เพื่อการกุศล :::(เปิดจอง)ล็อกเกตพระแก้วมรกต"ภูริทัตตเถรานุสรณ์-สมเด็จองค์ปฐมอมฤตศุภมงคลญาณสังวร":::

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย dekdelta2, 13 พฤศจิกายน 2009.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. SIR2010

    SIR2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    2,971
    ค่าพลัง:
    +5,672
    ขอจองล็อกเกตฉากธรรมดา สี ขาวเพิ่ม 1 องค์ครับ<!-- google_ad_section_end -->
     
  2. สมณะน้อย

    สมณะน้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    28
    ค่าพลัง:
    +325
    สวัสดีครับ คุณ dekdelta2
    วันนี้ผมได้โอนเงินร่วมทำบุญสร้าง "พระเจดีย์ภูริทัตตเถราสุสรณ์" แล้วนะครับจำนวนเงิน 12,000บาท ขอรับล็อกเก็ต 10 องค์ตามที่จองไว้นะครับ เดี่ยวจะส่งที่อยู่ให้ที่ pm นะครับ และก็มีหลักฐานการโอนเงิน เป็นใบบันทึกรายการตามรูปนะครับ อนุโมทนาด้วยครับ ขอบคุร
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. bigbanggd

    bigbanggd เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2009
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +161
    อังคารธาตุหลวงปู่ดูลย์ชุดนึ้ได้รับสืบทอดจากลูกศิษย์รุ่นแรกหลวงปู่ดูลย์ซึ่งมีสมณศักดิ์สุดท้ายเป็นถึงท่านเจ้าคุณ ท่านสิ้นไปได้หลายปีแล้วพระรุ่นนึ้จึงผสมอังคารธาตุหลวงปู่ดลย์จำนวนผอบหนึ่งและอังคารหลวงพุธที่ได้รับมอบจากเจ้าคุณรองเจ้าคณะนครราชสีมา 1 โถ ครับ รับรองมีพลังบารมีของครูบาอาจารย์ทังสองแน่นอน
     
  4. krit_eng99

    krit_eng99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    791
    ค่าพลัง:
    +2,228
    ขอโทษด้วยครับ ไม่ได้เข้าเวปนาน ไปสัมมนาที่อุบลเกือบ 1 อาทิตย์ เลยถือโอกาสไปทำบุญออกพรรษาที่อุบลราชธานีเลย

    อนุโมทนากับน้อง dekdelta มาเพิ่มข้อมูลมวลสารเยอะเลย ใครยังไม่ได้ตัดสินใจร่วมบุญ
    ได้เห็นมวลสารและครูบาอาจารย์ที่ร่วมอธิฐานจิตแล้ว คงอยากได้เก็บไว้บูชา

    [​IMG]
    1.ล็อกเกตฉากสีทอง(กรรมการ) บูชาองค์ละ 3,700 บาท (หมดแล้วครับ)
    2.ล็อกเกตฉากธรรมดา มี 3 สี ขาว ดำ เขียว บูชาองค์ละ 1,200 บาท
    ล๊อกเกต ฉากสีเขียว (หมดแล้วครับ)
    ฉากสีขาว เหลือ 72 องค์
    ฉากสีดำ เหลือ 65 องค์

    โอนได้ 2 บัญชีครับ
    กองทุนเพื่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาย่อยปราสาท ออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 959-201-6901
    หรือ
    บัญชี พระบัวพรรณ เบิกบาน ธนาคารกรุงเทพ สาขาย่อยปราสาท สะสมทรัพย์ เลขที่บัญชี 301-4794-121

    อนุโมทนากับทุกท่านครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • original271.JPG
      original271.JPG
      ขนาดไฟล์:
      240.2 KB
      เปิดดู:
      272
    • original272.JPG
      original272.JPG
      ขนาดไฟล์:
      158.6 KB
      เปิดดู:
      280
  5. SIR2010

    SIR2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    2,971
    ค่าพลัง:
    +5,672
    วันนีัโอนเงินแล้ว 2,500.76 บาท
    สีดำ 1 สีขาว 1
    ที่อยู่ ตาม PM
    โมทนาบุญทั้งปวงครับ
     
  6. สิงห์เทวะ

    สิงห์เทวะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    15
    ค่าพลัง:
    +109
    สวัสดีครับผมขอจองฉากสีขาวเพิ่มอีก 1องค์ครับ(เพื่อนฝากจองเพื่อร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ด้วยครับ)
     
  7. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 22 หลวงปู่กอง วัดสระมณฑล

    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]หลวงปู่กอง จันทวังโส
    วัดสระมณฑล จ.อยุธยา
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif] [​IMG][/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]ชาติกำเนิดและชีวิตปฐมวัย[/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]หลวงปู่กอง จันทวังโส มีนามเดิมว่า กอง ถนอมทรัพย์ เป็นบุตรคนที่ 2 ใน 3 คน ของคุณพ่อฝอย และคุณแม่ทัด ถนอมทรัพย์ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2442 ในแผ่นดินรัชกาลที่ 5 บ้านเดิมอยู่ที่ ต.บ้านพราน อ.แสวงหา จ.อ่างทอง ซึ่งท่านก็ได้เรียนหนังสือและจบการศึกษาชั้นประถมปีที่ 4 ที่โรงเรียนวัดบ้านพราน อ.แสวงหา จ.อ่างทอง นั่นเอง[/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]มูลเหตุบรรพชา[/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif]
    ครั้นเมื่อมารดาของหลวงปู่เสียชีวิตลง ท่านจึงได้บรรพชาเป็นสามเณร และไม่ได้ลาสิกขาจนกระทั่งอายุครบบวช เนื่องจากหาจะสึกเมื่อไร ก็มักจะเจ็บป่วยโดยไม่ทราบสาเหตุอยู่เสมอ ในขณะที่หลวงปู่ยังเป็นสามเณรอยู่นั้น ได้ติดตามพี่ชายไป จ.สุพรรณบุรี และอยู่วัดพระลอยกับหลวงพ่อแต้ม เมื่ออายุครบบวช จึงได้กลับไปอุปสมบท ณ วัดบ้านแก อ.แสวงหา จ.อ่างทอง หลังจากนั้นจึงได้ไปจำพรรษาอยู่ ณ วัดข่อย หรือ วัดข่อยวังปลาในปัจจุบัน
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]ที่วัดข่อยนี้เอง หลวงปู่ได้ศึกษาวิทยาการต่างๆ ทั้งทางโลกและทางธรรม กับหลวงพ่อเข็ม ท่านได้ศึกษาอยู่จนได้เป็น พระปลัดกอง มีหน้าที่อบรมสั่งสอนพระเณรที่วัด ซึ่งท่านเป็นพระที่มีวินัยเข้มงวดกวดขันมาก หลังจากนั้นจึงได้ลาสิกขาบทกลับมาใช้ชีวิตฆราวาส [/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]ลาสิกขา[/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif]
    ในช่วงชีวิตฆราวาส หลวงปู่ได้มีครอบครัวเฉกเช่นคนทั่วไป แต่เมื่อภรรยาของท่านออกลูกสาวคนแรกก็เสียชีวิตลง ท่านจึงได้แต่งงานใหม่อีกครั้ง โดยมีบุตร-ธิดาที่เกิดจากภรรยาคนที่สองอีก 3 คน ท่านใช้ชีวิตอยู่ที่ จ.อ่างทองระยะหนึ่ง จึงย้ายมาอยู่ที่ จ.พิจิตร ซึ่งที่นี่เอง ภรรยาคนที่สองของท่านก็ได้เสียชีวิตลงอีก ท่าานจึงเกิดความเบื่อหน่ายทางโลก อีกทั้งบุตรและธิดาท่านโตพอจะช่วยเหลือตนเองได้แล้ว จึงนำไปฝากไว้กับตาและยายเพื่อให้ไปศึกษาต่อในชั้นมัธยม ส่วนท่านจึงได้กลับเข้าอุปสมบทอีกครั้ง
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif][/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]ชีวิตสมณะ การแสวงหาธรรม และปฏิปทา[/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]การอุปสมบทครั้งนี้ ท่านได้สละเพศฆราวาสของท่าน ณ วัดเทวประสาท ต.ห้วยเกต อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร ในขณะนั้นท่านมีอายุได้ 55 ปีแล้ว โดยมีท่านพระครูพิบูลย์ศีลสุนทรเป็นพระอุปัชฌาย์ และพระอธิการทองอยู่ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ เมื่อวันที่ 18 กรกฏาคม พ.ศ.2495 โดยได้รับฉายาว่า จันทวังโส เมื่อบวชแล้วท่านได้ศึกษาวิทยาการต่างๆจากหลวงปู่มหาทิม ซึ่งพระอาจารย์มหาทิม เป็นพระผู้มีความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรม รวมถึงคาถาอาคมต่างๆ ต่อมาหลวงปู่กองจึงได้ติดตามอาจารย์มหาทิมลงมากรุงเทพ ฯ ด้วย โดยไปจำพรรษาที่วัดพระสิงห์ กรุงเทพฯ จากนั้นท่านจึงได้ไปศึกษาอบรมอยู่กับหลวงพ่อมิ ซึ่งเป็นอาจารย์ของพระอาจารย์มหาทิม (หลวงพ่อมิ เป็นศิษย์ของหลวงปู่คง วัดซำป่างาม จ.ชลบุรี) เมื่ออยู่ได้ระยะหนึ่ง ท่านจึงได้แยกย้ายกับพระอาจารย์มหาทิม เพื่อไปธุดงค์แสวงหาโมกขธรรมตามป่าเขา [/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]ในการธุดงค์ของหลวงปู่กอง ได้ปลีกวิเวกไปตามป่าเขาลำเนาไพร ตามที่สงบสงัด บางครั้งก็ได้ไปพบกับครูบาอาจารย์และสหายธรรมมากมาย ครั้นเมื่อกลับจากธุดงค์แล้ว ท่านจึงได้ไปจำพรรษาวัดโน้นบ้างวัดนี้บ้าง ตามที่สหายธรรมของท่านได้ชักชวนไป จนกระทั่งในที่สุด หลวงปู่ได้มาจำพรรษาที่วัดสระมณฑลซึ่งเป็นพระอารามเก่าแก่ในสมัยอยุธยา ซึ่งเหลือเพียงโบสถ์และพระพุทธรูปโบราณ วัดมีอาณาเขตเพียงแค่รอบโบสถ์ ล้อมรอบด้วยบ้านเรือนประชาชน [/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]ในสมัยที่หลวงปู่ออกธุดงค์อยู่นั้น หลวงปู่ได้เดินธุดงค์ไปถึงที่ถ้ำบัวแดง จ.ชัยภูมิ ณ สถานที่นั้นเองที่ท่านได้เจอกับพระอาจารย์อีกองค์หนึ่งของท่าน ที่ท่านให้ความเคารพเทิดทูนมาก นั่นคือ หลวงปู่เทพโลกอุดร ด้วยความเคารพรัก และบูชาในคุณธรรมของท่าน หลวงปู่จึงได้สร้างรูปเหมือนหลวงปู่เทพโลกอุดรขนาดใหญ่ ไว้ให้ศิษยานุศิษย์บูชาไว้ภายในโบสถ์ด้วย[/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]หลวงปู่กอง ได้จำพรรษาอยู่ที่วัดสระมณฑล จนกระทั่งละสังขาร ในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2546 สิริอายุได้ 104 ปี 9 วัน 51 พรรษา
    [​IMG][​IMG]
    [/FONT]


