เรื่องเด่น มนุษย์ต่างดาวติดต่อเราหรือยัง-ควรบอกว่า เมื่อไหร่จะไป

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย chandayot, 18 เมษายน 2012.

  1. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    ผมรน้องตะโกนจากภายในว่า "ข้าแต่ะพระผู้เป็นเจ้า ได้ทรงโปรด ประทานอภัยด้วยเถิด
    ---- ได้ทรงโปรด ประทานอภัยให้แก่ทุกอย่างที่เรา---ได้ทำให้พี่น้องของเราต้องเจ็บปวดแสนสาหัส"
    --พวกเพื่อนๆของผม เดินลงไปตามทาวงลาดชัน ตามหลังมัคคุเทศน์ลงไปสู่เตาเผาศพในค่าย ---ส่วนนี้อยู่้ลึกลงไปในชั้นใต้ดิน ตัวผมอยู่ห่างออกไปตอนท้ายแถว ได้แต่พร่ำภาวนา พวกเพื่อนมุดหายไปในความมีดสลัว ในทางใต่้ดิน ท่าทางพวกเขาไม่ได้รับรู้ถึงบรรยากาศของสถานที่แห่งนีี้นัก ยังพากันผืิวปาก และกล้องถ่ายรูปที่ห้อยคอ--ก็แกว่งไปตามจังหวะการเดิน
    พวดเขสาลับสายตาไป ด้วยความกลัวจะหลงกัน ผมก็รีบจ้ำอ้าวตาม ในขณะที่กึ่งวิ่งกึ่งกระโดดไปตามทางที่ลาดชัน ทันรใดนั้นเอง ผมก็ถูกกระแทกเข้่าที่หน้าอก แรงกระแทกนั้นรุนแรง ทำให้ผมต้องหยุดขะงัก แล้่วผมดก็เห็นมือ มือที่ยื่นออกมาจา่กความว่างเปล่า---มือที่ปราศจากร่าง ดันผมกลับขึ้นไปจนถึงต้นทางลาดชันนี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 สิงหาคม 2013
  2. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    ผมเร่งภาวนามากขึ้นด้วยความตกใจกลัว ที่จริงแล้ว ผมต้องยอมตามพลังนี้ แต่ผมกลับโดดลงไปตามทางอีก แต่มือเดียวกันนี้ก็ดันผมกลับไปอีกอย่างไม่ยอมแพ้
    ----ผมหวั่นวิตกว่าจะถูกตัดขาดจากกลุ่มเพื่อนในยามที่ผมต้องการพวกเขามากที่สุด ทันใดนั้นผมเหลือบเห็นพวกเขาเดินสวนออกมาตามทางชั้นอีกเส้นหนึ่ง ที่ห่างออกไปนิดหน่อย ในฉับพลันนั้นเอง มือผีได้หายไป ผมจึงเดินหนีจุดที่มีปัญหานี้ไปรวมกับกลุ่มเพื่อน ที่ไม่ได้สังเกตด้วยซ้ำว่าผมหายไป
    ---ผมเล่าเรื่องนี้ให้พวกเขาฟัง และพยายามกลบเกลื่อนความตระหนกจนสุดกลั้น แต่พวกเขาไม่อาจเข้าใจได้---หรือในใจอาจหัวเราะเยาะผมด้วยซ้ำ เรื่องของผมคงฟังดูน่าสมเพชสำหรับพวกหัวสมัยเหล่านี้(บางครั้ง ส่วนใหญ่-- แก้คำผิดแล้วก็กลับมาเป็นอีก และจะหลุด เข้าเว็บพลังจิตไม่ได้อีก ด้วย----ตอนนี้ใช้ กูเกิ้ลโครม ค่อยดีขึ้นหน่อย)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 สิงหาคม 2013
  3. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    ต่อมาผมจึงเข้าใจว่า ผู้คนเหล่านีั้นทุกคน ไม่ว่า เด็ก ผู้หญิง คนแก่ ผู้มีความสามรถ ซึ่งตายในห้องรมแก๊สใต้ดินเฮือดกสาุดท้ายของมหายใจของพวกนั้นต่างก็สาปแช่งมนุษย์ด้วยดีันนี้ที่ทำให้พวกเขาต้องทุกข์ทรมาณยิ่งนัก ตั้งแต่นั้นมา จึงมีผู้เฝ้าธรณีประตูThe Gatekeeper--ซึ่งดูแลสถานที่นี้อยู่ เขาปล่อยให้พวกเพื่อนผมผ่านลงไปได้ แต่สำหรับผมเขาบอกว่า"ไม่ได้ สำหรับเจ้าลงไปไม่ได้"

    การที่ผมมีคุณสมบัติการเป็นร่างทรง และอยู่ในภวังคจิตของการภาวนา ผมจึงอาจจะมีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นเขาไม่ได้ผลักไสผม แต่เขาป้องกันผม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 สิงหาคม 2013
  4. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    คืนถัดมาทั้งคืน ผมเฝ้าสวด ขออภัยจากพระผู้เป็นเจ้า เพราะในฐานะที่เป็นมนุษย์คนหนึ่งนั้น ผมจึงเป็นทั้งเหยื่อและฆาตรกร ผมรู้สึกในส่วนที่เป็นสาเหตุของความผิดและสาเหตุของความเจ็บปวด
    ----การเข้าเยี่ยมค่ายกักกันนี้เป็นสิ่งสะกิดใจที่สำคัญของชีวิตผม ผมมองเห็นค่ายแห่งความตาย เป็นสัญญาณแห่งมหันตภัยพิบัติในอนาคต เป็นส่วนหนึ่งของการทำลางล้างอย่างบ้าคลั่งที่ครอบงำมนุษย์อยู่
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 สิงหาคม 2013
  5. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    การที่ผมเข้ามาอยู่ในสถาบันนี้มันสำคัญต่อผมในทุกด้าน ผมอุ่นใจว่า ผมยังมีหลายอดีตชาติ--และตัวผม เป็นอมตะ ไม่มีวันตาย ซึ่งยังไม่กล้าสรุปรวมถึงร่างในปัจจุบันภพ ที่ยังไม่กล้า้รีบยกว่า เป็น"จิตวิญญาณ"ของผม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 สิงหาคม 2013
  6. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    [COLOR="DarkRed"[SIZE="5"]]ดููทีวีช่องนึง มีสาวๆ และกระเทยหนึ่งตน ทั้งสามนี้ พอเจอชายหนุ่ม---ก็แสดงความหื่นกระหายร่านกามออกมาอย่างสุดกลั้น++--- พวกคุณทำสิ่งตรงข้ามกับการส่งเสริมปัญญา หรือคำตอบแห่งชีวิต --จนทนไม่ได้ต้องเปลี่ยนช่องไปดูดาวเทียมซึ่งมีแต่ขายยาโป๊ว --และโฆษณาเลขเด็ดกองสลาก --หวยหุ้น ----หรือรัฐบา่ลมีปัญญาแต่จะควบคุมโปรแกรมไลน์---เน็ต ---ทีเว็ปโป๊ พนันบอลกลับ---ไม่จับ ดูแปลกๆนะ-- จะให้คนไทยอึดอัดตายมั้ง เสียค่าเน็ต 600กว่า ใด้ใช้จริืง100กว่าบาท นอกนั้นรัฐบาลห้ามเข้า ห้ามดู แน่จริิงแบนกูเกิ้ลไปเลย ห้ามพูดเรื่องธรรมมะอีกด้วยไปเลยดีกว่า--ด้วยว่าไร้สิทธิเสรี
    คืนก่อนเข้าเว็ปที่อังกฤษ อเมริกา ด้วยว่าคนละเขต เขาก็ไม่ให้ดูอะไรๆได้ และไม่มีประโยชน์อะไรกับเรา เช่นโฆษณาหนังใหม่ๆ เดี๋ยวจะใช้โปกรมซ่ิอนไอพีหละ แต่ เวปพลังจิตจะหลุดหายไป----ด้วยว่าใช้ไอพีของประเทศอเมริกา--แถวคาลิฟอร์เนีย[/SIZE][/COLOR]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 สิงหาคม 2013
  7. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    ขอพักสายตา ปิดทีวีนั่งสมาธิ 10นาที (เสร็จแล้วลองเอนหลัง หลับยาวถึง
    10น อีกวันนึง)

    sadyhโพสต์ เมื่อวาน 02:51 | แสดงเฉพาะโพสต์ของผู้ใช้นี้
    อยากให้อธิบายเรื่องกสิณ กับฤทธิ์ซักหน่อยครับ ขอบคุณครับ

    รื่องฤิทธิ๋ ผมเคยเจอเจ้าที่ครับ ทำให้ลอยออกจากเตียง พอไปถามเทพ ท่านว่า"มันสั่นๆ ป่าว"
    ผมตอบว่าครับ เหมือนแผ่นดินไหว วิ่งมาจากที่ไกลๆ ท่านว่า"นั่นแหละ เขาเรียกว่าำพลัง +-- วิชาอิทธิฤทธิ์ปาฎิหารย์"--ถ้าเราเป็นเจ้าที่คงได้วิชานี้เองมั้ง เอาพลังไปทำการหลุดพ้นดีกว่าครับ ได้ฤทธิ์มาถือเป็นของแถม แต่กั้นการหลุดพ้นอีก-- เมื่อคืนผมนั่ง 10นาทียังไม่จุใจเลย
    --กสิณ เป็นการเพ่งธาตุ จนสามรถบังคับธาตุได้ สร้างธาตุได้ เช่นเดินบนอากาศได้ เพะราะอธิษฐานให้อากาศเหมือนแผ่นดิน ปัจจุบัน---ตามความคิดผม มนุษย์มีสมองเล็กและมีกรรมมาก ทำให้ฝึกวิชานี้ไม่สำเร็จ แต่นายเก่าผมบอกว่า เวลาเพ่งไฟ เหมือนมองทะลุ หรือเห็นเปลวไฟเบลอๆ ผมเองสามรถบังคับธาตุน้ำได้ เป็นบางครั้งที่เพ่งจิตได้แรง----ทำน้ำจากสายยางให้มามาก มาน้อย ถ้าให้เป็นยา ก็จะมีคล้ายน้ำมันยูคาลิปตััสออกมาจนได้กลิ่นฟุ้งไปหมด---ยังไงได้ผลอย่างไรมาแชร์ด้วยนะครับ ที่วัดเ้นินมะปราง พิษณุโลก เขาว่ามีฝึกกสิณกัน อย่างไรก็ไม่ทราบครับ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 สิงหาคม 2013
  8. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    บางครั้งเบื่อๆครับบางครั้งก็เอาสิ่งที่ไมมีชีวิต เช่น คอมพิวเตอร์มาปลอบใจได้ ถ้าชีวิตไมรู้ว่าจะอยู่กับมันนานเท่าไหร่ คงต้องขายๆไปหละครับ มีโน๊ตบุคที่ยังไม่รู้ว่าภาพจะสวยมั้ยยังไงก็อยากจะเห็นมันทำงานก่อนตาย
    --อยากจะเปลี่ยนฮาร์ดดิสก์ เป็น โซลิดสเตท เป็นพวกวงจร --ไอซี ไม่ใช่แบบจานแม่เหล็กละหัวอ่าน ราคามีตั้งแต่800-4-5พัน และอยากเล่นแอมป์ดิจิต้อล ต้องมี 350-หรือ800-ถึง2พันกว่าบาท
    โครงการทำเครื่องเสียงเล็กๆ ต้องหาไม้อัด หรือหล่อเรซินครับ หม้อแปลงก็แพง
    --วันนี้ตัดเล็บครับ ตอนมืดก็ตัดอีก เทพชอบทักว่า---- อย่าตัดเล็บตอนมืด มันต้องมีอะไรมากกว่ากุศโลบายของคนโบราณ ---ตัดเล็บ ตัดผม วันพุธไม่ดีครับ จะมีแต่เรื่อง(ไม่ดี)--- ลองมาแล้ว
    --วันพุธในบางปีก็ดี(วันธงไชย) หรือไม่ดีก็มีครับ(โลกาวินาศ)--- 1ปี ของไทย คือเริ่ม15เมษา หมด 15เมษาปีถัดไป- ถือเป็น 1ปี--เรื่องวันของจีน ปีจีน ผมไม่รู้นะครับ เพราะผมเป็นคนไทย ที่ไม่มีเชื้อจีนนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 สิงหาคม 2013
  9. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    เกรียนฟิคชั่น นึกว่าหนังไทยธรรมดา ผมว่าเป็นหนังดีมากครับ (ดีกว่าพี่มาก ราวหมื่นเท่า-- ความเห็นของผมเอง)
    --รัฐบาลเงาโลกและการเมือง--The Secret Government and Politics(หน้า9)
    ----ประธานาธิบดีคนนึงที่ไม่ยอมอยู่ใต้สังกัด รัฐบาลเงาโลก หรืออิลลูมิเนติ เขาได้พบกิจกรรมลับๆของพวกนี้ และพยายามเป่านกหวีดหยุดมันจึงเป็นเหตุทำให้เขาถุฟูกลอบสังหาร--เป็นที่รู้ทั่วไปในวงการ คนที่รู้ก็ถูกซื้อหรือบังคับให้ปิดปากเงียบ
    ---1ในเงินที่อิืลลู ใช้อย่างสนุกมือ คือเงินจากการการขายยาเสพติด --Drugs- จ๊อร์จ บุช เป็นหนึ่งในผู้จัดตั้งและให้ความคิดเรื่องการขายยา
    เจมส์ เบเก้อร์ เลขาแห่งชาติ---James Baker ยิ่งสูงขั้นกว่าเพราะเป็น หัวหน้า ซีไอเอ เหล่าคนที่ชั่วร้ายนี้ ได้ สร้างขั้นตอนที่เริ่มเป็นตัวของตัวเอง อิสระจากการถือบังเหียนของ กลุ่มภราดรภาพดำ (จากตาทิพย์ของเทพ ดจ์วาล คุล-ใครทำดี-ทำชั่วเทพจะรู้หมด อย่าคิดว่ามีเงินแล้วทำเลวได้--ไทยแลนด์โอนลี่-หนา)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 สิงหาคม 2013
  10. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    ปัจจุบันน่าจะเป็นหน่วยCFR หรือ Council of Foreign Relation เดิมเป็น-Trilateral Commission[/COLORน
     
  11. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    รุ่งนะ จะรุ่งมาก
    แต่ยามตกต่ำ ก็ตกหนัก ถูกซ้ำเติมจากคนอื่นด้วย

