     
  20. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,158
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    51398421_1056240141227003_2871826790093946880_n.jpg
    ตัวอย่างน้ำแก้วที่ใช้เศษขวดในปริมาณมากเกินไปมาหลอม (คุณภาพแก้วที่ไม่ดี)
     

แชร์หน้านี้

Loading...