    ข้อความนี้นำมาจากกระทู้ประสบการณ์ของหลวงปู่หมุนนะครับ

    (โปรดใช้วิจารณญาณ)

    สมัยที่หลวงปู่ออกจากป่ามาแรกๆ มีพระท่านหยิบรองเท้าหลวงปู่ให้ผมดู บอกว่าดูสิท่านใส่คู่นี้อยู่ในป่า สังเกตุอะไรมั้ย มันไม่สึกเลยนะ จากนั้นมาก็เริ่มมีการสร้างพระถวายท่านมาเรื่อยๆ

    พระท่านเล่าให้ผมฟังว่า ปู่แก เก่งมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ยากที่จะหาใครเทียบยาก เป็นศิษย์สำเร็จลุนด้วย ภายหลังท่านย้ายไปที่ศรีษะเกศ จะว่าไปท่านแข็งแรงมาก เปิดกระป๋องนมเองได้ ชงโอวัลตินเองได้

    พระท่านเคยเล่าให้ผมฟังว่า ตอนนั้นมีลูกศิษย์ท่านมาคุยกันว่า "เนี่ย หลวงพ่อยิด เสกปลัดตั้งได้เลย สุดยอดมาก" ท่านก็นั่งฟังเฉยๆ แล้วหันไปเอาปลัดมาเสกในมือ ปรากฎว่าปลัดวิ่งพุ่งชนเพดานดัง "ปุ๊กๆ" ท่านเองก็แกะปลัด แกะเอง เสกแล้วก็แจก

    ครั้นถึงพิธีปลุกเสก พระกริ่งรุ่นแรก ตอนนั้นเชิญหลวงปู่หงษ์มาด้วย ตอนที่พระท่านไปเชิญ ปู่ท่านถามว่า "ในพิธีมีใครมาบ้าง" ลูกศิษย์เลยเรียนให้ท่านทราบว่า "มีหลวงปู่หมุนเป็นองค์ยืน" ปู่ท่านเลยบอกว่า "หลวงปู่หมุนองค์เดียวก็เหลือกินแล้ว"

    หลังเสก หลวงปู่หงษ์เล่าให้ฟังว่า ในพิธีมีเทวดาองค์เขียวๆมาด้วย(พระอินทร์) และพลังจิตหลวงปู่หมุนแรงกล้ามาก มีผู้ที่ได้ญาณแกบอกว่า พลังจิตหลวงปู่หมุนนั้น แผ่




    ออกมาหมุนวนรอบกองวัตถุมงคล เหมือนพายุเลย แล้ววิ่งพุ่งขึ้นสูง จากนั้นก็กระแทกลงมาบนกองวัตถุมงคลทั้งหมด สว่างมาก ศักดิ์สิทธิ์มาก

    อาจารย์อีกท่านบอกว่า หลวงปู่กอง พลังเยี่ยมสุดๆ ท่านนั่งแผ่พลังออกมาตลอดเวลา สว่างและเยือกเย็น

    เล่าสู่กันฟังครับ

    ผู้แสดงความคิดเห็น ทิพย์สุริยา

    หลวงปู่กองท่านเป็นศิษย์สายหลวงปู่เทพโลกอุดรครับ เคยเสกพระร่วมกับหลวงปู่หมุนหลายครั้ง อัฐิ อังคาร แปรสภาพเป็นพระธาตุ

    ล็อกเกตรุ่นนี้ จะมีสีหนึ่งที่บรรจุพระธาตุหลวงปู่กอง จำนวน 100 องค์พอดิบพอดี เป็นฉากธรรมดา 1 สี ผมไม่อยากบอกก่อน เพราะเป็นการทำบุญ มีวาสนาต่อกันครูบาอาจารย์จะมาโปรดเอง คิดดูแล้วกันว่า พระธาตุของหลวงปู่ไม่ได้หาง่ายๆ และมีพลังของท่านคุ้มครองแน่นอนครับ


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC01748.JPG
      DSC01748.JPG
      ขนาดไฟล์:
      131.2 KB
      เปิดดู:
      237
  8. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 23 ครูบาอินสม สุมโน วัดทุ่งน้อย

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ครูบาเจ้าอินสม สุมะโน วัดทุ่งน้อย ต.บ้านโป่ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่


    ท่านครูบาอินสม สุมะโน เป็นพระเถระที่อุดมไปด้วยศีลและจริยวัตรที่งดงามน่าเลื่อมใสศรัทธาจึงเป็นที่เคารพนับถือของพุทธศาสนิกชนชาวอำเภอพร้าวและจังหวัดเชียงใหม่ ท่านครูบาอินสมได้บวรบรรพชาเป็นสามเณรมาตั้งแต่เด็กจนมรณภาพในเภทบรรพชิต สมกับเป็นพระคถาคตในบวรพุทธศาสนา

    ครูบาอินสม สุมโน เดิมชื่ออินสม เปราะนาค เกิดวันศุกร์ที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๔ ตรงกับเดือนเกี๋ยงเหนือขึ้น ๑ ค่ำ ณ บ้านป่าหวาย ต.บ้านโป่ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ มีพี่น้องร่วมสายโลหิต ๔ คน ท่านครูบาอินสมเป็นคนที่ ๑

    เมื่ออายุได้ ๑๒ ปีได้เข้ามาอยู่เป็น ขะโยม(เด็กวัด) บรรพชาเป็นสามเณรเมื่อวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗ อายได้ ๑๓ ปี โดยมีท่านครูบาสีธิวิชโยเป็นพระอุปชัณาย์และอาจารย์ ต่อมาได้บวรอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่ออายุครบ ๒๐ ปีในวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๔๖๔ มีท่านครูบาสีธิวิชโยเป็นพระอุปชณาย์ ท่านครูบาอินสม มรณภาพเมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ด้วยโรคชราสิริอายุได้ ๙๖ ปี ๗๖ พรรษา
    [​IMG]

    เหรียญครูบาอินสม สุมะโน รุ่นแรก

    เหรียญรุ่นแรกนี้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2515 จำนวนการสร้าง 2515 เหรียญ เป็นเนื้อทองแดงทั้งหมดลักษณะของเหรียญจะเป็นเหรียญรูปไข่ด้านหน้าจะเป็นรูปเหมือนของท่านครึ่งองค์ ด้านหลังเป็นยันต์ตารางสี่เหลี่ยมมีคาถา ก๋าสะท้อน พุทธคุณเป็นที่ย่อมรับของชาวบ้านในอำเภอพร้าวมานานแล้วเด่นไปทางแคล้วคลาด ปลอดภัย คงกระพันชาตรี

    พระผงข้าวก้นบาตร(ข้าวเย็น) ครูบาอินสม สุมะโน
    วัดทุ่งน้อย ต.บ้านโป่ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่

    พระผงข้าวก้นบาตร ผสมเกศานี้ถือว่าเป็นวัตถุมงคลยุคต้นๆของท่านครูบาอินสม เป็นพระผงที่มีความนิยมอีกรุ่นหนึ่ง เพราะทำด้วยผงข้าวที่เหลืออยู่ในบาตรของท่านครูบา นำมาผสมกับเส้นเกศา
    กดเป็นพิมพ์รูปเหมือน พิมพ์สามเหลี่ยม และพิมพ์พระรอด วงการจึงเรียกว่า รุ่นข้าวเย็น
    พุทธคุณเป็นที่ยอมรับของคนในพื้นที่มานานแล้ว ทั้งในด้านแคล้วคลาด อยู่ยงคงกระพัน โชคลาภ เมตตา มหานิยม

    ประสบการณ์จากศิษย์ที่ใช้วัตถุมงคล เช้าวันที่ 13 ม.ค. 2551 เวลา 03:00 น. เกิดอุบัติเหตุรถกระบะพุ่งชนต้นไม้ จนรถอยู่ในสภาพยับเยินใช้งานไม่ได้ โดยมีนายทวีศักดิ์ เบิกบาน เป็นคนขับ และมีนายสุรชัย ใจปะ เจ้าของรถนั่งไปด้วย ปรากฏว่านายทวีศักดิ์ คนขับได้รับบาดเจ็บเพียงหลังมือซ้ายถลอกเล็กน้อยเท่านั้น และนายสุรชัย ไม่ได้รับบาดเจ็บอะไรเลย มีเพียงอาการปวดตามร่างกายเล็กน้อย จากการสอบถาม นายทวีศักดิ์ ได้เล่าว่าที่รอดมาได้อาจเป็นเพราะวันนั้นเขาได้แขวน พระเกศาครูบาอินสม และเหรียญรุ่น 3 (รุ่นสร้างพระวิหาร) ของครูบาอินสม สุมโน วัดทุ่งน้อย ไปด้วยก็ได้ จึงทำเขาไม่ได้รับบาดเจ็บมาก และนายสุรชัย ได้เล่าอีกว่า วันนั้นเขาไม่ได้แขวนพระติดตัวไปเลย มีแค่รูปหล่อเนื้อตะกั่ว รุ่นแรกของ ครูบาอินสม สุมะโน แขวนไว้ในรถของเขาเพียงองค์เดียวเท่านั้น ขอบคุณข้อมูล คุณแป๊ะป่าเหมือด

    ........................................................................

    [​IMG]

    ด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ ของข้าว ครูบาอินสม สุมโน

    นานมาแล้ว ผู้เขียนได้ฟังจากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าคนหนึ่ง "เล่าว่า ครั้งนึง ครูบาอินสมได้ ได้ โปรยข้าวก้นบาตร ที่ครูบาฯฉันต์เหลือ ให้กับนก ที่มารอรับอาหารเป็นประจำ บริเวณหน้าพระวิหาร หลังจากนกน้อย อิ่มจากข้าวก้นบาตรแล้ว ก็บินสู่ท้องฟ้า ออกนอกวัดไปตามทางของ นกน้อย แต่เหตุการณ์ไม่คาดคิด เกิดขึ้นกับนกน้อย!!! วัยรุ่น วัยคึกคนองกับปืนยาวคู่กาย ได้เล็งปากกระบอก ไปที่นกน้อย ที่บินไปเกาะกิ่งไม้ ข้างวัด เปรี้ยง!!!! ฟุ๊บ!!!!!! นกน้อยตก จากต้นไม้ ด้านล่างมีเพียงใบไม้แห้ง คอยช่วยรองรับ แรงกระแทก เสียง ไชโย ร้องดัง ออกจากปากวัยรุ่น ใจบาป พร้อมกับวิ่งมาดู ผลงานของตัวเอง แต่ก็ไม่ทันจะถึง เป้าหมาย ด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ นกน้อย ก็ได้กระพรือปีกลุกขึ้น พร้อมกับบินหนีไปด้วยความตกใจ เหมือนกับไม่ได้ ถูกปืนยิง เลย.... วัยรุ่น ผู้นั้นก็ถึงกับตลึง และยังสับสนกับเรื่องที่เกิดขึ้น
    ด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ ของ ข้าวก้นบาตรนี้ ผู้เขียน ก็เขียนตามความเข้าใจของผู้เขียนที่ได้รับฟังจากคำบอกเล่า ส่วนใครจะเชื่อหรือไม่เชื่อ ต้องใช้วิจารณญาณ ในการรับชม...ด้วยจิตคารวะ


    ..................................................................................