    รัก : หวา

    มนฑ์ : หลายคนเป็นเหมือนต้นมังคุด ไม่สูงเด่น แต่มันเกาะต้นอื่นได้ ตกลงมาก็ไม่จํบ

    รัก : อ่อ
    มนฑ์ : เธอต้องนั่งสมาธิในวันพุธนะ

    รัก : วันพุธเป็นวันไม่ดีของผมไม่ใช่เหรอ

    มนฑ์ : ต้องดูไปในรายละเอียดว่า วันร้ายนั้นไม่ควรทำอะไร และควรทำอะไร อย่างวันพุธทำการงานไม่ดีแต่ทำสมาธิได้ดีมาก

    รัก : อ่อ

    (ตัวอย่างเรื่องวันครับ)


    http://yantip.com/viewthread.php?tid=41467
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 สิงหาคม 2013
  12. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    อะ ลา โม๊ด--จะมาไม้ไหนอีกนี่--ปล่าวครับ--ภาษาฝรั่งเศษแปลว่า ทันสมัย ----A La Mode
    ถ้าภาษาอังกฤษว่า โมเดริ้น--Modern คนไทยมักว่า-- อินเทร็นด์---- ตกเทร็นด์ อะไรแบบนี้ บางคนแปลว่า "ตกรถไฟ" ปล่าวครับ ไม่ใฃ่----Trend แปลว่าแนวโน้ม --แนวทาง---ไม่ใช่รถไฟ--เทรน---งี้เอ่อ---ผิดครับ--- ฝรั่งเศส ครับ ไม่ใช่ ---ฝรั่งเศษ---เศษฝรั่ง--Francaise

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 สิงหาคม 2013
  13. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    -อย่าไปแถวอียิปต์ ณ บัดนาว-- เขาใช้กระสุนปลอม ยิงคนตายเป็นเบือ--สงสัยมาดูงานแถวนี้หละ แก้ตัวคล้ายผู้นำประเทศสารขัณฑ์เปี๊ยบเลย--ตั้งใจทำกรรมชั่ว ก็รับผลชั่วกันไป ก็เป็นคนชั่วอยู่แล้ว ทำชั่วก็ไม่เห็นแปลก---เชิดหน้าชูคอในสังคมได้ แถไถเก่ง--เพราะไทยแลนด์โอนลี่ มีความแปลก เพราะความแปลกๆ เราจึงอยู่รอดได้ "ยามศึกเราร่วมรบ ยามสงบเรา(ก็)รบกันเอง
    ----- ถ้าทุกคนมีเหตุผล ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ และเชื่อในกฏแห่งกรรมอย่างแน่นแฟ้น ก็ไม่ต้องทำอะไรครับ นอนดูทีวี จิบน้ำหวานขวดละ 10บาท เย็นๆสบายๆ ไม่ต้องปเย้วๆกลางถนน ในเรื่งที่ชาวบ้านตะโกนใส่ทีวีว่า "กรูรู้แล้ว--จาประท้วงทำซากอะไร เก็บตังไว้ให้ลูกไปโรงเรียนดีกว่า"(ใจเย็น --อดท นรั้งรอ--ตามในหนังสือจิตเวชบอก ถ้าไม่อดทน ก็อาจจะเก็บกดทางเพศมาก็ได้ เก็บกดทาง--เสียงดนตรี กีฬา ซื้อสินค้าอะไร--ก็ป่วยทางความคิดเหมือนกัน---รถเบ๊นซ์คันงามโดนชน ไฟลุกท่วม เราเฉยๆ เพราะไม่ใช่ของเรา

    --(วางเฉยได้เสมอ ตราบใดที่มันไม่ใช่ "ตัวกูหรือ--ของกู") เด็กได้เหรียญคณิตศาสตร์โอลิมปิก---เฉยๆอ้ะ แต่ถ้าเป็นลูกกูละโวยวายตายเลย---"ลูกกูเก่งมั่กๆ"นั่นคือตัวอัตตาที่แฝงอยู่ในการกระทำ เป็นสิ่งที่ทำให้เราทำชั่ว "โกงชาตินะเหรอ--ใครๆก็โกงกัน" กิเลสมันสอนให้พูดแบบนี้ --แก้ตัวแบบนี้ เป็นความเลวที่ไม่มีสิ้นสุดผิดศีลข้อนึงพาไปจนผิดครบ5ข้อ ความดีสลายไปหมด ยังไม่รู้ตัว

    ---ผมดีใจนะครับ ที่พอเพียงพอควร และไม่อยู่ในฐานะที่จะโกงชาติได้ แบบว่า ปลวกมองหาโต๊ะแทะเล่น เจอแต่โต๊ะเหล็กอะครับ---แหะๆ หมดโอกาส---การผิดศีล5 ไม่ได้ทำ ไม่มีสถานะและเวลาที่จะทำ เหล้าไม่กิน บุหรี่ไม่สูบ วันๆมองหาของกิน เช่นกิน ใบกระชาย--ใบเตย(โน --อาร์สยาม) ใบหม่อน เด็ดๆเอามาทำยา ต้มน้ำกิน ---เด็ด พรากของสีเขียว ก็บาปเหมือนกัน เดี๋ยวต้องปลงอาบัติแล้ว อิอิ---แถมภาพเด็ดสุดยอดครับ--อิอิ ไอซีที---ห้ามลบของอั๊วะหนา

    http://lnw.mthai.com/2008/07/19/ภาพเด็ดสุดยอดจากทางบ้า/
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 สิงหาคม 2013
  14. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    คลิปโฟร์มด หายากมาก ถ้าเห็นแล้ว ผู้อ่านก็อยากจะตื้บผมในทันที "รักดอกจึงหยอกเล่น --- รักไม่เป็นอยากแต่เล่น ---ไม่อยากหยอก"---วันนี้เน้นบันเทิงอย่างเดียว สาระหาไม่ได้ เขียนยากนะนี่ อิอิ
    ใบเตย มีกลิ่นหอม 1ใบ ใส่หม้อหุงข้าวกิน ด้วยความหอมเราจึงอุปาทานว่ามันหวานด้วย---
    ---ตอนนี้ก็เข้าไปดูคลิปต่างๆ ----ภาำพด้วยเครื่องความเร็วสูง--เพลินไปหน่อย ต้องถอดไป ถอดมาระหว่างสองเครื่องนี้--*แต่ละเครื่องก็มีบุคคลิกของมันเอง เครื่องนี้ ซีน่อน 2.4 จิ๊ก--ไฮเปอร์เทรด (ทำงานหลายอย่างพร้อมกัน)เร็วใช้ได้ครับ เพิ่มเม็มมาเป็น 1จิ๊กกว่า

    คลิปโฟร์มด หน้า 1 กลิตเตอร์ glitter อีโมติคอน emoticon hi5 MySpace
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 สิงหาคม 2013
  15. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    คงต้องทำงานต่อแล้ว--ขอโทษด้วยที่มีอารมร์ศิลปืน (ขี้เกียจ) แต่อากาศร้อนอบอ้าว ฝนตกบ่อยๆ

    --ปาโก้ ราบาน---ต่อ
    ----ในบรรดาเพื่อนๆผม มีบางคนที่มีอิทธิพลต่อชีวิตของผมมาก สำคัญต่อการพัฒนาทางด้านจิตใจ
    โดยเฉพสาะเพื่อนที่มีบิดา เ็ป็นนักอียิปต์วิทยา และถูกเลี้ยงมาโดยนักปราชญ์ผู้เก่งทางคาถาอาคม---สองท่านคือ ออร์--Aor และ อิชา--Isha เขาได้ให้ผมขอยืมหนังสืิอของท่านทั้งสองได้ และผมได้พบกับ "พวกลูกๆของออร์" ที่เมือง กราซ ทางใต้-แถบโก๊ดดาชูร์ พวกนี้เป็นคนที่วิเศษจริงๆ ผมได้เริ่มก้าวช้าๆบนเส้นทางของการแสวงหาความรู้นี้ได้โดยอาศัยพวกเขา
    ----การติดต่อกับโลกทืพย์ของผม โดยอาศัย ลักษณะพิเศษนี้ ดำเนินมาอย่างต่อ้เนื่อง---บาครั้งรุนแรงมาก ราวกับเตือนให้ผมอยู่ในกฏระเบียบ ห้ามออกนอกลู่นอกทาง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 สิงหาคม 2013
  16. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    ผมอยู่ในวัยที่ เรื่องรักๆใคร่ มีความสำคัญ แต่น่าอับอายที่ วีัย 26ปี ผมยังบริสุทธิ์อยู่ด้วยซ้ำ การทำตัวสำส่อนแบบสัตว์ของเพื่อนๆ ทำให่้ผมรู้สึกสะอีิดสะเอียน แต่ผมก็อยากจะรวมเป็ฯหนึ่งกับใครสักคน แบบว่าด้วยความรักเหมือนพ่อและแม่ของผม
    --เป็นครั้งแรกที่ผมตกหลุมรักอย่างบ้าคลั่งกับสาวคนหนึ่งที่สถาบันศิลปะชั้นสูงนี้ แต่ความสัมพันธ์ของเรายังเป็นแค่เพื่อนอยู่แค่นั้น มันทำให้ผมผิดหวังมาก เมื่อความรถนาของปมมีมาก ผมจึงตัดสินใจ ใช้อำนาจพิเศษของผมเข้าช่วย ช่วงนั้น ผมอยู่ห้องใต้หลังคา เลขที่73 ถนนโอสมานน์ ไม่มีสมบัติมากมาย มีเตีบยงเหล็ก โต๊ะ เก่้าอี้ ห้องนอนแม่ผมก็อยู่ติดกัน ณ รังส่้วนตัวนี้ ผมปั้นหุ่นขี้ผึ้งตัวเล็กๆ มีลักษณะคล้ายคนที่ผมหลงรัก และมีเส้นผมของเธออยู่ด้วย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 สิงหาคม 2013
  17. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    (โปรดสังเกตว่า ไสยศาสตร์ ไม่ว่าที่ไหนของโลกก็สูตรเดียวกัน จะต่างกันที่ภาษา--วัสดุ และพิธีกรรมไม่ต่างกัน)
    ---"ผมต้องการให้คนนี้รักผม ผมต้องการให้คนนี้รักผม" คือคำพูดที่ผมพร่ำภาวนาอย่างจริงจังแบบเอาเป็นเอาตาย
    คืนหนึ่งหลังจากปิดไฟเข้านอน ผมถึงกับตกใจ เมื่อเห็นแสงเรื่องๆออกมาจากตัวหุ่น ผมเฝ้ามองอยู่ชั่วขญะคิดว่าตาฝาดไป แต่แสงนั้นมีความเข้มมากขึ้นเรื่อยๆ
    --ผมรู้สึกปลาบปลื้มในอำนาจของผมที่ขยายขอบเขตได้กว้างขึ้นและ ได้ผลดีในเวลาไม่นานเลย ด้วยความหลงไหลในอำนาจเวทย์มนต์ที่ผมมีมากกว่าคนอื่น ทำให้ผมฝึกปรือทางปฏิบัติอย่างมาก--มากกว่าแค่เวทย์มนตร์คาถา
    ----ในคืนวันพระจันทร์เต็มดวงคืนหนึ่ง ผมสะดุ้งตื่นขึ้นมา โดยคิดว่ามีคนอยู่ในห้อง อย่างไรก็ตามผมแนใจว่าผมใส่กลอนแล้ว และหน้าต่างก็มีลูกกรง
    ---ผมมองไม่เห็นใครสักคนในห้องนอน ห้องว่างเปล่า สว่างด้วยแสงจันทร์ แต่ทันใดนั้นเอง สปริงที่นอนของผมดังเอี๊ยดอ๊าดใครบางคนได้เข้ามานั่งตรงนั้น บนที่นอน แถวข้างตัว ข้างสะโพกผม ผมเห็นรอยบุ๋มบนที่นอนได้ชัดเจน---- ผมผุดลุกขึ้นยืนในทันที สองตาเบิกกว้างด้วยความตระหนก
    ----มนุษย์ล่องหนนี้จับมือสองข้างของผม และบีบข้อมือไว้่แน่น ไม่ช้าผมก็รู้สึกว่า มีลมหายใจเบาๆเป่ารดหน้าผม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 สิงหาคม 2013
  18. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    Mouth Bhuddha ภาค2ส่วน1ครับ น่าสนใจมาก
    Mouth buddha2
    รูปฌาน
    คือ ฌานที่เกิดได้จากการใช้ "รูป" เป็นเครื่องช่วยทำสมาธิ เช่น การเพ่งกสิณ เห็นเ็ป็นรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรูปที่มีความหมายหรือไม่ก็ตาม เช่น บางท่านอาจเพ่งเห็นเพียงดวงกสิณสีต่างๆ สีใดสีหนึ่งก็ได้ ซึ่งกาีรใช้รูป, นิมิต ต่างๆ เป็นเครื่องช่วยรวมสมาธิ ดึงความสนใจมารวมที่รูปหรือกสิณที่เพ่ง แล้วทำให้มีสมาธิลึกขึ้นไปเรื่อยๆ จนพ้นจากนิวรณ์ทั้งห้า ได้เป็น "ฌานหนึ่ง" นั้น จะก่อให้เกิด องค์ประกอบของฌานทั้ง ๕ ประการ คือ วิตก, วิจารณ์, ปีตี, สุข และเอกัคคตา ครบอยู่ในฌานขั้นแรก (ฌานหนึ่ง) เมื่อเข้าฌานได้ลึกขึ้น ก็จะค่อยๆ "ปล่อยเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ" เพื่อรวมสมาธิที่เรียกว่า "องค์ฌานทั้งห้า" นี้ไปทีละนิด  ทีละน้อย ก็จะ้เข้าสู่ฌานในระดับที่ลึกขึ้น เช่น ฌานสองก็ปล่อยคลาย วิตก, วิจารณ์ ได้, ฌานสามก็ปล่อยคลาย ปีติ ได้, ฌานสี่ ก็ปล่อยคลาย สุข ได้ เหลือแต่เอกัคคตา อารมณ์เท่านั้น อนึ่ง องค์ฌานทั้งห้านี้่เป็นคำศัพท์เฉพาะทางพระพุทธศาสนา เช่น คำว่า วิตก ไม่ได้หมายถึง "ความวิตกกังวล" แบบทางโลกแต่มันหมายถึงภาวะที่จิตยังต้องพึ่งพาการเพ่งเนืองๆ หรือบริกรรมเนืองๆ ขาดไม่ได้ เหมือนคนวิตกกังวล ก็ต้องดูต้องแลบ่อยๆ นั่นแหละ ส่วนวิจารณ์ก็เหมือนคนที่เข้าไปสนใจกับกสิณที่เพ่งหรือเห็นเป็นพิเศษ พอไม่มีวิจารณ์แล้ว กสิณจะเป็นอย่่างไรก็ไม่สนใจ เฺฉยๆ จะเขียว จะแดง ก็ช่างมัน นี่คือ หมดวิจารณ์แล้ว แต่ดวงกสิณก็ไม่จำเป็นต้องดับไป มีอยู่ แ่ต่เราไม่ได้สนใจอะไรมากเท่านั้น ส่วน ปีติ นี่เป็นอาการของจิตที่แสดงพลังออกมา ทำให้จิตใจหรือร่างกายสัมผัสได้ชัดเจน เช่น ขนลุกซู่ ก็มี มันมีพลังเมื่อเริ่มมีอิสระและสมาธิเริ่มมากขึ้น เหมือนคนที่ยังตื่นเต้นอยู่ พอหายตื่นเต้น หมดปีติแล้ว มันก็ปกติ ราบเรียบ มีแต่สุขแล้ว ทีนี้ ก็จะเริ่ม "เพลิน" อาการเพลินๆ นี่ละ เรียกว่า "สุข" คือ เริ่มนั่งได้ยาว เริ่มชอบ เริ่มนานแล้ว แต่พอไม่ิติดสุขก็ไม่ติดเพลินแล้ว ไม่นั่งเพลินแล้ว จะมีอะไรมารบกวนให้ออกจากความเพลินก็ไม่ว่ากัน เฉยๆ แม้ออกจากการนั่งสมาธิหลับตาเพ่งอะไรแล้วแต่จิตยังนิ่งรวมดี นิวรณ์ไม่อาจรบกวนได้ ทั้งองค์ฌานทั้งห้าก็เหลือแต่หนึ่งเดียวคือ "เอกัคคตา" อย่างนี้ ก็เข้าถึงฌานสี่ได้ โดยไม่ต้องนั่งนิ่งๆ หรือหลับตาอะไรเลย คุยกันก็อยู่ในฌานสี่ได้ อันนี้ เรียกว่า ชำนาญแล้ว (วสี) ฝึกปฏิบัติกับไม่ปฏิบัติ ดูเปลือกนอก ก็แทบไม่ต่างกันเลย

    ฌานระดับที่สูงกว่าฌานสี่ ไม่อาจใช้องค์ฌานทั้งห้า เป็นเครื่องหมายอธิบายได้อีก ทั้งหมดนั้น จะยิ่งไปเกินกว่าคำอธิบายได้ ลึกซึ้งเกินไป จนไม่อาจจะหาคำอะไรมาอธิบายดี ซึ่งฌานในระดับที่สูงกว่าฌานสี่นั้น จะพ้นแล้วจาก "รูป" ที่ใช้เป็นหมายนิมิต บางรายเคยเห็นดวงกสิณ วันหนึ่งดวงกสิณเสื่อมดับไป คิดว่าตนปฏิบัติแย่ลง จิตตก ก็พลาด อดไป แต่ถ้าใครเฉยๆ ดับก็ดับไป จิตก็ยังสงบมีสมาธิอยู่ นั่นจะเข้าสู่ฌานที่ลึุกขึ้นกว่าฌานสี่แล้ว เป็นระดับที่ไม่พึ่งพารูปใดๆ นิมิตใดๆ จะมีหรือไม่ ไม่สำคัญ เพราะจิตก็ยังสงบ มีสมาธิดีอยู่ ได้ไม่ต่างจากเดิม อนึ่ง ผู้เขียนในวัยเด็กประมาณ ๕-๗ ขวบ ก็เ็ห็นดวงกสิณตั้งแต่เด็ก หลับตาก็เห็นเป็นแสงสีต่างๆ วูบๆ วาบๆ ดูแล้วสนุก สวยดี ตื่นตาตื่นใจ ไม่รู้ว่าคือดวงกสิณ เพราะยังเด็กมาก แต่ชอบเพ่งดูใบไม้ที่โดนแสงส่อง มันสวยดี มีสีเขียวสว่าง อะไรอย่างนั้น หลับตาก็เห็นติดตา ก็เล่นสนุกไปเหมือนเด็กคนหนึ่ง จนมันดับหายไปเองเมื่อโตขึ้น ก็ไม่ส่งผลให้สมาธิหรือความสงบลดลงแ่ต่อย่างใด

    อรูปฌาน
    คือ ฌานที่เกิดจากการอาศัย "อรูป" เป็นอารมณ์เพื่อรวมจิตเข้าสู่สมาธิ เมื่อพ้นนิวรณ์ทั้งห้าแล้วจะนับเป็น "ฌานหนึ่ง" เหมือนรูปฌาน เมื่อเข้าสู่สมาธิที่ลึุกขึ้นจนถึงฌานสี่ ยังใช้หลักการพิจารณาได้เช่นรูปฌานสี่เหมือนกัน แต่เมื่อเข้าสู่ฌานที่ลึกขึ้นไปกว่าฌานสี่แล้ว ก็จะมีหลักในการพิจารณาต่างกัน กล่าวคือ รูปฌานสี่ เข้าสู่ฌานในระัดับลึกตั้งแต่ ๑ ถึง ๔ ขั้นแล้วจบลง ไปมากกว่านั้นไม่ไ่ด้ หา่กยัง "ติดรูป" จะยังไม่พ้นฌานสี่ จะขึ้นระดับฌานขั้นที่ห้าไม่ไ่ด้ เมื่อรูปดับลงแล้วจึงเข้าสู่ฌานขั้นที่ห้าได้ ซึ่งจะกลายเป็นอรูปฌานแทน (เนื่องจากไม่มีรูปเป็นหมายรวมสมาธิแล้ว) ดังนั้น อรูปฌานจึงสามารถเข้าสู่ฌานที่ลึกขึ้นไปกว่า ๑ ถึง ๔ ระดับได้ ซึ่งตามตำรานับให้ว่าลึกขึ้นไปได้อีก ๔ ขั้น (ดังนั้น หากเจริญฌานจากรูปฌานก็จะได้ฌานหนึ่งถึงสี่แล้วต่อด้วยอรูปฌานอีกก็จะได้ขั้น ๕ - ๘ นั่นเอง) โดยหลักการพื้นฐานของอรูปฌาน ก็ไม่ต่างจากรูปฌาน กล่าวคือ "ใช้ธรรมชาติบางอย่างเป็นเครื่องรวมจิต รวมสมาธิ ทำให้ความสนใจรวมอยู่ในสิ่งนั้นๆ เพื่อดึงความสนใจออกจากนิวรณ์ทั้งห้าชั่วคราว แต่จะแตกต่างกันที่ "ธรรมชาติที่นำมาใช้ในการรวมสมาธิ" ที่รูปฌานจะใช้สิ่งที่มีรูป แต่อรูปฌานจะใช้สิ่งที่ไม่มีรูป เช่น ความว่าง เป็นต้น

    อรูปฌานจึงอาจเหมือนยากกว่ารูปฌาน สำหรับผู้ฝึกใหม่ เนื่องจากการรวมสมาธิไปสู่สิ่งที่มีรูปย่อมง่ายกว่าสิ่งที่ไม่มีรูปให้เห็นเลย แต่เมื่อดำเนินไปเรื่อยๆ "รูปฌาน" จะทำให้ได้สมาธิที่ลึกที่สุดเพียง "ฌานสี่" จะลึกไปกว่านั้นไม่ได้ ด้วยยังติดใน "รูป" อยู่ เมื่อปล่อยคลายความยึดมั่นในรูปหรือรูปดับแล้วยังมีสมาธิได้ดังเดิม จึงจะเข้าสู่ฌานที่ลึุกขึ้นได้ ทว่า ไม่ว่าจะเป็นฌานหนึ่งไปจนถึงฌานแปด ก็นับว่าเป็นสมาธิขั้นสูงแล้ว (อัปปนาสมาธิ) สูงกว่าขนิกสมาธิ ซึ่งในการบรรลุธรรมนั้น ใช้สมาธิเพียงแค่ขนิกสมาธิ ก็สามารถบรรลุธรรมได้ ไม่จำเป็นต้องใช้สมาธิขั้นสูงจนเกิดเป็นฌานขั้นใดขั้นหนึ่งเลย แต่ที่หลายท่านเจริญฌานนั้น ก็อาจด้วยปรารถนาในสิ่งอื่นที่มากกว่า "อาสวักขยญาณ" เช่น อภิญญาห้า เป็นต้น ในท่านที่ไม่ไ่ด้ฝึกฌาน อาจบรรลุธรรมโดยไม่มีอภิญญาตัวอื่นๆ เลยก็ได้ แต่ในท่านที่บรรลุธรรมโดยมี "ฌาน" เป็นพื้นฐาน มักจะได้อภิญญามาด้วย เรียกว่าบรรลุอรหันตผลพร้อมอภิญญาต่่างๆ เช่น บรรลุพร้อมปฏิสัมภิทาญาณ

    เจตสิก
    คือ ธรรมที่ประกอบกับจิต ไม่ใ่ช่ด้วยเป็นเหตุหรือผลของจิต แต่ปรุงประกอบร่วมกันเฉยๆ อุปมาเหมือนเพื่อนคบหากันอยู่ ไม่มีใครเป็นพ่อ-แม่ หรือลูกของใคร ไม่ใช่่ว่าอะไรเป็นเหตุให้อะไรเกิด เพียงแ่ต่ปรุงประกอบร่วมกันเฉยๆ เท่านั้น จะขาดจิตไม่ได้ หมายความว่า ถ้าไม่มีจิต ก็จะไม่มีเจตกสิกด้วย แต่เจตสิกก็ไม่อาจกล่าวได้ว่าเกิดจากจิต หรือจิตสร้างมันขึ้นมาเป็นผล ก็หาได้ไม่ เป็นเพียงสิ่งที่ประกอบร่วมกันเฉยๆ เท่านั้น อุปมาเหมือน ฝนตกกับกบร้อง ย่อมไม่ใช่เหตุผลของกันและกัน เพียงแต่ประกอบร่วมกันมาเท่านั้น โดยจิตจะมีลักษณะหนึ่งเดียว คือ "จิตประภัสสร" ใสซื่อบริสุทธิ์ เหมือนเพื่อนที่ใสซื่อ ส่วนเจตสิกจะเหมือนเพื่อนที่หลายแบบ ทั้งแบบที่มีกิเลสและไม่มี เวลาไปไหนมาไหนต้องไปด้วยกัน จึงเรียกว่า "กลุ่มหรือแก๊งค์" ได้ ถ้า่ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไป ก็ไม่ใช่กลุ่มหรือแก๊งค์ จึงกล่าวได้ว่าเจตสิกเกิดพร้อมกับจิตและดับไปพร้อมกับจิต, มีอารมณ์เดียวกับจิต, อาศัยวัตถุเดียวกับจิต แต่ไม่ได้อาศัยกันและกันในการก่อเกิดหรือดับ (ต่างก็ไม่ใช่เหตุหรือผลของกันและกัน) เหมือนเหรียญบาท ย่อมมีทั้งด้านหัวและก้อยประกอบกันทั้งสองด้านครบ จะขาดอย่างหนึ่งอย่างใดไม่ได้ เกิดก็ต้องเกิดพร้อมกัน คือ ถ้ามีด้านหัว ก็ต้องมีด้านก้อย ดับก็ต้องดับพร้อมกัน คือ ถ้าไม่มีหัวก็ไม่มีก้อย หรือหากจะเปรียบเป็นเหมือนน้ำผลไม้ก็ได้ ส่วนที่เป็นน้ำบริสุทธิ์อุปมาดั่งจิต ส่วนที่เป็นสีสันรสชาติ ก็อุปมาเหมือนเจตสิก ไม่อาจแยกกัน หากแยกจากกันแล้วก็ย่อมไม่ใช่ "น้ำผลไม้" อีก โดยเจตสิกจะเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ในขณะที่ "จิต" นั้นจะยังคงเดิม เป็นศูนย์กลาง เ็ป็นดั่งประธาน เช่นเดิม เหมือนน้ำผลไม้ทุกชนิด ก็ต้องใช้น้ำบริสุทธิ์เป็นส่วนผสมหนึ่งทั้งสิ้น แต่หากต้องการให้ได้น้ำผลไม้ชนิดไหนก็เปลี่ยนส่วนผสม, เครื่องปรุง ฯลฯ ไปเท่านั้นเอง
     
  19. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279
    เจตสิกทำงานร่วมกับจิต เสมือนว่าเจตสิกเป็นขุนนางหลายๆ คน ที่รายล้อมรอบจิตซึ่งเป็นพระราชา พอเจตสิกตัวที่หนึ่งทำงานแล้วดับไป เจตสิกตัวที่สอง, สาม, สี่ ฯลฯ ก็เข้ามาทำงานร่วมกับจิตอีกเป็นลำดับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ เจตสิกจึงไม่เที่ยง, เกิด-ดับไปเรื่อยๆ ไม่ใช่องค์ประทานในกลุ่มแก๊งค์นี้ ในขณะที่จิตยังคงใสซื่ออยู่เหมือนเดิม เจตสิกเหมือนขุนนางที่ไม่มีอำนาจในตัวเอง ต้องอาศัยอำนาจของพระราชาคือจิต ในการทำกิจต่างๆ แต่พระราชาืคือจิตนั้น ใสซื่อมาก จึงไม่รู้ว่าอะไรควรไม่ควรทำ เจตสิกที่เหมือนกับขุนนางจึงเรียงหน้ากันมาทำงานร่วมกับจิตเป็นลำดับไป โดยเจตสิกมีทั้งสิ้น ๕๒ ชนิด เรียกว่า "เจตสิก ๕๒" แบ่งออกเป็น 

    ๑. สัพพจิตตสาธารณะ ๗ คือ เจตสิกมูลฐานที่เกิดขึ้นกับ "จิตสังขาร" ทุกแบบ เหมือนขั้นตอนเบื้องต้นที่จิตสังขารทุกแบบต้องมีก่อนเป็นเบื้องต้น ซึ่งมีทั้งหมด ๗ ชนิด ได้แก่ เอกกัคคตา, ชีวิตินทรีย์, มนสิการ, เวทนา, สัญญา, เจตนา, ผัสสะ