    เมื่อเมืองพร้าวสิ้นหลวงปู่แหวน ถนนแทบทุกสายมุ่งหน้าเข้าหาหลวงปู่ครูบาอินสมครับ เหรียญของท่านเป็นเหรียญที่โด่งดังมากๆๆ จนมีราคาเล่นหากัน สูงกว่าเหรียญรุ่นแรกหลวงปู่แหวน หลวงปู่สิม หลวงปู่ติ้อ ครูบาอิน ครูบาพรหมมา ครูบาชัยวงศา ครูบากองแก้ว ฯลฯ เสียอีก จะเป็นรองเพียงเหรียญรุ่นแรกของครูบาศรีวิชัย สิริวิชโย เท่านั้น

    แล้ววัตถุมงคลรุ่นไหนล่ะครับ ที่จะกล้าใส่ผงอัฐิท่านถึงครึ่งช้อนชา คิดว่ามี
    พุทธานุภาพเต็มเปี่ยมแน่นอน
    (จะขอบารมีหลวงปู่ ขณะสวมใส่ คิดดี พูดดี ทำดี นะครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC01725.JPG
      DSC01725.JPG
      ขนาดไฟล์:
      207.2 KB
      เปิดดู:
      296
  9. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 24 ผง 12 นักษัตร หลวงปู่เทียน วัดโบสถ์

    [​IMG]
    หลวงปู่เทียน เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 ตรงกับแรม 1 ค่ำ เดือน 12 ปีชวด ณ ตำบลกระแซง อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของ นายน้อย นางเล็ก ดุลยกนิษฐ มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 8 คน ท่านเป็นบุตรคนที่ 3 เมื่ออายุ 11 ปีได้เริ่มศึกษาอักขรสมัยเบื้องต้นกับพระอธิการวัดชัยสิทธิ์ แล้วย้ายมาอยู่วัดโบสถ์ เรียนหนังสือไทย และภาษามอญ จนอ่านออกเขียนได้ และมีความรู้ในทางคณิตศาสตร์เป็นอย่างดี
    ครั้นพออายุได้ 14 ปีได้เข้ามาศึกษาในกรุงเทพ ฯ เข้าเรียนที่โรงเรียนวัดมหาพฤฒาราม จนสอบไล่ได้จบหลักสูตร แล้วจึงเข้าเป็นมหาดเล็กได้ 1 ปี จากนั้นลาออกไปรับราชการเป็นเสมียนอยู่กับอธิบดีศาลอุธรณ์ 1 ปี ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อพ.ศ. 2439 ขณะอายุได้ 21 ปี ที่วัดบางนา โดยมีพระรามัญมหาเถระ เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี เป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วจำพรรษาอยู่ที่วัดโบสถ์เรื่อยมา เมื่อบวชแล้วได้ศึกษาภาษาบาลี และภาษามอญ กับพระอุปัชฌาย์จนมีความรู้ดี พ.ศ. 2481 ได้รับสมณศักดิ์ที่พระครูบวรธรรมกิจ
    ในครั้งสงครามอินโดจีนท่านได้สร้างเครื่องรางของขลังแจกจ่ายแก่ชาวบ้าน ทั้งเสื้อยันต์ ประเจียด ตะกรุด จนมีอภินิหารเลื่องลือ มีผู้นับถือมาก และได้สร้างพระเครื่องเนื้อผงไว้หลายพิมพ์ด้วยกัน ในพ.ศ. 2509 ท่านยังได้มีโอกาสเข้าเฝ้าถวายพระสมเด็จเนื้อผงแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ปัจจุบันพระเครื่องของหลวงปู่เทียนเป็นที่นิยมในหมู่นักสะสมพระเครื่อง หลวงปู่เทียนมรณภาพเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2509 รวมสิริอายุได้ 90 ปี 70 พรรษา
    [​IMG][​IMG]
    เหรียญรุ่นแรก ปี 2490 ออกที่วัดบ่อเงิน เป็นเหรียญสี่เหลี่ยม เนื้อทองแดง
    เหรียญรุ่นสอง ปี 2491 ออกวัดโบสถ์ ในวาระอายุครบ 6 รอบ เป็นเหรียญคล้ายรูปหยดน้ำ มี 2 เนื้อ คือ อะลูมิเนียม และเงิน
    เหรียญรุ่นสาม ปี 2506 ลักษณะคล้ายเหรียญรุ่นแรก
    พระเนื้อผงรุ่นแรก ปี 2490 ออกวัดบ่อเงิน ส่วนรุ่นแรกของวัดโบสถ์ สร้างปี 2506 ประกอบด้วย พิมพ์สมเด็จ 3 ชั้น หลังงันต์ พระนางพญา พระขุนแผน พระรอด พระทุ่งเศรษฐี และพระปิดตา นอกจาก 2 รุ่นนี้แล้ว ยังมีสร้างอีกในปี 2507 และ 2508 ซึ่งพระเนื้อผงของท่านโดยเฉพาะพิมพ์สมเด็จต่าง ๆ ด้านล่างจะมีการฝังตะกรุดปรากฏให้เห็นเป็นเอกลักษณ์
    ...............................................................................

    ในสมัยก่อนนั้น หลวงปู่เทียน วัดโบสถ์ ปทุมธานี เป็นพระมอญที่มีชื่อเสียงในการสร้างพระผง 12 นักกษัตรซึ่งอานุภาพไม่น้อยไปกว่า ผงสมเด็จวัดระฆัง ของสมเด็จพุฒจารย์โต หลวงพ่อเริ่มท่านก็ได้ไปหาและขอร่ำเรียนวิชาสร้าง ผง 12 นักษัตรนี้มาด้วย

    คำว่า เนื้อ 12 นักษัตร นั้นหลวงพ่อเริ่ม วัดจุกกะเฌอ ท่านเล่าว่า ผง 12 นักษัตรเป็นผงที่สร้างยากต้องมีความมานะพยายามอย่างสูงกว่าจะรวบรวมวัตถุมงคลให้ครบตามตำราก็ยากเย็นแสนเข็ญแล้ว เช่น

    - กระดูกม้าขาว
    - กระดูกไก่ดำ ซึ่งกระดูกออกเป็นสีชมพู
    - กระดูกนิ้วก้อยซ้ายขวาของผีตายวันเสาร์เผาวันอังคาร มาบดผสม

    เมื่อได้กระดูกสัตว์ทั้ง 12 ชนิด และวัสดุมลคลอื่นครบถ้วนตามตำราแล้ว ต้องบดผงเข้าด้วยกันแล้วปั้นเป็นแท่งดินสอเตรียมไว้ เมื่อเข้าพรรษาก็ให้เริ่มลงอักขระเลขยันต์ตั้งแต่วันแรกจนวันสุดท้ายของพรรษา ทำจนครบ 3 พรรษา หลวงพ่อเริ่ม เล่าว่าลูกศิษย์หลวงปู่เทียนที่เรียนนี้มีเพียงคนสองคนเท่านั้นที่สร้างผงนี้ได้สำเร็จถูกต้องตามตำรา(อีกองค์คือ หลวงปู่สุรินทร์ วัดบางกุฎีทอง ปทุมธานี เพิ่มเติมโดย dekdelta2) หลวงพ่อเล่าว่าในชีวิต 59 พรรษา ท่านทำผงนี้ได้สำเร็จเพียง 2 ครั้ง ท่านลบแล้วถมจนผงลอดกระดานทุกครั้ง

    ............................................................................
    จริงๆแล้ว ผมอยากได้ผงหัวเชื้อนี้จากหลวงปู่เริ่ม ปรโม แต่แหล่งที่มีอยู่ที่ศรีราชาจะไปเองก็ลำบาก เลยสืบค้นว่าท่านเรียนจากหลวงปู่เทียน
    ตอนแรกกว่าจะได้ผงนี้มา เจ้าของหวงพอสมควรเลยครับ ในที่สุดท่านก็มาโปรดจนได้ เพิ่มความขลังครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    [​IMG]
     
  11. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 25 หลวงปู่ภัททันตะ ธัมมานันทะอัครบัณฑิต ?