     ๒. ปกิณณกเจตสิก ๖ คือ เจตสิกที่ประกอบขึ้นกับ "จิตสังขาร" บางชนิด, บางกลุ่ม ซึ่งมีความเป็นกลาง ไม่ใช่ทั้งกุศลหรืออกุศล แต่ไม่ได้เกิดขึ้นกับจิตสังขารทุกดวง ได้แก่ วิตก, วิจารณ์, อธิโมกข์, ฉันทะ, วิริยะ, ปีติ

    ๓. อกุศลเจตสิก ๑๔ คือ เจตสิกที่ประกอบเข้ากับ "จิตสังขาร" บางกลุ่มเฉพาะในกลุ่ม "อกุศล" เท่านั้น ได้แก่ โลภะ ๓ (โลภะ, ทิฏฐิ, มานะ), โทสะ ๔ (โทสะ, อิสสา, มัจฉริยะ, กุกกุจจะ), โมหะ ๔ (โมหะ, อหิริ, อโนตตัปปะ, อุทธัจจะ), ติกะ ๓ (ถีนะ, มิทธะ, วิจิกิจฉา) 

    ๔. โสภณเจตสิก ๒๕ คือ เจตสิกที่ประกอบเข้ากับ "จิตสังขาร" บางกลุ่มเฉพาะในกลุ่ม "กุศล" เท่านั้น ได้แก่ สาธารณะ ๑๙ (สติ, สัทธา, หิริ, โอตตัปปะ, อโลภะ, อโทสะ, ตัตรมัชฌัตตา, กายลหุตา, จิตตลหุตา, กายมุทุตา, จิตตมุทุตา, กายกัมมัญญัตตา, จิตตกัมมัญญัตตา, กายอุชุตา, จิตตอุชุตา, กายปัสสัทธิ, จิตตปัสสัทธิ, กายปาคุญญตา, จิตตปาคุญญตา) วิรัตติ๓ (สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ) อัปปมัญญา ๒ (กรุณา, มุทิตา) ปัญญา ๑ (ปัญญา)

    อนึ่ง "จิตสังขาร" นี้ ไม่ได้มีอยู่จริง เป็นเพียง "สมมุติ" ที่พระอรรถกาฐาจารย์ ท่านได้เขียนไว้อ้างอิงถึงเท่านั้น เพื่ออธิบายเรื่องของเจตสิกเท่านั้นเอง เช่น จิตโลภ ไม่มีจริง แต่เป็นสมมุติที่้ใช้อธิบายกลุ่มหรือแก๊งค์ของ "จิตประภัสสร" ที่ทำงานร่วมกับเจตสิกหลายๆ ชนิด จนทำให้เกิด "ความโลภ" นั่นเอง ทั้งนี้ เจตสิกจะเกิดขึ้นแล้วดับไปเป็นลำดับ, เป็นกลุ่ม จนกว่าจะทำกิจครบ จึงมีำคำเรียกกระบวนการเหล่านี้ว่า "วิถีจิต" ซึ่งจะเกิดจาก "จิตประภัสสร" ที่ทำหน้าที่เหมือนพระราชา มี "เจตสิก" ที่ทำหน้าที่เหมือนขุนนาง เข้ามารายงานหรือทำกิจต่างๆ ร่วมกับจิตนั้นเป็นลำดับ จากเจตสิกหนึ่งไปสู่เจตสิกหนึ่ง เกิด-ดับไปเรื่อยๆ ส่วนจิตประภัสสรยังคงบริสุทธิ์เช่นเดิมไม่ไ่ด้เกิด-ดับตามเจตสิกไปด้วย ด้วยส่วน "จิต" นั้น คือ "ธาตุ" ชนิดหนึ่งเรียกว่า "มโนธาตุ" เป็นธาตุแท้แห่งความบริสุทธิ์, ประภัสสร ตราบจนกว่าจะนิพพานไป

    สุญญตา
    คือ ธรรมชาติหนึ่งอันไม่เที่ยง, ไม่ใช่ตัวตน, ไม่อาจยึดมั่นถือมั่นได้ตลอดไป ซึ่งมีลักษณะ "ว่าง" จากใดๆ ทั้งปวง บางท่านแปลง่ายๆ ว่า "ความว่าง" ก็ใช้ได้เหมือนกัน ซึ่งความว่างหรือสุญญตานี้ยังไม่ใช่ "นิพพาน" เพียงแต่สุญญตาเ็ป็นธรรมฝ่ายตรงข้ามกับความมี ใช้เป็นเครื่องแก้คนที่มีเยอะ, มีมาก, ล้นเกินไป เช่น คนที่มีความรู้ทางธรรมมากเกินไปแต่ไม่ได้เกิดปัญญา หลงตัวเองอยู่ด้วยเพราะความรู้มาก หรือรู้เยอะนั้น บางท่านจะแนะนำให้ใช้ "สุญญตา" เป็นเครื่องแก้ เพื่อให้เข้าสู่ความพอดี, ตรงทาง, สายกลาง ก็จะตรงต่อสัจธรรมความจริงอันเป็นกลาง มีจิตแน่วแน่ตรง, อุเบกขาในธรรมได้ แต่บางท่านก็เอนเอียงไปทางฝ่าย "ความว่างหรือสุญญตา" มากเกินไป ก็มี เหมือนคลั่งใคล้สุญญตามากเกินไป ทำให้จิตเอนเอียงไปทางความว่าง ทั้งฝ่ายที่มีจิตเอนเอียงไปทางความว่างและความมี ล้วนแต่ขาดซึ่งอุเบกขาทั้งสิ้น การที่ใช้ "ความว่าง" เป็นเครื่องแก้ธรรมแ่ห่ง "ความมีมากล้น" นั้น เพื่อให้จิตตรงทาง, ตรงธรรม เกิดอุเบกขา เท่านั้นเอง ไม่ใช่ให้ยึดมั่นถือมั่น จนจิตเอนเอียงไปทางสุญญตา เห็นธรรมชาติ, สมมุติใดๆ ก็เหมารวมไปง่ายๆ ว่า "เป็นความว่างทั้งหมด" อะไรก็ว่างหมด เป็นต้น อนึ่ง ธรรมชาติที่ประกอบกันเป็น "รูป" ทั้งหลาย ล้วนมาจาก "มหาภูติรูปสี่" คือ ธาตุดิน, น้ำ, ลม, ไฟ อันผสมกันอยู่ไม่อาจแยกจากกันได้ แท้แล้วก็คือหนึ่งเนื้อเดียวกัน เป็นสิ่งเดียวกัน แต่ถูกมองต่างมุมไปเท่านั้นเอง เหมือนเหรียญสองด้าน ทุกด้านก็คือเหรียญเดียวกัน ทว่า "ความว่าง" นี้ เป็น "ธาตุ" ตรงข้าม เป็นพื้นฐานของการมีธาตุทั้งสี่ รองรับการดำรงอยู่ของธาตุทั้งสี่ไว้ และมีลักษณะตรงข้ามกับธาตุทั้งสี่ สามารถเปลี่ยนกลับไปมาระหว่าง "ความว่าง" และ "มหาภูติรูปสี่" ได้ ด้วยเพราะทั้ง "ความว่าง" และ "มหาภูติรูปสี่" ล้วนไม่เที่ยง, ไม่จีรัง และเป็นสิ่งตรงข้ามกัน

    ดังนั้น "มหาภูติรูปสี่" (ธาตุทั้งสี่) จะอยู่่ร่วมกันเสมอ ไม่อาจแยกออกจากกันได้ ถ้าเกิดก็เกิดด้วยกัน ถ้าดับก็ดับด้วยกัน บางท่านพิจารณาธาตุสี่เพียงธาตุใดธาตุหนึ่ง ธาตุเดียว หรือเจริญธาตุใดธาตุหนึ่งเพียงธาตุเดียว คิดว่าจะสามารถทำให้จีรังยั่งยืนได้ เช่น เจริญธาตุน้ำทำใจให้เย็น สุดท้าย เมื่อความจริงแห่งการอยู่ร่วมกันของมหาภูติรูปสี่ปรากฏ ก็คิดว่าเป็น "อาการธาตุไฟเข้าแทรก" แท้แล้ว ไม่มีอะไรแทรกอะไร ด้วยมหาภูติรูปสี่นี้ เป็นหนึ่งเดียวกันอยู่แล้ว เหมือนกล่องที่มีหลายด้าน เมื่อใดเจริญด้านใดด้านหนึ่งมาก แม้ด้านที่ไม่เจริญ จะเบาบางจนแทบไม่อาจสังเกตุเห็นได้ แต่ก็ไม่ดับสูญไป รอวันที่จะพลิกกลับมาเจริญได้ดังด้านอื่นๆ เช่นกัน จนเืมื่อมหาภูติรูปสี่ดับสิ้นหมดแล้ว จึงจะกลายเป็น "ความว่าง" กลับไปมาเช่นนี้ ไม่ใ่ช่นิพพาน ด้วยเพราะยังวนเวียนอยู่ในวัฏฏะ คือ "วังวนแห่งการเกิด-ดับ" ก็ต่อเมื่อ ไม่ใช่ทั้งเกิด ไม่ใ่ช่ทั้งดับ หลุดพ้นแล้วทั้ง "มหาภูติรูปสี่" และ "ความว่าง" (สุญญตา) แล้ว นั่นแหละ จึงแจ้งถึงซึ่ง "นิพพาน"



    ธรรมกาย
    คือ กายแห่งธรรม อันเป็น "กายในกาย" ที่พบในพระอรหันต์ทั้งหลาย และเป็นหนึ่งในสามกายของพระพุทธเจ้า ซึ่งได้แก่ ๑. ธรรมกาย (กายแห่งธรรม) ๒. นิรมาณกาย (กายเปลือกนอกที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสม) ๓. สัมโภคกาย (กายสังขารที่ได้ดำรงชีพ ดื่มกิน) โดยทั้ง ๓ กายนี้ ประสานอยู่่ร่วมกัน เพื่อการโปรดสัตว์อย่างเหมาะสม หากขาดซึ่งกายใดกายหนึ่งแล้ว การโปรดสัตว์ก็อาจมีปัญหาได้ เช่น หากขาดซึ่ง "สัมโภคกาย" ก็ไม่มีกายที่ดำรงชีพอยู่เหมือนมนุษย์ๆ ทั้งหลายย่อมไม่อาจเข้าถึงหรือเข้าใจในภาวะของพระพุทธเจ้าได้ นอกจากท่านที่ปฏิบัติธรรมขั้นสูงจริงๆ จึงจะเข้าถึง "ธรรมกาย" ของพระพุทธเจ้าได้ อนึ่ง ในกายทั้งสามนี้ "ธรรมย่อมดำรงอยู่เฉพาะในธรรมกาย" เท่านั้น กายอื่นๆ ไม่อาจเป็นที่หยัดยืนแห่งธรรมได้ ดังนั้น เมื่อบุคคลได้พบพระพุทธเจ้าแล้ว ยึดติดในสังขารเปลือกนอกของท่านก็ไม่อาจเข้าถึงพระธรรมกายของท่าน ย่อมไม่อาจที่จะบรรลุธรรมได้ บางท่านได้กล่าวเสริมอีกว่า "ธรรมกาย คือ อายตนะนิพพาน" ด้วย หรือก็คือ พระพุทธเจ้าใช้ "พระธรรมกาย" ในการรับรู้และเข้าถึงซึ่งพระนิพพาน เมื่อธรรมกายรับรู้นิพพานได้ จึงนับว่าเป็น "อายตนะนิพพาน" แต่ไม่ใช่ตัวนิพพานโดยตรง เป็นเพียงกายที่เชื่อมโยงเพื่อรับรู้ถึงนิพพานเท่านั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า "หากบุคคลไร้ซึ่งธรรมกายแล้ว มีแต่กายอื่นๆ ไม่อาจใช้กายอื่นๆ เหล่านั้น รับรู้หรือเข้าถึงนิพพานได้" หากต้องการรับรู้หรือเข้าถึงนิพพาน (บรรลุธรรม) ย่อมต้องมี "ธรรมกาย" ก่อน เหมือนดอกบัวที่รอรับธรรม ย่อมต้องพร้อมบานแล้วก่อนฉะนั้น จึงรับแสงธรรมได้เต็มที่ หากยังไม่บาน แสงส่องอย่างไร ก็ไม่ถึงซึ่งภายในดอกบัวได้ ดังนั้น "ธรรมกาย" จึุงอุปมาดั่ง "ดอกบัวบาน" ที่รอรับแสง (พระธรรม) ฉะนั้น หากไม่ไ่ด้รับแสงก็ไม่บรรลุธรรม เมื่อได้รับแสงธรรมแล้ว จึงบรรลุธรรมได้ ดังนั้น การบรรลุ "ธรรมกาย" จึงเป็นการเตรียมอินทรีย์รับธรรม