    <CENTER>[​IMG]</CENTER> ท่านพระอาจารย์ ภัททันตะ ธัมมานันทมหาเถระ เกิดที่หมู่บ้านตาสี่ อ. เยสะโจ่ มณฑลปขุกกู่ ในวันเสาร์ แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑ ปี พ.ศ. ๒๔๖๓ (ตรงกับวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๓) เป็บบุตรของนายโผ้เตด นางเวยี ซึ่งเป็นศรัทธาสร้างวัดในหมู่บ้านของท่านเอง ท่านมีพี่น้องอยู่ ๔ คน และเป็นลูกอันดับสามในบรรดาพี่น้องชายทั้ง ๔ คนนั้น
    ในวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๐ เมื่อท่านอายุได้ ๗ ขวบ บิดามารดาของท่านได้นำไปฝากท่าน อูญาณะ ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดโตงทัต หมู่บ้านตาสี่นั่นเอง ได้เล่าเรียนหนังสือต่างๆ เริ่มตั้งแต่ชั้นอนุบาลประถมเป็นต้นมา จนถึงบทสวดมนต์ต่างๆ คือ พระปริตร์ทั้ง ๑๑ สูตร คัมภีร์นมักการะ คัมภีร์โลกนีติ ชยมังคลคาถา ชินบัญชร ทั้งภาคบาลีและภาคตัวแปลด้วยรวมทั้งโหราศาสตร์ต่างๆ ที่ใช้อักษรตัวเลขเป็นภาษาบาลี อันเป็นวิธีการเรียนสมัยดั้งเดิมของพม่า
    เมื่อท่านอายุได้ ๑๔ ขวบ ได้บรรพชาเป็นสามเณร โดยมีท่านพระอาจารย์อูจารินทะเป็นอุปัชฌาจารย์ ได้รับฉายาบาลีว่า “สามเณรธัมมานันทะ” สามเณรธัมมานันทะได้ท่องจำนาสนะ ทัณฑกรรม เสยิยวัตร และ ขันธกวรรค ๑๔ อย่างได้ตั้งแต่ยังเป็นเด็กวัดอยู่ หลังจากบวชเป็นสามเณรแล้วพระอุปัชฌาจาย์จึงได้ให้ท่องจำกัจจายนสูตร รวมทั้งคำแปลตามคัมภีรย์กัจจายนสุตตัตถะและสอนคัมภีร์กัจจายนสังเขปให้ด้วย
    หลังจากนั้น ท่านได้ย้ายไปวัดปัตตปิณฑิการาม อันอยู่ในตัว อ. เยสะโจ่ ได้ศึกษาเล่าเรียนคัมภีร์ต่างๆ คือ พาลาวตาร กัจจายนะ สัททนีติสุตตมาลา อภิธัมมัตถสังคหะ เทวมาติกา ขุททสิกขา กังขาวิตรณี รวมทั้งพระวินัยปิฏกด้วย ในสำนักของท่าน อูอุตตระเจ้าอาวาส
    เมื่อท่านอายุครบ ๒๐ ปี ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๔๘๓ โดยมีท่านพระอาจารย์ อูสุชาตะ ซึ่งเป็นศิษย์ท่านพระอาจารย์อูอุตตระ เป็นพระอุปัชฌาย์ ณ พัทธสีมา วัดยองเปนตา จ. มองลาไยจุน มีโยมอุปัฎฐากถวายอัฎฐบริขาร คือ นายพละ นางเสงมยะ อยู่ที่บ้านเลขที่ ๒๐ ถนนสี่ จ. มองลาไยจุน
    หลังจากอุปสมบทแล้ว ท่านพระอาจารย์อูอุตตระ เจ้าอาวาสวัดปัตตปิณฑิการาม ได้ส่งท่านไปเรียนพระปริยัติธรรมต่อ ในสำนักของท่านพระอาจารย์ อูโกสัลลาภิวังสะ วัดมหาวิสุทธาราม จ. มัณฑเล ท่านศึกษาคัมภีร์ปทรูปสิทธิ และคัมภีปทวิจยะ ในขณะนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ จ. มัณฑเลเป็นจุดเป้าหมายในทางยุทธศาสตร์เพราะเป็นเมืองหลวงอันดับสองรองจากกรุงย่างกุ้ง ดังนั้น ท่านจึงย้ายจาก จ. มัณฑเล ไปสู่ จ. มะไลย ได้ศึกษาคัมภีร์ อภิธาน ฉันท์ อลังการ เภทจินตาและกัจจายนสาระ ในสำนักของท่านพระอาจารย์อูจันโชติ เจ้าอาวาสวัดสิริโสมาราม หมู่บ้านกันจี จ. มะไลยนั้น และยังได้ศึกษาคัมภีร์กัจจายนสุตตตัตถะ วิธีการทำรูปตามนัยของคัมภีร์ กัจจายนะ นามปทมาลา อาขยาตปทมาลา คัมภีร์พระอภิธรรมต่างๆ คือ คัมภีร์ปรมัตถสรูปเภทนี มาติกา และธาตุกถา รวมทั้งคัมภีร์ปาราชิกกัณฑอรรถกถา (สมันตปาสาทิกา) ด้วยท่านพำนักอยู่ที่วัดสิริโสมารามรวม ๕ ปี ด้วยกัน จนกระทั่งสงครามสงบ
    ในสมัยนั้น แถบมณฑลปขุกกู่ และ อ. เยสะโจ่ ไม่นิยมสอบสนามหลวงเป็นทางการเพียงแต่ศึกษาเล่าเรียนให้แตกฉานเท่านั้นเอง ดังนั้น ท่านจึงไม่สนใจเข้าสอบตั้งแต่ครั้งยังเป็นสามเณรเรื่อยมาจนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ หลังจากที่สงครามโลกสิ้นสุดลง ท่านจึงได้เริ่มสอบสนามหลวง ได้ชั้น “ปะถะมะแหง่” ในขณะที่ท่านพำนักอยู่ ณ วัดสิริโสมาราม หลังจากนั้นจึงย้ายไปวัดมหาวิสุทธาราม จ. มัณฑเล อันเป็นที่พำนักอยู่เดิมและสอบได้ชั้น “ปะถะมะลัด” ที่นั่นพระอาจารย์ที่สอนคัมภีร์ต่างๆ ให้คือ ท่านอาจารย์อูโกสัลลาภิวังสะ , อูชาเนยยพุทธิ, อูสุวัณณโชติภิวังสะ และอูอานันทปัณฑิตาภิวังสะ หลังจากนั้น ท่านย้ายไปอยู่วัดเวยันโภงตาสอบชั้น “ปะถะมะจี” ได้เป็นอันดับสามของประเทศ และสอบชั้น “ธัมมาจริยะ” ได้ในปีต่อมา ณ สำนักเรียนเวยันโภงตานั้น สมัยนั้น ท่านพระอาจารย์อูกัลยาณะ เจ้าอาวาสวัดเวยันโภงตา มีชื่อเสียงมากในการสอนคัมภีร์ชั้นธัมมาจริยะในเมืองมัณฑเล ท่านจึงได้ศึกษาเล่าเรียนชั้นธัมมาจริยะกับท่านพระอาจารย์อูกัลยาณะ และในขณะที่ท่านกำลังสอบชั้น “ปะถะมะจี” อยู่ท่านยังไปศึกษาคัมภีร์ปัฎฐานเป็นพิเศษด้วย ที่วัดปัฎฐานนาราม ภูเขาสะไกย จ. สะไกย โดยมีท่านพระอาจารย์ อูอินทกะ (อัครมหาบัณฑิต) เป็นผู้สอน
    ท่านสอบคัมภีร์ชั้นธัมมาจริยะได้สามคัมภีร์ คือ ปาราชิกบาลี และอรรถกถา สีลักขันธวรรคบาลีและอรรถกา สีลักขันธวรรคบาลีและอรรถกถา ธัมมสังคณีบาลีและอัฎฐสาลินีอรรถกถา และได้รับตราตั้งว่า “สาสนธชธัมมาจริยะ” นอกจากนั้นแล้ว ท่านยังสอบคัมภีร์พิเศษในชั้นธัมมาจริยะได้ อีกคือ คัมภีร์มหาวัคคาทิอรรถกถา สังยุตตนิกายอรรถกถา และวิภังคาทิอรรถกถา จึงได้รับตราตั้งอีกว่า “สาสนธชสิริปวรธัมมาจริยะ” ท่านสอบได้ทุกๆ ชั้น ตั้งแต่ชั้นแรกจนกระทั่งถึงชั้นธัมมา จริยะโดยตลอด ก่อนที่ท่านจะจบชั้น “ปะถะมะจี” ท่านได้เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมอยู่ที่วัดสิริโสมาราม จ. มะไลย วัดปัตตปิณฑิการาม อ. เยสะโจ่ และวัดเวยันโภงตา จ. มัณฑเล อีกด้วย ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ ทางกรมการศาสนาของประเทศสาธารณรัฐสหภาพพม่าได้นิมนต์ท่านเป็นพระธรรมฑูต เพื่อการเผยแพร่พระศาสนาเถรวาทในต่างประเทศท่านจึงได้ย้ายไปอยู่ที่กะบาเอ้ ซึ่งเป็นวิทยาลัยสงฆ์เพื่อการเผยแพร่ (ธัมมฑูตวิชชาลยะ) ศึกษาภาษา อังกฤษ และภาษาญี่ปุ่น เพื่อจะไปเผยแพร่พระศาสนา ณ ประเทศญี่ปุ่น เวลานั้นท่านเจ้าคุณพระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปญโญ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดโพธาราม จ. นครสวรรค์ มีหนังสือไปถึงกรมการศาสนาแห่งประเทศพม่า ขอพระอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญในพระปริยัตธรรมมาสอนพระปริยัติธรรมที่สำนักวัดโพธาราม ทางกรมการศาสนาแห่งประเทศพม่ารับรองกับท่านว่าเมื่อท่านสอนพระปริยัติธรรมในประเทศไทยได้หนึ่งพรรษาแล้ว จะส่งท่านต่อไปยังประเทศญี่ปุ่น ดังนั้น ท่านจึงได้เดินทางมายังวัดโพธาราม จ. นครสวรรค์ ตามที่กรมการศาสนานิมนต์ โดยได้เดินทางมาในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ ในเวลานั้นท่านมีภาระสอนพระปริยัติธรรมแก่พระภิกษุและสามเณรจำนวน ๒๐๐ รูป ในวัดโพธารามนั้น แต่ทว่าเมื่อออก พรรษาแล้วท่านไม่ได้ไปประเทศญี่ปุ่นตามความมุ่งหมายเดิม เพราะท่านเจ้าคุณพระธรรมคุณาภรณ์ ได้นิมนต์ให้อยู่สอนพระปริยัติธรรมต่อ ท่านจึงได้พำนักอยู่ที่ จ. นครสวรรค์ เป็นเวลาถึง ๖ ปี
    ในขณะที่ท่านพำนักอยู่ที่นครสวรรค์นั้น ทางกรมการศาสนาแห่งประเทศพม่าได้นิมนต์ท่านเพื่อการร่วมจัดทำคัมภีร์พจนานุกรมพระไตรปิฏก ฉบับบาลี – พม่า เล่มที่ ๑ และตรวจสอบคัมภีร์ต่างๆ ในสมัยปัจฉิมฏีกาสังคายนา ที่กะบาเอ้ ณ กรุงย่างกุ้ง ท่านจึงได้เดินทางกลับประเทศของท่านเป็นการชั่วคราว เพื่อร่วมจัดทำคัมภีร์พจนานุกรมพระไตรปิฎก ฉบับบาลี – พม่า เล่มที่ ๑ และตรวจสอบคัมภีร์ต่างๆ มีสุโพธาลังการฎีกาเป็นต้น รวม ๑ ปี หลังจากที่การสังคายนาพระบาลี อรรถกถาและฎีกา รวมทั้งคัมภีร์ต่างๆ ได้เสร็จสิ้นลงแล้วท่านจึงเดินทางกลับมายังวัดโพธารามตามเดิม
    ในขณะนั้นท่านพระอาจารย์อูเนมินทะ (อัครมหาบัณฑิต) เจ้าอาวาสวัดท่ามะโอรูปก่อนชราภาพมากแล้ว จึงได้มีหนังสือไปถึงกรมการสษสนาแห่งประเทศพม่า มีความประสงค์จะนิมนต์ ท่านพระอาจารย์อูธัมมานันทะให้มาเผยแพร่พระศาสนาที่วัดท่ามะโอ จ. ลำปาง และทางกรมการศาสนาแห่งประเทศพม่าก็ได้มีหนังสือมาถึงท่านดังนั้น ท่านจึงย้ายจาก จ. นครสวรรค์มายังวัดท่ามะโอ จ. ลำปาง ในวันขึ้น ๘ ค่ำเดือน ๘ พ.ศ. ๒๕๐๘ (ตรงกับวันที่ ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๘) หลังจากที่ท่านมาอยู่ที่นี่ได้ ๕ เดือน ท่านพระอาจารย์อูเนมินทะ เจ้าอาวาสวัดท่ามะโอ ก็ได้มรณภาพลงด้วยโรคชรา ท่านพระอาจารย์อูธัมมานันทะ จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดท่ามะโอสืบต่อมา ท่านได้เริ่มกิจการเผยแพร่พระศาสนาทางด้านพระปริยัติธรรมด้วยการตั้งโรงเรียน พระปริยัติธรรมขึ้น ในวันพฤหัสบดี แรม ๒ ค่ำ เดือน ๖ พ.ศ. ๒๕๑๐ (ตรงกับวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๐) ท่านสามารถก่อตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมให้มีชื่อเสียงขึ้นจนถึงปัจจุบันนี้ เพราะศิษยานุศิษย์ของท่าน สามารถสอบได้ทั้งแผนกนักธรรม และแผนกบาลี ทุกๆ ปี เป็นจำนวนมาก
    เนื่องจากการศึกษาพระไตรปิฎกจำเป็นต้องอาศัยคัมภีร์พื้นฐาน ๔ คัมภีร์ คือ คัมภีร์ไวยากรณ์ คัมภีร์อภิธานัปปทีปิกา คัมภีร์วุตโตทยฉันโทปกรณ์ และคัมภีร์สุโพธาลังการ านจึงได้ริเริ่มให้มีการศึกษาคัมภีร์พื้นฐานของพระไตรปิฎกทั้ง ๔ คัมภีร์นั้น ด้วยการสอนอธิบายและให้นักศึกษาท่องจำคัมภีร์เหล่านั้น พร้อมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่ และถึงแม้ว่าท่านจะชราภาพมากแล้ว ก็ไม่คำนึงถึงความชราภาพของตัวท่านเอง ท่านได้อุตสาหะสั่งสอนศิษยานุศิษย์ของท่าน ให้พยายามศึกษาเล่าเรียนจนได้ผลเป็นที่พึงพอใจของท่าน ซึ่งศิษยานุศิษย์เหล่านั้นก็ได้รับการยกย่องนับถือว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญในภาษาบาลี
    คัมภีร์ที่ใช้เป็นหลักสูตรในการศึกษา และใช้เป็นคัมภีร์ค้นคว้านั้น ท่านพระอาจารย์ได้มอบหมายให้จัดพิมพ์ไว้มีรวม 20 คัมภีร์ด้วยกัน คือ

    <TABLE class=text_size12 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="60%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๑ . กัจจายนะ </TD><TD width="50%">๒ . ปทรูปสิทธิ </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๓ . โมคคัลลานพยากรณะ </TD><TD width="50%">๔ . สัททนีติสุตตมาลา </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๕ . นยาสะ </TD><TD width="50%">๖ . อภิธาน </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๗ . สุโพธาลังการ </TD><TD width="50%">๘ . ฉันท์ </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๙ . สุโพธาลังการปุราณฎีกา </TD><TD width="50%">๑๐ . สุโพธาลังการอภินวฎีกา </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๑๑ . ขุททสิกขา , มูลสิกขา </TD><TD width="50%">๑๒ . ธาตวัตถสังคหะ </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๑๓ . เภทจินตา </TD><TD width="50%">๑๔ . กัจจายนสาระ </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๑๕ . ณวาทิโมคคัลลานะ </TD><TD width="50%">๑๖ . พาลาวตาร </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๑๗ . สังขยาปกาสกะ </TD><TD width="50%">๑๘ . สังขยาปกาสกฎีกา </TD></TR><TR vAlign=center align=left><TD width="50%">๑๙ . ปโยคสิทธิ </TD><TD width="50%">๒๐ . วุตโตทยฉันโทปกรณ์แปล </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ส่วนคัมภีร์ที่ท่านรจนาด้วยตนเองมี ๔ คัมภีร์ คือ
    ๑. อุปจารนย และเนตติหารัตถทีปนี
    ๒. อุปสัมปทกัมมวาจาวินิจฉัย
    ๓. สังขิตตปาติโมกขุทเทสวินิจฉัย
    ๔. คัมภีร์นานาวินิจฉัย

    ในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ทางรัฐบาลสาธารณรัฐสภาพพม่า ได้เห็นเกียรติคุณความดีในด้านการเผยแพร่พระศาสนาของท่านพระอาจารย์ ภัททันตะ ธัมมานันทมหาเถระจึงได้พร้อมในกันถวายตำแหน่ง “อัครมหาบัณฑิต”
    [​IMG]

    อันนี้จากเน็ต เค้าเล่าว่า

    ตอนเสกนั้นผู้ที่ได้ญาณได้บอกตรงกันว่า แค่เพียงท่านแตะกองวัตถุมงคลของทั้งหมดก็สำเร็จแล้ว และปรากฎเป็นดอกบัวแก้วขึ้นอยู่บนกองวัตถุมงคล พร้อมทั้งมีดอกมะลิแก้วโปรบปรายลงมาบนกองวัตถุมงคล

    ท่านเคยได้รัยนิมนต์เทศน์ให้หลวงพ่อเกษมฟังหลายครั้ง เพื่อดับทุกข์จากอาการอาพาธ ในเชิงว่า ใช้ธรรมโอสถนั่นเอง

    พระระดับนี้อธิษฐานก็นับว่าใช้ได้
    **ตอนไปเมตตาขอท่านอธิษฐานจิต ท่านให้อาราธนาศีลก่อนครับ ตอนผมไปนี่หลวงปู่มายืนรอหน้ากุฎิเลย คงไม่เกี่ยวกับที่เราอธิษฐานมาลำปางทั้งทีขอให้พบท่าน ท่านน่าจะมารับลมมากกว่าครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0538.JPG
      IMG_0538.JPG
      ขนาดไฟล์:
      124 KB
      เปิดดู:
      239
  12. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ลงหลายตอนหน่อย ชดเชยหลายวันครับ ทุกท่านจะได้รู้ความเป็นไปของพระชุเนี้อย่างละเอียดมากขึ้น
     
  13. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 26 มวลสารผงคณาจารย์

    มวลสารนี้ ต้นกำเนิดมาจาก คุณพงศ์ทิพย์ อินทรสูต ท่านรวบรวมผงกว่า 40 ปี โดยท่านตระเวนกราบครูบาอาจารย์มามากมายจริงๆ ครับ
    ผงนี้ผมได้จาก ดร.ธราธร กูลพัฒนนิรันดร์ อนุโมทนากับอาจารย์ครับ ท่านแวะเวียนมาเยี่ยมชมเว็บpalungjit ด้วยครับ ในชื่อ.... ผงนี้ยังมีจีวรของหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ อังคารของหลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย อีกด้วย ผงของอาจารย์ผ่านพิธีหลายต่อหลายครั้ง โดยเฉพาะพิธีเหรียญสมเด็จพระเอกาทศรถที่ครูบาอาจารย์ใหญ่มากันมาก

    นอกจากนี้ผมยังได้ผงลุงพงศ์ทิพย์เดียวกันนี้ จากพี่ท่านหนึ่งที่นำผง 1 ขวดโหลมาถวายสร้างพระครับ ผมก็ได้อานิสงค์มา

    มวลสารประกอบด้วย

    ดินจากสถานที่ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน และแสดงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    อิฐเก่าจากเชตวันมหาวิหาร คันธกุฎี เขสคิชกูฎ บ้านเกิดพระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ พระกัจจายะนะ พระสิวลี
    และจากพระเถราจารย์ประกอบด้วย