    ในนักปฏิบัติบางกลุ่ม ย่อมพิจารณา "กายในกาย" อันเป็นหนึ่งในสี่หลักของสติปัฏฐานสี่ (กาย, เวทนา, จิต, ธรรม) จากกายสังขารหรือสัมโภคกายนี้ ไปสู่กายภายในซึ่งซ้อนอยู่ในกายสังขาร เป็นชั้นๆ ไป ในท่านที่สำเร็จตาทิพย์จึงเห็นกายในกาย ซึ่งเป็นกายทิพย์แบบต่างๆ ได้ ส่วนในท่านที่ไม่สำเร็จตาทิพย์ ก็สามารถเข้าใจถึง "กายในกาย" ได้ด้วยปัญญา หรือสติอันละเอียด ย่อมสัมผัสถึงความมีอยู่ของกายในกาย ที่ซ้อนอยู่ในกายสังขารนี้ได้ เช่นกัน เรียกว่า "สติในฐานกาย" ไม่เกี่ยวว่าจะต้องมีัตาทิพย์ จะต้องเห็นกายทิพย์นั้นหรือไม่? แต่ด้วยกำลังของสติที่ละเอียดอ่อน ก็สามารถรับรู้ได้ถึงการมีอยู่ของกายนั้นๆ ได้เช่นกัน เรียกว่า "กายานุสติปัฏฐาน" นั่นเอง อนึ่ง "ธรรมกาย" ของแต่ละท่าน มีลักษณะไม่เหมือนกัน ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีมาก "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะเป็นพุทธะมีมหาบุรุษลักษณะครบทุกประการ ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีน้อย (ปัญญาธิกะ บารมี ๔ อสงไขย) "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะไร้รูป ไม่มีรูปแห่งพุทธะเลย เป็นเพียง "มโนธาตุ" สว่างไสวดุจดวงดาวประกายแสงอยู่เท่านั้น จนบางท่านเรียกว่า "แสงแห่งธรรม" หรือ "พระเจ้าแสงแห่งธรรม" ก็มี (บางท่านเรียกเช่นนั้น แต่มิใช่ศัพท์ที่ใช้เป็นทางการ) ในพระอรหันตสาวกทั่วไป "ธรรมกาย" จะมีลักษณะคล้ายพระภิกษุแต่มีรัศมีแห่งธรรม (ฉัพรรณรังสี) เต็มรอบ สว่างขาว ครบวง และลักษณะอื่นๆ อีก ในบางท่าน "ธรรมกาย" มีลักษณะใสดุจเพชร นอกจากใสแล้วยังเปล่งประกายเป็นสีรุ้งเหมือนประกายเพชรอีกด้วย ธรรมกายลักษณะนี้มีชื่อเรียกเฉพาะอีกอย่างว่า "วัชรกาย" นั่นเอง จึงกล่าวได้ว่า "ธรรมกาย" หากเพ่งดูด้วยตาทิพย์แล้ว ก็มีลักษณะแตกต่างกันไปอีกด้วย แ่ต่ทั้งหลายทั้งปวงนี้ ก็ยังไม่ใช่ "นิพพาน" ไม่ว่าจะดับขันธปรินิพพาน คือ ดับขันธ์ทั้งห้าโดยรอบหมดแล้ว แต่ยังเหลือ "มโนธาตุ" สว่างไสวอยู่เป็นธรรมกาย สิ่งนั้นก็ไม่ใช่นิพพาน เป็นเพียง "อายตนะนิพพาน" ที่รับรู้นิพพาน เป็นตัวรู้นิพพานอีกที ยังไ่ม่ใช่ "นิพพานที่ถูกรู้" แต่อย่างใด จนเมื่อถึงซึ่ง "มโนธาตุนิพพาน" แล้ว ย่อมไม่เหลือรูปนามแ่ห่งนิพพาน (ธรรมกาย-อายตนะนิพพาน-ตัวผู้รู้นิพพาน และ นิพพาน ซึ่งเป็นฝ่ายถูกรู้) นับเป็น "นิพพาน" ๑ เดียว ไม่มีอย่างอื่น จบ ...

    อายตนะนิพพาน
    คือ "ธรรมชาติแห่งรูปธรรมที่รับรู้นิพพาน" ซึ่งบุคคลที่ได้รับรู้เรื่องของนิพพานครั้งแรก จะรู้ในระดับ "สุตมยปัญญา" และเมื่อเพียรพยายามทำนิพพานให้แจ้ง เขาย่อมเจริญวิปัสสนาพิจารณา "รูปนาม" ในธรรมทั้งหลายว่าไม่เที่ยง, ไม่ใช่ตัวตนของตน, ไม่อาจยึดมั่นได้ เพื่อปล่อยวางคลายอาการยึดติดในธรรมทั้งหลายแล้ว จึงพิจารณาเลยไปจนถึง "นิพพาน" เขาย่อมเห็นนิพพานในระดับ "รูปนาม" มีสองส่วนคือ "รูปนิพพาน" และ "นามนิพพาน" แยกกันอย่างนี้ อุปมาเหมือน บุคคลมองภาพสะท้อนของตัวเองในกระจกเงา นิพพาน นั้นจึงปรากฏเป็นสองส่วนแยกกัน เหมือนภาพสะท้อนและบุคคลผู้มองฉะนั้น อุปมา "อายตนะนิพพาน" ก็คือ "ผู้มองภาพสะท้อนของนิพพาน" (ฝ่ายนาม) และนิพพานคือ "ภาพสะท้อนที่ถูกมอง" (ฝ่ายรูป) ยังมิใช่นิพพานแท้ อันมีเพียง ๑ เดียว ตราบเมื่อหลุดพ้นแล้วจากทั้งรูปและนามแห่งนิพพาน ย่อมแจ้งแทงตลอดเข้าถึงนิพพาน ๑ เดียวอย่างแท้จริง ซึ่งจะเกิดได้เมื่อ "นาม" หรือ ฝ่ายผู้มองนิพพาน นั้น "นิพพาน" ไปด้วย หรือที่เรียกว่า "มโนธาตุนิพพาน" นั่นเอง ทั้งนี้ นาม ผู้มองนิพพานในที่นี้ ย่อมเรียกได้ว่าเป็น "อาตนะนิพพาน" ด้วยเพราะเป็นเครื่องรับรู้นิพพานได้ นั่นเอง อุปมาดั่ง อาตนะทั้งหก ได้แก่ ตา, หู, จมูก, ลิ้น, ผิวกาย, ใจ ย่อมรับรู้ธรรมชาติทั้งหลายได้ฉันใด "อายตนะนิพพาน" ก็รับรู้นิพพานได้ฉันนั้นเหมือนกัน ทว่า "นิพพานนั้นละเอียดอ่อน" มิอาจรับรู้ได้ด้วย "อายตนะหกปกติ" จะรับรู้ได้จาก "อายตนะนิพพาน" โดยเฉพาะเท่านั้น บางท่านกล่าวอีกว่า "ธรรมกาย คือ อายตนะนิพพาน" หรือก็คือ ถ้าบุคคลบรรลุถึง "ธรรมกาย" แล้ว ย่อมอาศัยธรรมกายนั้น ในการรับรู้นิพพาน ได้เหมือนอายตนะหนึ่ง แ่ต่ถ้่าบุคคลยังไม่บรรลุถึงธรรมกาย ย่อมไม่อาจรับรู้ถึงนิพพานได้ เพราะไม่มีอายตนะนิพพาน ที่จะรับรู้ นั่นเอง

    ดังนั้น ในการเจริญอินทรีย์ห้าให้กล้าแกร่งพอรับธรรมนั้น เมื่อพิจารณา "กายในกาย" แล้ว จึงพิจารณาว่า "หากกายในกายเจริญดีถึงขั้นธรรมกาย" เมื่อใด ย่อมพร้อมน้อมรับธรรมแล้วบรรลุธรรมได้ แต่ถ้าไม่ได้เจริญถึงธรรมกายแล้ว ย่อมไม่อาจพร้อมน้อมรับธรรมได้ เพราะไม่มี "ธรรมกายเป็นอายตนะนิพพาน" นี่เอง การเจริญอินทรีย์ห้าจนถึงขั้นสำเร็จ "ธรรมกาย" นั้น จึงอุปมาเหมือนการหล่อเหลี้ยงดอกบัวให้เติบใหญ่จนถึงขั้น "บัวบาน" แล้ว พร้อมน้อมรับแสงธรรมเข้าสู่ใจกลางดอกบัว แต่หากดอกบัวบานแล้ว ไม่มีแสงธรรมส่องถึงได้ บุคคลนั้น ก็ย่อมไม่อาจเรียกได้ว่า "พระอรหันต์" เช่นกัน ดังนี้ ผู้บรรลุธรรมกายจึงมีความพร้อมรับธรรมแล้วบรรลุอรหันต์ทันที แต่หากยังไม่ได้รับธรรม ก็ไม่อาจเรียกได้ว่า "อรหันต์" เช่นกัน หรือกล่าวง่ายๆ อีกอย่างก็คือ ผู้บรรลุธรรมกาย ก็คือ บรรลุพุทธสภาวะ (วัชร-ตันตระ) มีญาณหยั่งรู้ได้ถึงนิพพานได้ด้วยตนเอง แต่ยังมี "สักกายทิฐิ" อยู่ ที่ต้องขจัด และผู้ที่จะขจัดให้ได้มีเพียง "พระพุทธเจ้า" เท่านั้น ดังนั้น ผู้บรรลุพุทธสภาวะ (ธรรมกาย) แล้ว จึงเหมือนดอกบัวบานแล้วรอแต่แสงธรรมเท่านั้นเอง ในขณะที่พระอรหันตสาวกที่ไม่ถึงขั้นธรรมกาย (พุทธสภาวะ) ย่อมไม่อาจหยั่งถึงนิพพานได้เอง (ผู้ไม่มีอายตนะนิพพาน) แต่อาศัยอาสวักขยญาณร่วมกับความศรัทธา เชื่อในคำสอนของพระพุทธเจ้า ย่อมจะถึงซึ่งพระนิพพานได้ด้วยเช่นกัน แม้ไม่มีพระธรรมกายเป็นอายตนะนิพพานก็ตาม ก็บรรลุอรหันต์ได้

    รูปนาม
    เป็นคำที่ใช้กันในนักวิปัสสนา ประกอบด้วยคำว่า "รูป" หมายถึง "สิ่งที่ถูกรู้" และ "นาม" หมายถึง "ตัวรู้-ผู้รู้" โดยนักวิปัสสนาย่อมพิจารณาธรรมใดๆ ก็ตามอยู่ใน "รูปนาม" นี้เท่่านั้น ไม่มีอื่น ยกเว้นนิพพาน ที่พ้นแล้วจากรูปนาม เช่น เมื่อเห็นนิมิต, ดวงกสิณ ก็พิจารณาเป็นเพียงรูปเฉยๆ ไม่มีอื่น ไม่ปรุงแต่งต่อไปอีก จนเมื่อสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นดับลง ด้วยไม่จีรัง ไม่เที่ยง จากสิ่งหนึ่งที่ปรากฏไปสิ่งหนึ่งเรื่อยๆ สิ่งหนึ่งเกิดแล้วดับไป สักแต่ว่าเป็นรูป, สิ่งใหม่เกิดขึ้นแล้วดับไปอีก ก็สักแต่ว่าเป็นรูป เท่านั้น ส่วนเราที่รับรู้ ตัวรับรู้ ในสิ่งที่เกิดนั้นก็สักแต่ว่าเป็นนาม เท่านั้นเอง เป็นเช่นนี้เรื่อยๆ ไม่ว่าจะเห็นสิ่งใด เช่น ดวงนิมิตกสิณ, ดวงแก้ว, เมืองนิพพาน, เมืองแก้ว ฯลฯ ล้วนแต่เห็นเป็นเพียง "รูป" เท่านั้น ไม่ใช่นิพพาน สิ่งใดๆ ทั้งหลายทั้งมวลที่รับรู้ได้ด้วยอายตนะหกเครื่องรับรู้นี้ ย่อมสักแต่ว่าเป็น "รูป" เท่านั้น มิใช่อื่น อันมีแต่ความไม่เที่ยง ไม่จีรัง ไม่อาจยึดมั่นถือมั่นได้ ไม่ใช่ตัวตนของตนที่แท้จริง หรือแม้แต่ "ตัวรู้, ผู้รู้, ความรู้" ที่ไปรับรู้สิ่งเหล่านี้ ก็สักแต่ว่าเป็น "นาม" เท่านั้น อันตัวรู้, ผู้รู้, ความรับรู้ ทั้งหลาย ก็ล้วนแต่เป็น "นาม" อันไม่เที่ยง ไม่จีรัง ไม่ใช่ตัวตนของตน ไม่อาจยึดมั่นถือมั่นได้ เช่นนี้ มิใช่นิพพาน จนเมื่อสุดแล้วแห่งรูป ไม่มีรูปใดๆ ให้รับรู้ได้อีก ที่สุดแล้วแห่งนาม ไม่มีตัวรู้ หรือผู้รู้ใดๆ มารับรู้อีก นั้นคือ "สุดแล้วแห่งรูปนาม" ย่อมแจ้งแทงตลอดถึงนิพพานได้ อันสิ่งใดๆ ที่รับรู้หรือเห็นนิพพานได้ ย่อมไม่ใช่นิพพาน เพราะเป็นเพียง "นาม" ผู้รู้, ผู้ดู, ผู้มอง เข้าไปเห็นนิพพานเท่านั้น หากเห็นได้เช่นนั้น ย่อมเรียกได้ว่าเป็น "อาตนะนิพพาน" คือ นามผู้รู้ได้ถึงนิพพาน ซึ่งก็คือ "ธรรมกาย" นั่นเอง เห็นนิพพานเช่นนี้ ย่อมไม่ใ่ช่นิพพาน ย่อมไม่ใช่การบรรลุธรรม อันตัวเรา มองไม่เห็นตัวเอง ต้องมองตัวเองในกระจก ฉันใด นิพพานที่รับรู้, เห็นได้ ย่อมไม่ใช่นิพพานฉันนั้นเหมือนกัน นิพพานที่รับรู้ได้ ย่อมเป็นเพียง "รูปนาม" ดุจ "ภาพสะท้อนของนิพพานในกระจกเงาฉะนั้น"
     
  20. jesdath

    jesdath เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    3,209
    ค่าพลัง:
    +1,279

    ดังนั้น ในการเจริญอินทรีย์ห้าให้กล้าแกร่งพอรับธรรมนั้น เมื่อพิจารณา "กายในกาย" แล้ว จึงพิจารณาว่า "หากกายในกายเจริญดีถึงขั้นธรรมกาย" เมื่อใด ย่อมพร้อมน้อมรับธรรมแล้วบรรลุธรรมได้ แต่ถ้าไม่ได้เจริญถึงธรรมกายแล้ว ย่อมไม่อาจพร้อมน้อมรับธรรมได้ เพราะไม่มี "ธรรมกายเป็นอายตนะนิพพาน" นี่เอง การเจริญอินทรีย์ห้าจนถึงขั้นสำเร็จ "ธรรมกาย" นั้น จึงอุปมาเหมือนการหล่อเหลี้ยงดอกบัวให้เติบใหญ่จนถึงขั้น "บัวบาน" แล้ว พร้อมน้อมรับแสงธรรมเข้าสู่ใจกลางดอกบัว แต่หากดอกบัวบานแล้ว ไม่มีแสงธรรมส่องถึงได้ บุคคลนั้น ก็ย่อมไม่อาจเรียกได้ว่า "พระอรหันต์" เช่นกัน ดังนี้ ผู้บรรลุธรรมกายจึงมีความพร้อมรับธรรมแล้วบรรลุอรหันต์ทันที แต่หากยังไม่ได้รับธรรม ก็ไม่อาจเรียกได้ว่า "อรหันต์" เช่นกัน หรือกล่าวง่ายๆ อีกอย่างก็คือ ผู้บรรลุธรรมกาย ก็คือ บรรลุพุทธสภาวะ (วัชร-ตันตระ) มีญาณหยั่งรู้ได้ถึงนิพพานได้ด้วยตนเอง แต่ยังมี "สักกายทิฐิ" อยู่ ที่ต้องขจัด และผู้ที่จะขจัดให้ได้มีเพียง "พระพุทธเจ้า" เท่านั้น ดังนั้น ผู้บรรลุพุทธสภาวะ (ธรรมกาย) แล้ว จึงเหมือนดอกบัวบานแล้วรอแต่แสงธรรมเท่านั้นเอง ในขณะที่พระอรหันตสาวกที่ไม่ถึงขั้นธรรมกาย (พุทธสภาวะ) ย่อมไม่อาจหยั่งถึงนิพพานได้เอง (ผู้ไม่มีอายตนะนิพพาน) แต่อาศัยอาสวักขยญาณร่วมกับความศรัทธา เชื่อในคำสอนของพระพุทธเจ้า ย่อมจะถึงซึ่งพระนิพพานได้ด้วยเช่นกัน แม้ไม่มีพระธรรมกายเป็นอายตนะนิพพานก็ตาม ก็บรรลุอรหันต์ได้

    รูปนาม
    เป็นคำที่ใช้กันในนักวิปัสสนา ประกอบด้วยคำว่า "รูป" หมายถึง "สิ่งที่ถูกรู้" และ "นาม" หมายถึง "ตัวรู้-ผู้รู้" โดยนักวิปัสสนาย่อมพิจารณาธรรมใดๆ ก็ตามอยู่ใน "รูปนาม" นี้เท่่านั้น ไม่มีอื่น ยกเว้นนิพพาน ที่พ้นแล้วจากรูปนาม เช่น เมื่อเห็นนิมิต, ดวงกสิณ ก็พิจารณาเป็นเพียงรูปเฉยๆ ไม่มีอื่น ไม่ปรุงแต่งต่อไปอีก จนเมื่อสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นดับลง ด้วยไม่จีรัง ไม่เที่ยง จากสิ่งหนึ่งที่ปรากฏไปสิ่งหนึ่งเรื่อยๆ สิ่งหนึ่งเกิดแล้วดับไป สักแต่ว่าเป็นรูป, สิ่งใหม่เกิดขึ้นแล้วดับไปอีก ก็สักแต่ว่าเป็นรูป เท่านั้น ส่วนเราที่รับรู้ ตัวรับรู้ ในสิ่งที่เกิดนั้นก็สักแต่ว่าเป็นนาม เท่านั้นเอง เป็นเช่นนี้เรื่อยๆ ไม่ว่าจะเห็นสิ่งใด เช่น ดวงนิมิตกสิณ, ดวงแก้ว, เมืองนิพพาน, เมืองแก้ว ฯลฯ ล้วนแต่เห็นเป็นเพียง "รูป" เท่านั้น ไม่ใช่นิพพาน สิ่งใดๆ ทั้งหลายทั้งมวลที่รับรู้ได้ด้วยอายตนะหกเครื่องรับรู้นี้ ย่อมสักแต่ว่าเป็น "รูป" เท่านั้น มิใช่อื่น อันมีแต่ความไม่เที่ยง ไม่จีรัง ไม่อาจยึดมั่นถือมั่นได้ ไม่ใช่ตัวตนของตนที่แท้จริง หรือแม้แต่ "ตัวรู้, ผู้รู้, ความรู้" ที่ไปรับรู้สิ่งเหล่านี้ ก็สักแต่ว่าเป็น "นาม" เท่านั้น อันตัวรู้, ผู้รู้, ความรับรู้ ทั้งหลาย ก็ล้วนแต่เป็น "นาม" อันไม่เที่ยง ไม่จีรัง ไม่ใช่ตัวตนของตน ไม่อาจยึดมั่นถือมั่นได้ เช่นนี้ มิใช่นิพพาน จนเมื่อสุดแล้วแห่งรูป ไม่มีรูปใดๆ ให้รับรู้ได้อีก ที่สุดแล้วแห่งนาม ไม่มีตัวรู้ หรือผู้รู้ใดๆ มารับรู้อีก นั้นคือ "สุดแล้วแห่งรูปนาม" ย่อมแจ้งแทงตลอดถึงนิพพานได้ อันสิ่งใดๆ ที่รับรู้หรือเห็นนิพพานได้ ย่อมไม่ใช่นิพพาน เพราะเป็นเพียง "นาม" ผู้รู้, ผู้ดู, ผู้มอง เข้าไปเห็นนิพพานเท่านั้น หากเห็นได้เช่นนั้น ย่อมเรียกได้ว่าเป็น "อาตนะนิพพาน" คือ นามผู้รู้ได้ถึงนิพพาน ซึ่งก็คือ "ธรรมกาย" นั่นเอง เห็นนิพพานเช่นนี้ ย่อมไม่ใ่ช่นิพพาน ย่อมไม่ใช่การบรรลุธรรม อันตัวเรา มองไม่เห็นตัวเอง ต้องมองตัวเองในกระจก ฉันใด นิพพานที่รับรู้, เห็นได้ ย่อมไม่ใช่นิพพานฉันนั้นเหมือนกัน นิพพานที่รับรู้ได้ ย่อมเป็นเพียง "รูปนาม" ดุจ "ภาพสะท้อนของนิพพานในกระจกเงาฉะนั้น"

    บางท่านเป็นนักปฏิบัติสมถกรรมฐาน ได้นิมิตกสิณ หรือมีตาทิพย์ เข้าสู่รูปฌาน เห็นนิพพานเป็นเมืองแก้ว นั่นคือ อาการปกติของผู้เจริญสมถกรรมฐานที่ยังไม่ได้เข้าสู่วิปัสสนากรรมฐาน มีฐานด้านสมถะดีแล้วแค่ต่อด้วยวิปัสสนากรรมฐานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ย่อมแจ้งแทงตลอดถึงนิพพานได้ หรือหากบุคคลไม่มีพื้น ไม่เคยเห็นนิพพานเมืองแก้ว ไม่ได้นิมิติกสิณ ไม่ได้รูปฌานเลย หากเข้าใจ "หัวใจของวิปัสสนา" เช่นนี้ ก็ย่อมแจ้งแทงตลอดถึงนิพพานได้เช่นกัน อันเป็นธรรมที่พ้นแล้วจาก "รูปนาม" พ้นแล้วจากทั้งฝั่งฝ่ายที่ถูกรู้ และฝั่งฝ่ายของผู้รับรู้ อุปมาเหมือน "นิพพานหนึ่งเดียว" ไม่ใช่นิพพานที่มองเห็นได้ รับรู้ได้ ดุจดั่งภาพสะท้อนในกระจกเงา ที่ยังมีสองฝั่งฝ่ายปรากฏอยู่ คือ ฝ่ายผู้รู้, ผู้ดู, ผู้เห็น และฝั่งฝ่ายของสิ่งที่ถูกรู้ อยู่

    เหตุผล
    คือ ธรรมอันเกื้อหนุนกันเกิดโดยมี "เหตุ" เป็นธรรมเริ่มต้นก่อให้เกิด "ผล" ที่ธรรมบั้นปลาย ในทางพุทธศาสนา "เมื่อเหตุดับไปจึงก่อให้่เกิดผล" เช่น เมื่อไฟใหม้ไม้มอดหมด ย่อมก่อให้เกิด, เถ้าธุลี ดังนั้น ผลคือ "เถ้าธุลี" ย่อมมาจากเหตุคือ "ไม้ที่ถูกไฟเผาใหม้" หากธรรมคู่ใดไม่เอื้อกันเกิดจากการดับลงของเหตุ สิ่งนั้นไม่นับว่าเป็น "เหตุและผล" ของกันและกัน เช่น กบร้องไม่ได้เป็นเหตุมาจากฝนจะตก การที่ฝนจะตกหรือไม่นั้น กบก็สามารถร้องได้ เพียงแต่กบมักร้องตอนฝนจะตกเท่านั้น และ "ฝนจะตก" ก็ไม่ได้ดับลงเพื่อทำให้ "กบร้อง" ก่อเกิด แต่อย่างใด ในกรณีนี้ ไม่เรียกว่าเป็น "เหตุและผล" ซึ่งกันและกัน แต่นับว่าเป็น "เหตุปัจจัย" ที่ปรุงประกอบร่วมในเหตุการณ์เดียวกันเท่านั้นเอง ดังนี้ ธรรมบางอย่่างจึงเป็นเหตุผลกัน ก็มี, ธรรมบางอย่างก็เป็นเหตุปัจจัยกันเท่านั้น หรือธรรมบางอย่างก็พ้นแล้วจากทั้งเหตุผลและเหตุปัจจัย อนึ่ง ธรรมคู่ใดที่นับเป็น "เหตุผล" กันได้นั้น "ธรรมส่วนผล" ย่อมอาศัย "ธรรมส่วนเหตุ" ในการก่อเกิด โดย "ธรรมส่วนเหตุ" ดับสิ้นลงไปก่อให้เกิด "ธรรมส่วนผล" ได้จึงนับว่าเป็น "เหตุผล" กันได้ ไม่ใช่แค่เหตุปัจจัย เช่น มรรคผลในทางธรรมนั้นเมื่อมี "มรรคเป็นเหตุ" สิ้นดับลงไปก่อให้เกิด "ผลทางธรรม" ขึ้นมาได้เป็นต้น แต่หากยังคงมีมรรคอยู่ไม่สิ้นสุด ยังไม่ดับลงไป ผลย่อมไม่เกิดขึ้นได้ นั่นคือ การเจริญมรรคนั้นยังไม่ถึงที่สุดแห่งมรรคนั้นๆ เมื่อถึงที่สุดแห่งมรรคนั้นๆ แล้ว แม้แต่มรรคย่อมไม่มี ดับสิ้นไป จึงเป็นผลเกิดขึ้นแทนที่ ดังนี้ "เหตุและผล" จึงเกิดพร้อมๆ ร่วมกันไม่ได้ ต่างจาก "เหตุปัจจัย" ที่จะเกิดขึ้นและดำีรงอยู่พร้อมๆ กัน เช่น ขันธ์ทั้งห้า ไม่ใช่เหตุผลของกันและกัน แ่ต่เป็น "เหตุปัจจัย" ปรุงแต่งร่วมกัน เกิดและดับร่วมกันได้ ดังนั้น หากปรารถนาผลใดให้เกิด จำต้องรอให้เหตุดับสิ้นลงก่อน แต่หากปรารถนาผลใดให้ดำรงอยู่ จำต้องปล่อยให้ "ปัจจัย" ร่วมดำรงอยู่ด้วย คำว่า "ดับที่เหตุ" เพื่อให้เกิดผลที่ปราถนา นั่นเอง มิใช่เพื่อไม่ให้ผลเกิด เช่น เมื่อมีทุกข์ ให้ดับที่เหตุแห่งทุกข์นั้น ก็เพื่อให้ "ผลคือความหลุดพ้นทุกข์" เกิดขึ้นจาก "เหตุแห่งทุกข์ดับ" นั่นเอง มิใช่ ปรารถนาไม่ให้ผลคือ "ทุกข์" เกิดขึ้นได้อีก เป็นนิจจังตลอดกาล ก็หาไม่ ("ความหลุดพ้นทุกข์" เกิดขึ้นแล้ว แม้ว่าทุกข์จะเกิดขึ้นอีกอย่างใดก็ตาม แต่บุคคลก็หลุดพ้นจากทุกข์นั้นแล้ว มิใช่ว่า "ทุกข์นั้นดับนิรันดร์กาล" ไม่เกิดขึ้นอีกเลย ห้ามหรือดับไม่ให้ทุกข์เกิดขึ้นอีกเลย ก็หาไม่)

    ธรรมที่เอื้ออาศัยกันเกิดทั้งสองรูปแบบ คือ ๑. แบบเป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น ดอกไม้บานเกิดจากดอกไม้ตูมหมดสิ้นความตูมไป ๒. แบบเป็นเพียงเหตุปัจจัยปรุงแต่งร่วมกันเท่านั้น เช่น ฝนตกกับกบร้อง เหล่านี้ ล้วนยังวนเวียนอยู่ใน "ธรรมภาคเกิดดับ" ไม่หลุดพ้นจากการเกิดและดับ, ชาติและภพไปได้ ยังสามารถอธิบายได้ด้วยกฏของไตรลักษณ์คือ อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา ทว่า ยังมีธรรมที่พ้นแล้วจากการเกิด-ดับ ซึ่งก็คือ "นิพพาน" ซึ่งไม่อาจอธิบายได้ด้วยเหตุและผล, เหตุปัจจัยต่างๆ หรือแม้แต่กฏไตรลักษณ์

    เหตุปัจจัย
    คือ สิ่งที่เกิดและดับร่วมในเหตุการณ์หนึ่งๆ ร่วมกัน ปรุงแต่งร่วมกัน แต่ไม่ใช่เหตุผลของกันและกัน เช่น ฝนตก, กบร้อง, ฟ้าร้อง, ฟ้าผ่า, เมฆลม ฯลฯ สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นพร้อมๆ กันในเหตุการณ์หนึ่งๆ แต่ไม่ใช่เหตุผลของกันและกัน หากจะอธิบายถึง เหตุ, ปัจจัย และผล สามประการนี้ สามารถอธิบายได้ว่า เมื่อ "เหตุดับลงแล้ว" จึงก่อให้เกิด "ผลขึ้น" โดยมี "ปัจจัย" ร่วมปรุงแต่งกับเหตุหรือผลด้วย ในระหว่างที่เหตุหรือผลยังดำรงอยู่ ไม่สิ้นไป สิ่งที่ปรุงแต่งร่วมเพื่อให้สิ่งอื่นดำีรงอยู่ จึงเรียกว่า "ปัจจัย" ส่วนสิ่งที่ดับไปเพื่อให้ีอีกสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น เรียกว่า "เหตุ" และสิ่งที่เกิดขึ้นได้จากการดับลงของเหตุ ก็คืิอ "ผล" นั่นเอง ในหลักพุทธศาสนา มีคำที่เกี่ยวข้องกับเหตุ, ผล และปัจจัย เช่น หลักอิททัปปัจจยตา ซึ่งเป็นหลักการที่กล่าวถึง เหตุ, ผล และปัจจัย โดยรวมๆ ไม่ไ้ด้แยกแยะให้ชัดเจนว่าอะไรเป็นเหตุ, ผลหรือปัจจัย เช่น วลีที่ว่า "เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงเกิด เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ" อันเป็นธรรมชาติของสรรพสิ่งที่ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏแห่งการเกิด-ดับ นั้น ยกเว้นแต่เพียง "นิพพาน" เท่านั้น ที่ไม่ได้อยู่ในสังสารวัฏแห่งการเกิด-ดับ ดังนั้น นิพพานจึงไม่ใช่ธรรมอันอยู่ภายใต้หลักอิททัปปัจจัยตา ไม่ได้อาศัยเหตุใดเกิด, ปัจจัยใดปรุงแต่ง