    1. หลวงพ่อทบ วัดชนแดน เพชรบูรณ์
    2. หลวงปู่นาค วัดระฆัง กรุงเทพฯ
    3. หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน ลำปาง
    4. ครูบาวัง วัดบ้านเด่น ตาก
    5. หลวงพ่อเล็ก วัดบางนมโค อยุธยา
    6. หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง นนทบุรี
    7. หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม นครปฐม
    8. หลวงพ่อผล วัดหนัง กรุงเทพฯ
    9. หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวัน นครปฐม
    10. หลวงพ่อกลับ วัดตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
    11. หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ อยุธยา
    12. หลวงพ่อรอด วัดประดู่ นครศรีธรรมราช
    13. หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ สมุทรสาคร
    14. หลวงพ่อหอม วัดซากหมาก ระยอง
    15. หลวงพ่อเหมือน วัดโรงหีบ นนทบุรี
    16. หลวงปู่พันธ์ วัดมัชฌันติการาม กรุงเทพฯ
    17. หลวงพ่อชื่น วัดตึกมหาชยาราม สมุทรสาคร
    18. หลวงปู่หิน วัดระฆัง กรุงเทพฯ
    19. หลวงพ่อเทียน วัดโบสถ์ ปทุมธานี
    20. หลวงปู่ทอง วัดป่ากอ สงขลา
    21. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    22. หลวงพ่อเบี่ยง วัดทุ่งสมอ กาญจนบุรี
    23. หลวงพ่อลำเจียก วัดศาลาตึก นครปฐม
    24. หลวงพ่อเริ่ม วัดจุกเฌอ ชลบุรี
    25. หลวงพ่อเทียม วัดกษัตราธิราช อยุธยา
    26. หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม สิงห์บุรี
    27. หลวงปู่ดำมี วัดถ้ำคูหาสวรรค์ ลพบุรี
    28. หลวงพ่อเหมือน วัดกำแพง ชลบุรี
    29. หลวงพ่อธูป วัดแดงนางเลิ้ง กรุงเทพฯ
    30. หลวงพ่อใย วัดมะขาม จันทบุรี
    31. หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา สุพรรณบุรี
    32. หลวงพ่อไฉน วัดสารนาถธรรมาราม ระยอง
    33. หลวงพ่อจวง วัดนครเนื่องเขต ฉะเชิงเทรา
    34. หลวงพ่อบุญมา วัดศรีพนม สกลนคร
    35. หลวงพ่อแต้ม วัดพระลอย สุพรรณบุรี
    36. หลวงปู่น้อย วัดไชยภูมิ อ่างทอง
    37. หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือ ระยอง
    38. หลวงปู่โถม วัดธรรมปัญญาราม สุโขทัย
    39. หลวงปู่จันทร์ วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ
    40. หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ เพชรบุรี
    41. หลวงพ่อปี้ วัดด่านลานหอย สุโขทัย
    42. หลวงพ่อครื้น วัดสังโฆ สุพรรณบุรี
    43. หลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย สมุทรสงคราม
    44. หลวงพ่อศรี วัดสะแก อยุธยา
    45. หลวงพ่อดำ วัดมุจลินทร์ ปัตตานี
    46. หลวงพ่อจันทร์ วัดคลองระนง นครสวรรค์
    47. หลวงพ่อเจาะ วัดประดู่โลกเชษฐ อยุธยา
    48. หลวงพ่อเส็ง วัดศรีประจันตคาม ปราจีนบุรี
    49. หลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ ชลบุรี
    50. หลวงพ่อลำภู วัดใหม่อมตรส กรุงเทพฯ
    51. หลวงพ่อโกย วัดพนัญเชิญ อยุธยา
    52. ครูบาเผือก วัดไชยสถาน เชียงใหม่
    53. หลวงพ่อแทน วัดธรรมแสน ราชบุรี
    54. หลวงพ่อวัดบางจาก นนทบุรี
    55. หลวงพ่อเผือด วัดมะกอก กรุงเทพฯ
    56. หลวงพ่อดี วัดเหนือ กาญจนบุรี
    57. หลวงพ่อสมจิตร วัดป่ากระเหรี่ยง ราชบุรี
    58. หลวงพ่อห้อม วัดหอมเกร็ด นครปฐม
    59. หลวงปู่ช่วง วัดบางแพรกใต้ นนทบุรี
    60. หลวงพ่อโภชน์ วัดราชโยธา กรุงเทพฯ
    61. พระครูสังวรสมาธิวัตร(แป๊ะ) วัดราชสิทธาราม กรุงเทพฯ
    62. หลวงพ่อแขก วัดพวงมาลัย สมุทรสงคราม
    63. หลวงพ่อแฟ้ม วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
    64. หลวงพ่อลา วัดแก่งคอย สระบุรี
    65. หลวงพ่อพักตร์ วัดบึงทองหลาง กรุงเทพฯ
    66. หลวงพ่อปลอด วัดหลวงสุพรรณาราม ลพบุรี
    67. หลวงพ่ออินทร์ วัดสุวรรณาราม กรุงเทพฯ
    68. หลวงพ่อบุญธรรม วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
    69. หลวงพ่อเหรียญ วัดเหนือ กาญจนทบุรี
    70. หลวงปู่ทองคำ วัดท่าทอง อุตรดิตถ์
    71. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(ฤทธิ์) วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ
    72. หลวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพะอง สมุรทรสาคร
    73. หลวงพ่อกี๋ วัดหูช้าง นนทบุรี
    74. หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง นนทบุรี
    75. หลวงพ่อสุบิน วัดเครือวัลย์ กรุงเทพฯ
    76. หลวงปู่สวน วัดนาอุดม อุบลราชธานี
    77. ครูบาขัน สุสานไตรลักษณ์ เชียงใหม่
    78. หลวงพ่อรักษ์ วัดน้อยแสงจันทร์ สมุทรสงคราม
    79. พระครูอุทัยธรรมธารี วัดท้าวอู่ทอง ปราจีนบุรี
    80. หลวงพ่อเมี้ยน วัดพระเชตุพน กรุงเทพฯ
    81. พระครูอุดมพิริยะคุณ วัดบึงพระยาสุเรนทร์ กรุงเทพฯ
    82. พระครูวินยานุวัตร วัดพระโขนง กรุงเทพฯ
    83. หลวงพ่อชื่น วัดตำหนักเหนือ นนทบุรี
    84. หลวงพ่อจุ่น วัดโคก ราชบุรี
    85. หลวงพ่อผ่อง วัดจักรวรรดิ กรุงเทพฯ
    86. หลวงพ่อฉาบ วัดศรีสาคร สิงห์บุรี
    87. พระครูพรหมจักรสุนทร วัดธรรมจักร พิษณุโลก
    88. หลวงพ่อมี วัดพระสิงห์ กรุงเทพฯ
    89. หลวงพ่อนคร วัดเขาอิติสุคโต ประจวบคีรีขันธ์
    90. พระราชมุนี(โฮม) วัดปทุมวนาราม
    91. หลวงพ่อเจริญ วัดทองนพคุณ เพชรบุรี
    92. พระครูอมรสุตคุณ วัดศิลาชลเขต นครศรีธรรมราช
    93. หลวงพ่อสัมฤทธิ์ วัดอู่ทอง สุพรรณบุรี
    94. พระครูวิมลคุณทร วัดปราสาทนิกร ชุมพร
    95. หลวงพ่อโอด วัดจันเสน นครสวรรค์
    96. หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม สมุทรสงคราม
    97. หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า ชัยนาท
    98. หลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพาราม สุรินทร์
    99. สมเด็จพระพุฒาจารย์(นวม) วัดอนงคาราม กรุงเทพฯ
    100. พระมงคลทิพย์มุนี วัดทองธรรมชาติ กรุงเทพฯ
    101. พระครูสินิจสมาจารย์ วัดหนองบัว กาญจนบุรี
    102. พระครูอินทรเขมา วัดช่องลม ราชบุรี
    103. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน) วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ
    104. หลวงพ่อช้วน วัดหนัง กรุงเทพฯ
    105. หลวงปู่สงฆ์ วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย ชุมพร
    106. สมเด็จพระพุฒาจารย์(เสงี่ยม) วัดสุทัศน์เทพวราราม กรุงเทพฯ
    107. หลวงพ่อมุม วัดปราสาทเยอ ศรีสะเกษ
    108. หลวงพ่อพล วัดหนองคณฑี สระบุรี
    109. ครูบาใฝ วัดพันอ้น เชียงใหม่
    110. หลวงพ่อแสน วัดท่าแหน ลำปาง
    111. สมเด็จพระสังฆราชแพ วัดสุทัศน์เทพวราราม กรุงเทพฯ
    112. หลวงพ่อพยนต์ วัดกาหลง สมุทรสาคร
    113. หลวงพ่อชูศักดิ์ วัดหงส์รัตนาราม กรุงเทพฯ
    114. หลวงพ่อมา วัดราชสิทธาราม กรุงเทพฯ
    115. หลวงพ่ออวน วัดหนองพลับ สระบุรี
    116. หลวงพ่อเชย วัดโปรดเกศ สมุทรปราการ
    117. หลวงพ่อดง วัดบางสัปปะรด จันทบุรี
    118. สมเด็จพระสังฆราชปุ่น วัดพระเชตุพน กรุงเทพฯ
    119. หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บำเพ็ญบุญ ชัยนาท
    120. หลวงปู่แก้ว วัดช่องลม สมุทรสาคร
    121. หลวงปู่กว่า สุมโน วัดป่าโนนกู่ สกลนคร
    122. หลวงปู่เทศก์ วัดหินหมากเป้ง หนองคาย
    123. หลวงปู่อินทร์ วัดศรีจันทร์ ขอนแก่น
    124. ครูบาหล้า วัดป่าตึง เชียงใหม่
    125. หลวงปู่จันทร์โสม วัดป่านาสีดา อุดรธานี
    126. ครูบาเที่ยงธรรม อาศรมเวฬุวัน ศรีษะเกษ
    127. หลวงพ่อถวิล ถ้ำพระโพธิสัตว์ สระบุรี
    128. หลวงปู่ดู่ วัดสะแก อยุธยา
    129. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพฯ
    130. เจ้าคุณนรรัตน์ราชมานิต วัดเทพศิรินทร์ กรุงเทพฯ
    131. หลวงพ่อสด วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
    132. สมเด็จพุฒาจารย์โต วัดระฆัง กรุงเทพฯ
    133. พระราชกวี วัดโสมนัส กรุงเทพฯ
    134. หลวงปู่ผล วัดเชิงหวาย กรุงเทพฯ
    135. หลวงปู่เส็ง วัดกัลยาณมิตร กรุงเทพฯ
    136. หลวงพ่อไพฑูรย์ วัดโพธินิมิตร กรุงเทพฯ
    137. หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง อุทัยธานี
    138. หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม นครปฐม
    139. หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม นครปฐม
    140. ครูบาชัยยะวงศ์ วัดพระบาทห้วยต้ม ลำพูน
    141. หลวงปู่บุดดา วัดกลางชูศรีเจริญสุข สิงห์บุรี
    142. ครูบาธรรมชัย วัดทุ่งหลวง เชียงใหม่
    143. หลวงปู่ชอบ วัดป่าสัมมานุสรณ์ เลย
    144. หลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
    145. หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี
    146. หลวงพ่อจวน วัดภูทอก หนองคาย
    147. พ่อท่านสังข์ วัดดอนตรอ นครศรีธรรมราช
    148. พ่อท่านคลิ้ง วัตถลุงทอง นครศรีธรรมราช
    149. หลวงปู่ศรีจันทร์ วัดเลยหลง เลย
    150. หลวงปู่สิม วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    151. หลวงปู่อ่อน วัดป่านิโครธาราม อุดรธานี
    152. หลวงปู่มัง วัดเทพกุญชร ลพบุรี
    153. ครูบาสร้อย วัดมงคลคิริเขต ตาก
    154. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    155. หลวงพ่อจันทร์ วัดทุ่งเฟื้อ นครศรีธรรมราช
    156. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ปุณณาราม นครราชสีมา
    157. หลวงพ่อวัน วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    158. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงามศรีมงคล หนองคาย
    159. ครูบาอินสม วัดป่าเดื่อ เชียงใหม่
    160. หลวงปู่ฝั้น วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
    161. หลวงปู่ชอบ วัดเขารังเสือ ราชบุรี
    162. หลวงพ่อเกตุ วัดเกาะหลัก ประจวบคีรีขันธ์
    163. หลวงพ่อเก๋ วัดแม่น้ำ สมุทรสงคราม
    164. หลวงปู่ห้อม วัดคูหาสุวรรณ สุโขทัย
    165. หลวงปู่บุญศรี(ฤาษีลิงเล็ก) วัดใหม่ศรีสุทธาวาส นครสวรรค์
    166. หลวงพ่อฮวด วัดดอนโพธิทอง สุพรรณบุรี
    167. หลวงปู่เหลือ วัดท่าไม้เหนือ อุตรดิตถ์
    168. หลวงพ่อเฮ็น วัดดอนทอง สระบุรี
    169. หลวงปู่สด วัดโพธิแตงใต้ อยุธยา
    170. หลวงปู่แว่น วัดถ้ำพระบาย ลำปาง
    171. หลวงพ่อลิขิต วัดศรีชมพู ราชบุรี
    172. หลวงพ่อคำปัน วัดหม้อคำตวง เชียงใหม่
    173. หลวงพ่อพวง วัดป่าปูลู อุดรธานี
    174. หลวงพ่อกิ วัดสนามชัย อุบลราชธานี
    175. หลวงพ่อจำเนียร วัดถ้าพญาจงอาง สุพรรณบุรี
    176. หลวงพ่อลำไย วัดทุ่งลาดหญ้า กาญจนบุรี
    177. หลวงปู่คอน วัดชัยพฤกษมาลา กรุงเทพฯ
    178. หลวงปู่อ่อน วัดเนินมะเกลือ พิษณุโลก
    179. ครูบาคำตัน วัดสันทรายหลวง เชียงใหม่
    180. หลวงพ่อรัง วัดอมฤตวารี อุทัยธานี
    181. หลวงปู่เปลื้อง วัดบางแก้วผดุงธรรม พัทลุง
    182. หลวงพ่อจ้อย วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฏร์ธานี
    183. พ่อท่านมุ่ย วัดป่าระกำเหนือ นครศรีธรรมราช
    184. หลวงปู่รักษ์ วัดศรีเมือง หนองคาย
    185. หลวงปู่ต้าน วัดสีลตาราม ตาก
    186. หลวงปู่คำพันธุ์ วัดธาตุมหาชัย นครพนม
    187. หลวงพ่อบุญมี วัดสระประสานสุข อุบลราชธานี
    188. หลวงพ่อนอ วัดกลาง อยุธยา
    189. หลวงปู่สี วัดถ้ำเขาบุญนาค นครสวรรค์
    190. หลวงปู่ลี วัดถ้ำเหวลึก สกลนคร
    191. หลวงพ่อสมควร วัดถือน้ำ นครสวรรค์
    192. พระพุทธวรญาณ วัดประยุรวงศาวาส กรุงเทพฯ
    193. หลวงปู่สวัสดิ์ วัดเม้าสุขา ชลบุรี
    194. หลวงปู่ไวทย์ วัดพนัญเชิง อยุธยา
    195. ครูบาจันทร์ วัดป่าเส้า ลำพูน
    196. หลวงพ่อบุญชม วัดเกาะวาลุการาม ลำปาง
    197. หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน ศรีษะเกษ
    198. หลวงปู่พลอย วัดเทพธิดาราม กรุงเทพฯ
    199. หลวงปู่พร วัดศรีมงคลใต้ มุกดาหาร
    200. หลวงพ่อเทพ วัดป่าเทพเนรมิต ลพบุรี
    201. หลวงพ่อฤทธิ์ วัดชลประทานราชดำริ บุรีรัมย์
    202. หลวงพ่อเชิญ วัดโคกทอง อยุธยา
    203. หลวงปู่บุญมี วัดบางโฉลงใน สมุทรปราการ
    204. หลวงปู่ปลื้ม วัดสวนหงษ์ สุพรรณบุรี
    205. ครูบาอินสม วัดทุ่งน้อย เชียงใหม่
    206. หลวงพ่อสัมฤทธิ์ วัดถ้ำแฝด กาญจบุรี
    207. หลวงพ่อพัฒน์ วัดเกาะแก้วอรุณคาม สระบุรี
    208. ครูบาอิน วัดฟ้าหลั่ง เชียงใหม่
    209. หลวงพ่อหลิว วัดไร่แตงทอง นครปฐม
    210. พระมหาอำพัน วัดเทพศิรินทร์ กรุงเทพฯ
    211. หลวงพ่อเกษม สุสานไตรลักษณ์ ลำปาง
    212. หลวงพ่อทองย้อย วัดกระซ้าขาว สมุทรสาคร
    213. หลวงพ่อแผ่ว วัดโตนดหลวง เพชรบุรี
    214. ครูบาจ๋อน วัดป่าตาล ลำพูน
    215. หลวงปู่ตี๋ วัดหลวงราชาวาส อุทัยธานี
    216. หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย นครนายก
    217. หลวงปู่เต้า วัดเกาะวังไทร นครปฐม
    218. หลวงปู่นิล วัดครบุรี นครราชสีมา
    219. หลวงปู่แดง วัดศรีมหาโพธิ์ ปัตตานี
    220. พระครูปัญญาโสภิต วัดสร้อยทอง กรุงเทพฯ
    221. หลวงพ่อคง วัดถ้ำเขาสมโภชน์ ลพบุรี
    222. ครูบาบุญปั้น วัดร้องขุ้ม เชียงใหม่
    223. หลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม นครปฐม
    224. หลวงปู่บุญนาค วัดหนองโปร่ง สระบุรี
    225. หลวงพ่ออวล วัดพระธาตุพนม นครพนม
    226. พระราชาเมธาภรณ์ วัดธรรมิการาม ประจวบคีรีขันธ์
    227. พระครูรัตนาคม วัดพระธาตุเสด็จ ลำปาง
    228. หลวงพ่อประสิทธิ์ วัดแจ้ง ปราจีนบุรี
    229. ครูบากัญไชย วัดมาตานุสรณ์ ตาก
    230. หลวงพ่อเบิ้ม วัดวังยาว ประจวบคีรีขันธ์
    231. หลวงปู่แก้ว วัดเครือวัลย์ ชลบุรี
    232. หลวงพ่อสละ วัดประตู่ทรงธรรม อยุธยา
    233. หลวงพ่อคับ วัดหนองนกไข่ สมุทรสาคร
    234. ครูบาอินตา วัดห้วยไซ ลำพูน
    235. หลวงปู่สง่า วัดไผ่ล้อม อยุธยา
    236. หลวงปู่เหมือน วัดบ้านห้วยทรายใต้ สระแก้ว
    237. หลวงปู่เปลื้อง วัดโมลี นนทบุรี
    238. หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ระยอง
    239. หลวงพ่อบุญ วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
    240. หลวงพ่อเคล็ม วัดป่าอุดมธรรม บุรีรัมย์
    241. หลวงตายี วัดดงก้อนทอง พิษณุโลก
    242. หลวงปู่หล้า วัดภูจ้อค้อ มุกดาหาร
    243. หลวงปู่แจ้ง วัดใหม่สุนทร นครราชสีมา
    244. หลวงปู่ฉาบ วัดคลองจันทร์ ชัยนาท
    245. หลวงพ่อหอม วัดท่าอิฐ อ่างทอง
    246. ครูบาสม วัดเจดีย์สามยอด ลำพูน
    247. หลวงปู่เกษม วัดม่วง อ่างทอง
    248. หลวงปู่กอง วัดสระมณฑล อยุธยา
    249. หลองพ่อดี วัดหนองจอก นครราชสีมา
    250. พ่อท่านเขียว วัดทรงบน นครศรีธรรมราช
    251. หลวงพ่อจวน วัดไก่เตี้ย สุพรรณบุรี
    252. หลวงพ่อสังวาล วัดทุ่งสามัคคีธรรม สุพรรณบุรี
    253. พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน นครศรีธรรมราช
    254. หลวงปู่สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    255. หลวงปู่ชื้น วัดญาณเสน อยุธยา
    256. หลวงปู่มุ่ย วัดดอนไร่ สุพรรณบุรี
    257. หลวงปู่คำดี วัดถ้ำผาปู่ เลย
    258. หลวงพ่ออาทิตย์ วัดเขาวังเจ้า กำแพงเพชร
    259. หลวงพ่อนุ่ม วัดนางในธรรมิการาม อ่างทอง
    260. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    261. หลวงปู่อ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    262. หลวงพ่อถิร์ วัดป่าเลไล สุพรรณบุรี
    263. หลวงปู่บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย
    264. หลวงปู่เหรียญ วัดป่าอรัญบรรพต หนองคาย
    265. หลวงพ่อเจริญ วัดธัญญวารี สุพรรณบุรี
    266. หลวงปู่คง วัดตะคร้อ นครราชสีมา
    267. หลวงตาม่อม วัดโพธิงาม ลพบุรี
    268. หลวงพ่อผล วัดดักคะนน ชัยนาท
    269. หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก ประจวบคีรีขันธ์
    270. หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ นครปฐม
    271. หลวงปู่คร่ำ วัดวังหว้า ระยอง
    272. หลวงพ่อบุญตา วัดคลองเกตุ ลพบุรี
    273. หลวงพ่อวิเวียร วัดดวงแข กรุงเทพฯ
    274. หลวงพ่อหยอด วัดแก้วเจริญ สมุทรสงคราม
    275. หลวงปู่มี วัดมารวิชัย อยุธยา
    276. หลวงพ่อเกรียง วัดหินปักใหญ่ ลพบุรี
    277. หลวงตาโง่น วัดพระพุทธบาทเขารวก พิจิตร
    278. หลวงพ่อพิมพา วัดหนองตางู นครสวรรค์
    279. หลวงพ่อเจ็ก วัดระนาม สิงห์บุรี
    280. หลวงพ่อพุฒ วัดกลางบางพระ นครปฐม
    281. ครูบาน้อย วัดบ้างปง เชียงใหม่
    282. หลวงปู่แร่ วัดเชิดสำราญ ชลบุรี
    283. หลวงพ่อคล้อย วัดถ้ำเขาเงิน ชุมพร
    284. หลวงพ่อเมี้ยน วัดโพธิกบเจา อยุธยา
    285. หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โก่งธนู ลพบุรี
    286. หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง อยุธยา
    287. หลวงพ่อท้าว สำนักวชิรกัลยาณ์ นครสวรรค์
    288. หลวงพ่อท่านนอง วัดทรายขาว ปัตตานี
    289. ครูบาสุรินทร์ วัดศรีเตี้ย ลำพูน
    290. หลวงปู่โทน วัดบูรพา อุบลราชธานี
    291. หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ นครสวรรค์
    292. หลวงปู่ขวัญ วัดท้องอ่าว สุราษฏร์ธานี
    293. หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค อยุธยา
    294. หลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง นนทบุรี
    295. ท่านเจ้ามา วัดสามปลื้ม กรุงเทพฯ
    296. หลวงพ่อเผือก วัดกิ่งแก้ว สมุทรปราการ
    297. หลวงพ่อใจ วัดเสด็จ สมุทรสงคราม
    298. หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก กรุงเทพฯ
    299. หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา นครปฐม
    300. หลวงพ่อจาด วัดบางกระเขา ฉะเชิงเทรา
    301. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา
    302. หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม สมุทรสงคราม
    303. หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม ชัยนาท
    304. หลวงพ่อม่น วัดเนินตามาก ชลบุรี
    305. หลวงปู่เหล็ง วัดโคกเพราะ ชลบุรี
    306. หลวงพ่อคำพอง วัดถ้ำกกดู่ อุดรธานี
    307. หลวงปู่วัย วัดเขาพนมยงค์ สระบุรี
    308. หลวงพ่อผัน วัดแปดงา สระบุรี
    309. หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค นครสวรรค์
    310. หลวงพ่อรักษ์ วัดสำราณนิเวศ อำนาจเจริญ
    311. หลวงพ่อขัน วัดอมฤต นนทบุรี
    312. หลวงปู่พรหมา สำนักสงฆ์สวนหิน อุบลราชธานี
    313. หลวงปู่เนื่อง วัดสวนจันทร์ นครศรีธรรมราช
    314. หลวงปู่ร่วง วัดศาลาโพธิ์ สงขลา
    315. หลวงพ่อศรีเงิน วัดดอนศาลา พัทลุง
    316. หลวงพ่อลมูล วัดเสด็จ ปทุมธานี
    317. หลวงพ่อผูก วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
    318. หลวงพ่อท่านแดง วัดดอนนางพิมพ์ พัทลุง
    319. หลวงปู่หรุ่ม วัดบางจักร อ่างทอง
    320. หลวงพ่อปาน วัดเสนาสนาราม อยุธยา
    321. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม นครปฐม
    322. หลวงพ่อหมอ วัดโคกกระต่ายทอง อยุธยา
    323. หลวงพ่อสาย วัดขนอนใต้ อยุธยา
    324. หลวงพ่อเยื้อน วัดม่วงชุม สิงห์บุรี
    325. หลวงปู่สุระ วัดสวนใหม่ ยะลา
    326. หลวงปู่พุฒ วัดมณีสถิตย์ อุทัยธานี
    327. หลวงปู่นำ วัดดอนศาลา พัทลุง
    328. ครูบาคำแสน วัดสวนดอกไม้ เชียงใหม่
    329. หลวงพ่อบุญ วัดวังมะนาว ราชบุรี
    330. หลวงปู่ทองอยู่ วัดท่าเสา สมุทรสาคร
    331. หลวงพ่อหนู วัดทุ่งแหลม ราชบุรี
    332. หลวงพ่อชา วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี
    333. หลวงปู่คำแสน วัดดอนมูล เชียงใหม่
    334. หลวงพ่อคลี่ วัดประชาโฆษิตาราม สมุทรสงคราม
    335. หลวงปู่คำ วัดศรีจำปาชนบท สกลนคร
    336. ครูบาขันแก้ว วัดสันกระเจ้าแดง ลำพูน
    337. หลวงปู่เริ่ม วัดบางน้ำจืด สุราษฏร์ธานี
    338. หลวงปู่หมุน วัดเขาแดงตะวันตก พัทลุง
    339. หลวงปู่บุญมา วัดป่าสิริสาลวัน อุดรธานี
    340. หลวงพ่ออาจ วัดดอนไก่ดี สมุทรสาคร
    341. หลวงพ่อไว วัดดาวดึงส์ สมุทรสงคราม
    342. หลวงพ่อชุ่ม วัดราชคาม ราชบุรี พระครูลืม วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ
    343. หลวงพ่อศรี วัดวิเศษไชยชาญ อ่างทอง
    344. หลวงพ่อกล่ำ วัดอินทาวาส อ่างทอง
    345. หลวงพ่อสุด วัดกาหลง สมุทรสาคร
    346. หลวงพ่อทอง วัดก้อนแก้ว ฉะเชิงเทรา
    347. ครูบากองแก้ว วัดต้นยางหลวง เชียงใหม่
    348. หลวงพ่อญาณ วัดไม้เรียง นครศรีธรรมราช
    349. หลวงพ่อผิว วัดสง่างาม ปราจีนบุรี
    350. หลวงพ่อไวย์ วัดบรมวงศ์ อยุธยา
    351. หลวงพ่อไพ วัดบางทะลุ เพชรบุรี
    352. หลวงพ่อแคล้ว วัดวังหิน สุพรรณบุรี
    353. หลวงพ่อหนู วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
    354. หลวงพ่อสีทน วัดถ้ำผาปู่ เลย
    355. หลวงพ่อสนั่น วัดป่าสุขเกษมนิราศภัย สกลนคร
    356. หลวงพ่อจันทร์ วัดหาดสองแคว อุตรดิตถ์
    357. หลวงพ่อใช่ วัดศรีรัตนาราม พิษณุโลก
    358. พระครูวิรุฬธรรมโกวิท วัดเจดีย์สถาน เชียงใหม่
    359. หลวงพ่อดวง วัดทอง สิงห์บุรี
    360. หลวงพ่อผาง วัดอุดมคงคาคีรีเขต ขอนแก่น
    361. ครูบาชุ่ม วัดวังมุย ลำพูน
    362. พระครูไกรลาศสมานคุณ วัดก่งไกรลาศ สุโขทัย
    363. หลวงพ่อโปร่ง วัดขุนทิพย์ อยุธยา
    364. หลวงปู่เล็ก วัดประดู่เรียง พัทลุง
    365. พระครูมหาชัยบริรักษ์ วัดเจษฏดาราม สมุทรสาคร
    366. หลวงปู่หนูจันทร์ วัดพันธเสมา นครศรีธรรมราช
    367. พระสุธรรมญาณเถระ วัดน้ำบ่อหลวง เชียงใหม่
    368. ครูบาศรีนวล วัดเจริญเมือง เชียงราย
    369. หลวงพ่อบุ่ง วัดใหม่ทองเสน กรุงเทพฯ
    370. พระครูกัลยาวิสุทธิ์ วัดดอน กรุงเทพฯ
    371. หลวงพ่อเล็ก วัดท่าลาด ฉะเชิงเทรา
    372. หลวงพ่อโต๊ะ วัดสระเกศไชโย อ่างทอง
    373. หลวงพ่อนาค วัดทัศนารุสุทธิการาม กรุงเทพฯ
    374. หลวงพ่อเฉลิม วัดโพธิญาณ พิษณุโลก
    375. หลวงพ่อสอน วัดศาลเจ้า ปทุมธานี
    376. หลวงพ่อพรหม วัดขนอนเหนือ อยุธยา
    377. หลวงพ่อแก้ว วัดโฆสิทธาราม สิงห์บุรี
    378. หลวงพ่อบุญนาค วัดเศวตฉัตร กรุงเทพฯ
    379. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    380. หลวงปู่อินทร์ วัดใหม่เพรชรัตน์ สุพรรณบุรี
    381. หลวงพ่อเหลาทอง วัดหรคุณ ขอนแก่น
    382. หลวงพ่อวิเชียร วัดสี่เหลี่ยม บุรีรัมย์
    383. พระญาณโพธิ วัดอัมพวัน กรุงเทพฯ
    384. พระครูอาคมวุฒิคุณ วัดใหม่บ้านดอน นครราชสีมา
    385. หลวงปู่พวง วัดสหกรณ์รังสรรค์ สระบุรี
    386. หลวงปู่สุข วัดโพธิทรายทอง บุรีรัมย์
    387. พระครูประกาศสมาธิคุณ วัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ
    388. หลวงพ่อเล็ก วัดหนองดินแดน นครปฐม
    389. หลวงพ่อเที่ยง วัดม่วงชุม กาญจบุรี
    390. หลวงพ่อท่านเย็น วัดโคกสะท้อน นครศรีธรรมราช
    391. หลวงปู่เกตุ วัดศรีเมือง สุโขทัย
    392. หลวงพ่อแจ่ม วัดวังแดงเหนือ อยุธยา
    393. หลวงพ่อเส็ง วัดน้อยนางหงษ์ กรุงเทพฯ
    394. หลวงพ่อโด่ วัดนามะตูม ชลบุรี
    395. หลวงพ่อบุญมี วัดท่าสะดอย เชียงใหม่
    396. ครูบาตัน วัดเชียงทอง ตาก
    397. หลวงปู่จันทร์ วัดสำราญ อุบลราชธานี
    398. หลวงพ่อเงิน วัดเขาสาก ลำปาง
    399. หลวงพ่อสด วัดหางน้ำ ชัยนาท
    400. หลวงพ่อกรับ วัดโกรกกราก สมุทรสาคร
    401. หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว สุพรรณบุรี
    402. หลวงพ่อดัด วัดท่าโบสถ์ ชัยนาท
    403. หลวงพ่อผ่อง วัดจักรวรรดิ์ กรุงเทพฯ
    404. หลวงพ่อออด วัดท่าช้าง อยุธยา
    405. หลวงพ่อชื่น วัดดุ้งท่าเสา ลพบุรี
    406. พระครูสนิทวิทยาการ วัดท่าโขลง ลพบุรี
    407. หลวงพ่อบุศย์ วัดดาวดึงส์ กรุงเทพฯ
    408. หลวงปู่ถาวร วัดเวฬุวัน ปทุมธานี
    409. หลวงปู่ทอง วัดจักรวรรดิ์ กรุงเทพฯ
    410. พระสาสนุเทศาจารย์ วัดเศวตฉัตร กรุงเทพฯ
     