    อนึ่ง ธรรม ๘๔,๐๐๐ ธรรมขันธ์ของพระพุทธเจ้าที่จัดแบ่งเป็นหมวดหมู่นั้น บางหมวดหมู่ก็เป็นเหตุผลของกันและกัน, บางหมวดหมู่ก็เป็นเหตุปัจจัยที่เกิดร่วมกัน แต่บางหมวดหมู่ก็ไม่ใช่ทั้งเหตุผลหรือเหตุปัจจัยของกันและกันเลย ยกตัวอย่่างเช่น อรหันตผล ย่อมเป็นผล ซึ่งมีเหตุคือ "อวิชชาคือความหลงสิ้นไป" มีปัจจัยร่วมปรุงแต่งคือ "ปัญญา" เกิดขึ้นร่วมกับความเป็นอรหันต์ ก็ดี, "อภิญญา" เกิดขึ้นร่วมด้วย ก็ดี, "ธรรม" อื่นๆ เกิดขึ้นร่วมด้วย ก็ดี สิ่งที่เกิดขึ้นร่วมด้วยนี้ ล้วนเป็น "ปัจจัยของความเป็นพระอรหันต์" มิใช่เหตุของความเป็นพระอรหันต์ ทว่า "นิพพาน" มิได้อาศัยความเป็นพระอรหันต์ในการก่อเกิด หรือสิ่งใดๆ ก่อเกิดเลย เพราะนิพพานหลุดพ้นแล้วจากวังวนของการเกิด-ดับ ดังนั้น จึงมิได้อยู่ในระบบของการเกิดและดับ หรือระบบของเหตุ, ผล และปัจจัยใดๆ เลย อาทิเช่น บุคคลดำรงชีพถึงที่สุดในบางช่วงบางขณะ ก็อาจเกิด "กิเลสนิพพาน" ขึ้นได้ แต่หากไม่แจ้งแทงตลอดต่อให้ถึงนิพพาน ก็จะไม่เกิดปัญญา ไม่บรรลุธรรม ไม่ได้อรหันตผล อุปมาเหมือน "เมฆ" (กิเลส) ที่บดบังแสงจันทร์ ดับสิ้นลงแล้ว (กิเลสนิพพาน) แ่ต่บุคคลนั้นมิทันได้สังเกตุแสงจันทร์ที่ไร้เมฆบดบัง ย่อมไม่อาจเกิดปัญญาสว่างไสวได้ บางท่านก็มีจิตถึงพุทธะแล้ว ได้พระธรรมกายแล้ว อุปมาดั่งบัวบานอยู่ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะมาโปรด พวกเขายังไม่ได้เข้าถึงธรรม ยังไม่ได้บรรลุอรหันตผล แต่พร้อมแล้วด้วยประการทั้งปวง เมื่อพระพุทธเจ้ามาโปรดโดยไม่ได้แสดงธรรมอันกล่าวได้ด้วยคำพูดใดๆ พวกเขาก็บรรลุธรรมได้ แต่หากไม่ได้แสงธรรมจากพระพุทธเจ้า แล้ว พวกเขาก็จะยังไม่บรรลุธรรม อุปมาดั่ง บัวบานที่รอแสงอา่ทิตย์รุ่งอรุณส่องเข้าถึงใจกลาง ฉะนั้น


    เจตสิก
    คือ ธรรมที่ประกอบกับจิต ไม่ใ่ช่ด้วยเป็นเหตุหรือผลของจิต แต่ปรุงประกอบร่วมกันเฉยๆ อุปมาเหมือนเพื่อนคบหากันอยู่ ไม่มีใครเป็นพ่อ-แม่ หรือลูกของใคร ไม่ใช่่ว่าอะไรเป็นเหตุให้อะไรเกิด เพียงแ่ต่ปรุงประกอบร่วมกันเฉยๆ เท่านั้น จะขาดจิตไม่ได้ หมายความว่า ถ้าไม่มีจิต ก็จะไม่มีเจตกสิกด้วย แต่เจตสิกก็ไม่อาจกล่าวได้ว่าเกิดจากจิต หรือจิตสร้างมันขึ้นมาเป็นผล ก็หาได้ไม่ เป็นเพียงสิ่งที่ประกอบร่วมกันเฉยๆ เท่านั้น อุปมาเหมือน ฝนตกกับกบร้อง ย่อมไม่ใช่เหตุผลของกันและกัน เพียงแต่ประกอบร่วมกันมาเท่านั้น โดยจิตจะมีลักษณะหนึ่งเดียว คือ "จิตประภัสสร" ใสซื่อบริสุทธิ์ เหมือนเพื่อนที่ใสซื่อ ส่วนเจตสิกจะเหมือนเพื่อนที่หลายแบบ ทั้งแบบที่มีกิเลสและไม่มี เวลาไปไหนมาไหนต้องไปด้วยกัน จึงเรียกว่า "กลุ่มหรือแก๊งค์" ได้ ถ้า่ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไป ก็ไม่ใช่กลุ่มหรือแก๊งค์ จึงกล่าวได้ว่าเจตสิกเกิดพร้อมกับจิตและดับไปพร้อมกับจิต, มีอารมณ์เดียวกับจิต, อาศัยวัตถุเดียวกับจิต แต่ไม่ได้อาศัยกันและกันในการก่อเกิดหรือดับ (ต่างก็ไม่ใช่เหตุหรือผลของกันและกัน) เหมือนเหรียญบาท ย่อมมีทั้งด้านหัวและก้อยประกอบกันทั้งสองด้านครบ จะขาดอย่างหนึ่งอย่างใดไม่ได้ เกิดก็ต้องเกิดพร้อมกัน คือ ถ้ามีด้านหัว ก็ต้องมีด้านก้อย ดับก็ต้องดับพร้อมกัน คือ ถ้าไม่มีหัวก็ไม่มีก้อย หรือหากจะเปรียบเป็นเหมือนน้ำผลไม้ก็ได้ ส่วนที่เป็นน้ำบริสุทธิ์อุปมาดั่งจิต ส่วนที่เป็นสีสันรสชาติ ก็อุปมาเหมือนเจตสิก ไม่อาจแยกกัน หากแยกจากกันแล้วก็ย่อมไม่ใช่ "น้ำผลไม้" อีก โดยเจตสิกจะเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ในขณะที่ "จิต" นั้นจะยังคงเดิม เป็นศูนย์กลาง เ็ป็นดั่งประธาน เช่นเดิม เหมือนน้ำผลไม้ทุกชนิด ก็ต้องใช้น้ำบริสุทธิ์เป็นส่วนผสมหนึ่งทั้งสิ้น แต่หากต้องการให้ได้น้ำผลไม้ชนิดไหนก็เปลี่ยนส่วนผสม, เครื่องปรุง ฯลฯ ไปเท่านั้นเอง

    เจตสิกทำงานร่วมกับจิต เสมือนว่าเจตสิกเป็นขุนนางหลายๆ คน ที่รายล้อมรอบจิตซึ่งเป็นพระราชา พอเจตสิกตัวที่หนึ่งทำงานแล้วดับไป เจตสิกตัวที่สอง, สาม, สี่ ฯลฯ ก็เข้ามาทำงานร่วมกับจิตอีกเป็นลำดับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ เจตสิกจึงไม่เที่ยง, เกิด-ดับไปเรื่อยๆ ไม่ใช่องค์ประทานในกลุ่มแก๊งค์นี้ ในขณะที่จิตยังคงใสซื่ออยู่เหมือนเดิม เจตสิกเหมือนขุนนางที่ไม่มีอำนาจในตัวเอง ต้องอาศัยอำนาจของพระราชาคือจิต ในการทำกิจต่างๆ แต่พระราชาืคือจิตนั้น ใสซื่อมาก จึงไม่รู้ว่าอะไรควรไม่ควรทำ เจตสิกที่เหมือนกับขุนนางจึงเรียงหน้ากันมาทำงานร่วมกับจิตเป็นลำดับไป โดยเจตสิกมีทั้งสิ้น ๕๒ ชนิด เรียกว่า "เจตสิก ๕๒" แบ่งออกเป็น 

    ๑. สัพพจิตตสาธารณะ ๗ คือ เจตสิกมูลฐานที่เกิดขึ้นกับ "จิตสังขาร" ทุกแบบ เหมือนขั้นตอนเบื้องต้นที่จิตสังขารทุกแบบต้องมีก่อนเป็นเบื้องต้น ซึ่งมีทั้งหมด ๗ ชนิด ได้แก่ เอกกัคคตา, ชีวิตินทรีย์, มนสิการ, เวทนา, สัญญา, เจตนา, ผัสสะ

     ๒. ปกิณณกเจตสิก ๖ คือ เจตสิกที่ประกอบขึ้นกับ "จิตสังขาร" บางชนิด, บางกลุ่ม ซึ่งมีความเป็นกลาง ไม่ใช่ทั้งกุศลหรืออกุศล แต่ไม่ได้เกิดขึ้นกับจิตสังขารทุกดวง ได้แก่ วิตก, วิจารณ์, อธิโมกข์, ฉันทะ, วิริยะ, ปีติ

    ๓. อกุศลเจตสิก ๑๔ คือ เจตสิกที่ประกอบเข้ากับ "จิตสังขาร" บางกลุ่มเฉพาะในกลุ่ม "อกุศล" เท่านั้น ได้แก่ โลภะ ๓ (โลภะ, ทิฏฐิ, มานะ), โทสะ ๔ (โทสะ, อิสสา, มัจฉริยะ, กุกกุจจะ), โมหะ ๔ (โมหะ, อหิริ, อโนตตัปปะ, อุทธัจจะ), ติกะ ๓ (ถีนะ, มิทธะ, วิจิกิจฉา) 

    ๔. โสภณเจตสิก ๒๕ คือ เจตสิกที่ประกอบเข้ากับ "จิตสังขาร" บางกลุ่มเฉพาะในกลุ่ม "กุศล" เท่านั้น ได้แก่ สาธารณะ ๑๙ (สติ, สัทธา, หิริ, โอตตัปปะ, อโลภะ, อโทสะ, ตัตรมัชฌัตตา, กายลหุตา, จิตตลหุตา, กายมุทุตา, จิตตมุทุตา, กายกัมมัญญัตตา, จิตตกัมมัญญัตตา, กายอุชุตา, จิตตอุชุตา, กายปัสสัทธิ, จิตตปัสสัทธิ, กายปาคุญญตา, จิตตปาคุญญตา) วิรัตติ๓ (สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ) อัปปมัญญา ๒ (กรุณา, มุทิตา) ปัญญา ๑ (ปัญญา)

    อนึ่ง "จิตสังขาร" นี้ ไม่ได้มีอยู่จริง เป็นเพียง "สมมุติ" ที่พระอรรถกาฐาจารย์ ท่านได้เขียนไว้อ้างอิงถึงเท่านั้น เพื่ออธิบายเรื่องของเจตสิกเท่านั้นเอง เช่น จิตโลภ ไม่มีจริง แต่เป็นสมมุติที่้ใช้อธิบายกลุ่มหรือแก๊งค์ของ "จิตประภัสสร" ที่ทำงานร่วมกับเจตสิกหลายๆ ชนิด จนทำให้เกิด "ความโลภ" นั่นเอง ทั้งนี้ เจตสิกจะเกิดขึ้นแล้วดับไปเป็นลำดับ, เป็นกลุ่ม จนกว่าจะทำกิจครบ จึงมีำคำเรียกกระบวนการเหล่านี้ว่า "วิถีจิต" ซึ่งจะเกิดจาก "จิตประภัสสร" ที่ทำหน้าที่เหมือนพระราชา มี "เจตสิก" ที่ทำหน้าที่เหมือนขุนนาง เข้ามารายงานหรือทำกิจต่างๆ ร่วมกับจิตนั้นเป็นลำดับ จากเจตสิกหนึ่งไปสู่เจตสิกหนึ่ง เกิด-ดับไปเรื่อยๆ ส่วนจิตประภัสสรยังคงบริสุทธิ์เช่นเดิมไม่ไ่ด้เกิด-ดับตามเจตสิกไปด้วย ด้วยส่วน "จิต" นั้น คือ "ธาตุ" ชนิดหนึ่งเรียกว่า "มโนธาตุ" เป็นธาตุแท้แห่งความบริสุทธิ์, ประภัสสร ตราบจนกว่าจะนิพพานไป

    สุญญตา
    คือ ธรรมชาติหนึ่งอันไม่เที่ยง, ไม่ใช่ตัวตน, ไม่อาจยึดมั่นถือมั่นได้ตลอดไป ซึ่งมีลักษณะ "ว่าง" จากใดๆ ทั้งปวง บางท่านแปลง่ายๆ ว่า "ความว่าง" ก็ใช้ได้เหมือนกัน ซึ่งความว่างหรือสุญญตานี้ยังไม่ใช่ "นิพพาน" เพียงแต่สุญญตาเ็ป็นธรรมฝ่ายตรงข้ามกับความมี ใช้เป็นเครื่องแก้คนที่มีเยอะ, มีมาก, ล้นเกินไป เช่น คนที่มีความรู้ทางธรรมมากเกินไปแต่ไม่ได้เกิดปัญญา หลงตัวเองอยู่ด้วยเพราะความรู้มาก หรือรู้เยอะนั้น บางท่านจะแนะนำให้ใช้ "สุญญตา" เป็นเครื่องแก้ เพื่อให้เข้าสู่ความพอดี, ตรงทาง, สายกลาง ก็จะตรงต่อสัจธรรมความจริงอันเป็นกลาง มีจิตแน่วแน่ตรง, อุเบกขาในธรรมได้ แต่บางท่านก็เอนเอียงไปทางฝ่าย "ความว่างหรือสุญญตา" มากเกินไป ก็มี เหมือนคลั่งใคล้สุญญตามากเกินไป ทำให้จิตเอนเอียงไปทางความว่าง ทั้งฝ่ายที่มีจิตเอนเอียงไปทางความว่างและความมี ล้วนแต่ขาดซึ่งอุเบกขาทั้งสิ้น การที่ใช้ "ความว่าง" เป็นเครื่องแก้ธรรมแ่ห่ง "ความมีมากล้น" นั้น เพื่อให้จิตตรงทาง, ตรงธรรม เกิดอุเบกขา เท่านั้นเอง ไม่ใช่ให้ยึดมั่นถือมั่น จนจิตเอนเอียงไปทางสุญญตา เห็นธรรมชาติ, สมมุติใดๆ ก็เหมารวมไปง่ายๆ ว่า "เป็นความว่างทั้งหมด" อะไรก็ว่างหมด เป็นต้น อนึ่ง ธรรมชาติที่ประกอบกันเป็น "รูป" ทั้งหลาย ล้วนมาจาก "มหาภูติรูปสี่" คือ ธาตุดิน, น้ำ, ลม, ไฟ อันผสมกันอยู่ไม่อาจแยกจากกันได้ แท้แล้วก็คือหนึ่งเนื้อเดียวกัน เป็นสิ่งเดียวกัน แต่ถูกมองต่างมุมไปเท่านั้นเอง เหมือนเหรียญสองด้าน ทุกด้านก็คือเหรียญเดียวกัน ทว่า "ความว่าง" นี้ เป็น "ธาตุ" ตรงข้าม เป็นพื้นฐานของการมีธาตุทั้งสี่ รองรับการดำรงอยู่ของธาตุทั้งสี่ไว้ และมีลักษณะตรงข้ามกับธาตุทั้งสี่ สามารถเปลี่ยนกลับไปมาระหว่าง "ความว่าง" และ "มหาภูติรูปสี่" ได้ ด้วยเพราะทั้ง "ความว่าง" และ "มหาภูติรูปสี่" ล้วนไม่เที่ยง, ไม่จีรัง และเป็นสิ่งตรงข้ามกัน

    ดังนั้น "มหาภูติรูปสี่" (ธาตุทั้งสี่) จะอยู่่ร่วมกันเสมอ ไม่อาจแยกออกจากกันได้ ถ้าเกิดก็เกิดด้วยกัน ถ้าดับก็ดับด้วยกัน บางท่านพิจารณาธาตุสี่เพียงธาตุใดธาตุหนึ่ง ธาตุเดียว หรือเจริญธาตุใดธาตุหนึ่งเพียงธาตุเดียว คิดว่าจะสามารถทำให้จีรังยั่งยืนได้ เช่น เจริญธาตุน้ำทำใจให้เย็น สุดท้าย เมื่อความจริงแห่งการอยู่ร่วมกันของมหาภูติรูปสี่ปรากฏ ก็คิดว่าเป็น "อาการธาตุไฟเข้าแทรก" แท้แล้ว ไม่มีอะไรแทรกอะไร ด้วยมหาภูติรูปสี่นี้ เป็นหนึ่งเดียวกันอยู่แล้ว เหมือนกล่องที่มีหลายด้าน เมื่อใดเจริญด้านใดด้านหนึ่งมาก แม้ด้านที่ไม่เจริญ จะเบาบางจนแทบไม่อาจสังเกตุเห็นได้ แต่ก็ไม่ดับสูญไป รอวันที่จะพลิกกลับมาเจริญได้ดังด้านอื่นๆ เช่นกัน จนเืมื่อมหาภูติรูปสี่ดับสิ้นหมดแล้ว จึงจะกลายเป็น "ความว่าง" กลับไปมาเช่นนี้ ไม่ใ่ช่นิพพาน ด้วยเพราะยังวนเวียนอยู่ในวัฏฏะ คือ "วังวนแห่งการเกิด-ดับ" ก็ต่อเมื่อ ไม่ใช่ทั้งเกิด ไม่ใ่ช่ทั้งดับ หลุดพ้นแล้วทั้ง "มหาภูติรูปสี่" และ "ความว่าง" (สุญญตา) แล้ว นั่นแหละ จึงแจ้งถึงซึ่ง "นิพพาน"



    ธรรมกาย
    คือ กายแห่งธรรม อันเป็น "กายในกาย" ที่พบในพระอรหันต์ทั้งหลาย และเป็นหนึ่งในสามกายของพระพุทธเจ้า ซึ่งได้แก่ ๑. ธรรมกาย (กายแห่งธรรม) ๒. นิรมาณกาย (กายเปลือกนอกที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสม) ๓. สัมโภคกาย (กายสังขารที่ได้ดำรงชีพ ดื่มกิน) โดยทั้ง ๓ กายนี้ ประสานอยู่่ร่วมกัน เพื่อการโปรดสัตว์อย่างเหมาะสม หากขาดซึ่งกายใดกายหนึ่งแล้ว การโปรดสัตว์ก็อาจมีปัญหาได้ เช่น หากขาดซึ่ง "สัมโภคกาย" ก็ไม่มีกายที่ดำรงชีพอยู่เหมือนมนุษย์ๆ ทั้งหลายย่อมไม่อาจเข้าถึงหรือเข้าใจในภาวะของพระพุทธเจ้าได้ นอกจากท่านที่ปฏิบัติธรรมขั้นสูงจริงๆ จึงจะเข้าถึง "ธรรมกาย" ของพระพุทธเจ้าได้ อนึ่ง ในกายทั้งสามนี้ "ธรรมย่อมดำรงอยู่เฉพาะในธรรมกาย" เท่านั้น กายอื่นๆ ไม่อาจเป็นที่หยัดยืนแห่งธรรมได้ ดังนั้น เมื่อบุคคลได้พบพระพุทธเจ้าแล้ว ยึดติดในสังขารเปลือกนอกของท่านก็ไม่อาจเข้าถึงพระธรรมกายของท่าน ย่อมไม่อาจที่จะบรรลุธรรมได้ บางท่านได้กล่าวเสริมอีกว่า "ธรรมกาย คือ อายตนะนิพพาน" ด้วย หรือก็คือ พระพุทธเจ้าใช้ "พระธรรมกาย" ในการรับรู้และเข้าถึงซึ่งพระนิพพาน เมื่อธรรมกายรับรู้นิพพานได้ จึงนับว่าเป็น "อายตนะนิพพาน" แต่ไม่ใช่ตัวนิพพานโดยตรง เป็นเพียงกายที่เชื่อมโยงเพื่อรับรู้ถึงนิพพานเท่านั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า "หากบุคคลไร้ซึ่งธรรมกายแล้ว มีแต่กายอื่นๆ ไม่อาจใช้กายอื่นๆ เหล่านั้น รับรู้หรือเข้าถึงนิพพานได้" หากต้องการรับรู้หรือเข้าถึงนิพพาน (บรรลุธรรม) ย่อมต้องมี "ธรรมกาย" ก่อน เหมือนดอกบัวที่รอรับธรรม ย่อมต้องพร้อมบานแล้วก่อนฉะนั้น จึงรับแสงธรรมได้เต็มที่ หากยังไม่บาน แสงส่องอย่างไร ก็ไม่ถึงซึ่งภายในดอกบัวได้ ดังนั้น "ธรรมกาย" จึุงอุปมาดั่ง "ดอกบัวบาน" ที่รอรับแสง (พระธรรม) ฉะนั้น หากไม่ไ่ด้รับแสงก็ไม่บรรลุธรรม เมื่อได้รับแสงธรรมแล้ว จึงบรรลุธรรมได้ ดังนั้น การบรรลุ "ธรรมกาย" จึงเป็นการเตรียมอินทรีย์รับธรรม

    ในนักปฏิบัติบางกลุ่ม ย่อมพิจารณา "กายในกาย" อันเป็นหนึ่งในสี่หลักของสติปัฏฐานสี่ (กาย, เวทนา, จิต, ธรรม) จากกายสังขารหรือสัมโภคกายนี้ ไปสู่กายภายในซึ่งซ้อนอยู่ในกายสังขาร เป็นชั้นๆ ไป ในท่านที่สำเร็จตาทิพย์จึงเห็นกายในกาย ซึ่งเป็นกายทิพย์แบบต่างๆ ได้ ส่วนในท่านที่ไม่สำเร็จตาทิพย์ ก็สามารถเข้าใจถึง "กายในกาย" ได้ด้วยปัญญา หรือสติอันละเอียด ย่อมสัมผัสถึงความมีอยู่ของกายในกาย ที่ซ้อนอยู่ในกายสังขารนี้ได้ เช่นกัน เรียกว่า "สติในฐานกาย" ไม่เกี่ยวว่าจะต้องมีัตาทิพย์ จะต้องเห็นกายทิพย์นั้นหรือไม่? แต่ด้วยกำลังของสติที่ละเอียดอ่อน ก็สามารถรับรู้ได้ถึงการมีอยู่ของกายนั้นๆ ได้เช่นกัน เรียกว่า "กายานุสติปัฏฐาน" นั่นเอง อนึ่ง "ธรรมกาย" ของแต่ละท่าน มีลักษณะไม่เหมือนกัน ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีมาก "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะเป็นพุทธะมีมหาบุรุษลักษณะครบทุกประการ ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีน้อย (ปัญญาธิกะ บารมี ๔ อสงไขย) "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะไร้รูป ไม่มีรูปแห่งพุทธะเลย เป็นเพียง "มโนธาตุ" สว่างไสวดุจดวงดาวประกายแสงอยู่เท่านั้น จนบางท่านเรียกว่า "แสงแห่งธรรม" หรือ "พระเจ้าแสงแห่งธรรม" ก็มี (บางท่านเรียกเช่นนั้น แต่มิใช่ศัพท์ที่ใช้เป็นทางการ) ในพระอรหันตสาวกทั่วไป "ธรรมกาย" จะมีลักษณะคล้ายพระภิกษุแต่มีรัศมีแห่งธรรม (ฉัพรรณรังสี) เต็มรอบ สว่างขาว ครบวง และลักษณะอื่นๆ อีก ในบางท่าน "ธรรมกาย" มีลักษณะใสดุจเพชร นอกจากใสแล้วยังเปล่งประกายเป็นสีรุ้งเหมือนประกายเพชรอีกด้วย ธรรมกายลักษณะนี้มีชื่อเรียกเฉพาะอีกอย่างว่า "วัชรกาย" นั่นเอง จึงกล่าวได้ว่า "ธรรมกาย" หากเพ่งดูด้วยตาทิพย์แล้ว ก็มีลักษณะแตกต่างกันไปอีกด้วย แ่ต่ทั้งหลายทั้งปวงนี้ ก็ยังไม่ใช่ "นิพพาน" ไม่ว่าจะดับขันธปรินิพพาน คือ ดับขันธ์ทั้งห้าโดยรอบหมดแล้ว แต่ยังเหลือ "มโนธาตุ" สว่างไสวอยู่เป็นธรรมกาย สิ่งนั้นก็ไม่ใช่นิพพาน เป็นเพียง "อายตนะนิพพาน" ที่รับรู้นิพพาน เป็นตัวรู้นิพพานอีกที ยังไ่ม่ใช่ "นิพพานที่ถูกรู้" แต่อย่างใด จนเมื่อถึงซึ่ง "มโนธาตุนิพพาน" แล้ว ย่อมไม่เหลือรูปนามแ่ห่งนิพพาน (ธรรมกาย-อายตนะนิพพาน-ตัวผู้รู้นิพพาน และ นิพพาน ซึ่งเป็นฝ่ายถูกรู้) นับเป็น "นิพพาน" ๑ เดียว ไม่มีอย่างอื่น จบ ...

    อายตนะนิพพาน
    คือ "ธรรมชาติแห่งรูปธรรมที่รับรู้นิพพาน" ซึ่งบุคคลที่ได้รับรู้เรื่องของนิพพานครั้งแรก จะรู้ในระดับ "สุตมยปัญญา" และเมื่อเพียรพยายามทำนิพพานให้แจ้ง เขาย่อมเจริญวิปัสสนาพิจารณา "รูปนาม" ในธรรมทั้งหลายว่าไม่เที่ยง, ไม่ใช่ตัวตนของตน, ไม่อาจยึดมั่นได้ เพื่อปล่อยวางคลายอาการยึดติดในธรรมทั้งหลายแล้ว จึงพิจารณาเลยไปจนถึง "นิพพาน" เขาย่อมเห็นนิพพานในระดับ "รูปนาม" มีสองส่วนคือ "รูปนิพพาน" และ "นามนิพพาน" แยกกันอย่างนี้ อุปมาเหมือน บุคคลมองภาพสะท้อนของตัวเองในกระจกเงา นิพพาน นั้นจึงปรากฏเป็นสองส่วนแยกกัน เหมือนภาพสะท้อนและบุคคลผู้มองฉะนั้น อุปมา "อายตนะนิพพาน" ก็คือ "ผู้มองภาพสะท้อนของนิพพาน" (ฝ่ายนาม) และนิพพานคือ "ภาพสะท้อนที่ถูกมอง" (ฝ่ายรูป) ยังมิใช่นิพพานแท้ อันมีเพียง ๑ เดียว ตราบเมื่อหลุดพ้นแล้วจากทั้งรูปและนามแห่งนิพพาน ย่อมแจ้งแทงตลอดเข้าถึงนิพพาน ๑ เดียวอย่างแท้จริง ซึ่งจะเกิดได้เมื่อ "นาม" หรือ ฝ่ายผู้มองนิพพาน นั้น "นิพพาน" ไปด้วย หรือที่เรียกว่า "มโนธาตุนิพพาน" นั่นเอง ทั้งนี้ นาม ผู้มองนิพพานในที่นี้ ย่อมเรียกได้ว่าเป็น "อาตนะนิพพาน" ด้วยเพราะเป็นเครื่องรับรู้นิพพานได้ นั่นเอง อุปมาดั่ง อาตนะทั้งหก ได้แก่ ตา, หู, จมูก, ลิ้น, ผิวกาย, ใจ ย่อมรับรู้ธรรมชาติทั้งหลายได้ฉันใด "อายตนะนิพพาน" ก็รับรู้นิพพานได้ฉันนั้นเหมือนกัน ทว่า "นิพพานนั้นละเอียดอ่อน" มิอาจรับรู้ได้ด้วย "อายตนะหกปกติ" จะรับรู้ได้จาก "อายตนะนิพพาน" โดยเฉพาะเท่านั้น บางท่านกล่าวอีกว่า "ธรรมกาย คือ อายตนะนิพพาน" หรือก็คือ ถ้าบุคคลบรรลุถึง "ธรรมกาย" แล้ว ย่อมอาศัยธรรมกายนั้น ในการรับรู้นิพพาน ได้เหมือนอายตนะหนึ่ง แ่ต่ถ้่าบุคคลยังไม่บรรลุถึงธรรมกาย ย่อมไม่อาจรับรู้ถึงนิพพานได้ เพราะไม่มีอายตนะนิพพาน ที่จะรับรู้ นั่นเอง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 สิงหาคม 2013

แชร์หน้านี้

Loading...