  14. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 27 หลวงปู่เคน วัดเขาถ้ำอีโต้

    [​IMG]

    หลวงพ่อเคน วัดถ้ำเขาอีโต้ เกจิผู้โด่งดังอีกรูปหนึ่งของจังหวัดปราจีนบุรี ผู้มีอภินิหารมากมาย เช่น
    หายตัวได้ ย่นระยะทางได้ ต่างๆนานา อยู่ในถ้ำเขาอีโต้ จนมรณะภาพ


    หลวงพ่อเคน (หรือหลวงปู่เคน) เป็นพระเกจิอาจารย์ ยุคเก่า ที่พรรษาน่าจะมากกว่าหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก และหลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน จึงไม่ค่อยมีประวัติ
    ของหลวงพ่อมากนัก ด้วยปี พ.ศ.2513 อันเป็นปีที่หลวงพ่อเคนมรณะภาพ

    ปีนั้นหลวงพ่อก็มีอายุถึง 111 ปีแล้ว วัตถุมงคลของหลวงพ่อ จะเน้นไปทางเมตตา มหานิยม การค้าขายดี เป็นต้น ท่านมีชื่อเสียงเรื่องการสร้าง ไซดักเงิน และนก
    (ที่ทำจากไม้กาหลง) วัตถุมงคลที่เราพบมากที่สุด เป็นงานสร้างด้วยมือล้วนๆ ส่วนมากชุดนี้จะพบอยู่หลังภาพถ่ายของหลวงพ่อ มีด้วยกันหลายขนาด ขนาดสูง
    เกิน 1 นิ้ว จะเป็นของผู้ชาย หากขนาดกลาง หรือเล็ก ตลอดจนจิ๋ว จะเป็นของผู้หญิง มีทั้งภาพถ่ายสี่เหลี่ยม ภาพกลม และรูปหัวใจเป็นต้น

    วัตถุมงคลที่โด่งดัง ของหลวงพ่อเคน คือไซดักปลาเสก ที่เด่นทางเมตตา มหานิยมเเละค้าขายดี

    พระเครื่องและวัตถุมงคลของหลวงพ่อเคนบางส่วน

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    สิ่งที่เกี่ยวข้องกับท่าน ในล็อกเกตรุ่นนี้คือ สีผึ้งของท่านครับ พลังสูงมาก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC01756.JPG
      DSC01756.JPG
      ขนาดไฟล์:
      107.3 KB
      เปิดดู:
      177
  15. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 28 แป้งเสกหลวงปู่บุดดา วัดกลางชูศรีเจริญสุข

    เอ่ย ถึงพระหลวงปู่บุดดา คนเล่นพระอาจมองข้ามไปอย่างรวดเร็ว เนื่องด้วยเหตุผล พระท่านไม่ดัง พระท่านไม่แพง หรือห้อยแล้วไม่เท่ โชว์ไม่ได้ หรือไม่มีข่าวคราวปาฏิหาริย์อะไร อย่างฟันไม่เข้าหรือยิงไม่เข้าตามหน้าหนังสือพิมพ์ อันนี้ ขอท่านได้พิจารณาให้รอบคอบและถ้วนถี่ในมายาโลก ที่แม้แต่แวดวงพระเครื่องก็ยังมี หากใครจำได้ถึงอมตะของท่านเจ้าคุณนรที่ว่า

    "ของจริงนิ่งเป็นใบ้ ของพูดได้นั้นไม่จริง" ผมยินดีที่จะเสนอ ของจริง ให้พี่ๆในเว็บนี้ครับ

    อันศักดิ์ศรีของหลวงปู่บุดดานั้น แม้จะดูธรรมดาในสายตาชาวโลก แต่สายของเหล่ากองทัพธรรมนั้นสูงสุดจะบรรยาย
    [​IMG]
    ครั้งหนึ่งท่านได้เดินทางไปสนทนาธรรมกับหลวงปู่ดู่ วัดสะแก หลวงปู่บุดดาได้เทแป้งเสกลงในมือหลวงปู่ดู่ และทันทีทันใดเหมือนกัน หลวงปู่ดู่รีบเทแป้งเหล่านั้นลงบนศรีษะท่านจนขาวโพลนไปหมด ท่ามกลางความ ตกตะลึง ของเหล่าลูกศิษย์ท่านมากๆ เพราะปกติหลวงปู่ดู่ท่านมีกิริยาที่เรียบร้อยเอามากๆ จนเมื่อหลวงปู่บุดดากลับไป ลูกศิษย์ท่านหนึ่ง ถามหลวงปู่ทันที

    " หลวงปู่ทำไมเทแป้งอย่างนั้นล่ะครับ" ท่านตอบทันที

    "ก็ผง พระอรหันต์ ท่านให้ จะให้เอาไว้ตรงไหนนอกจากบนศรีษะของเรา ไม่งั้นจะเป็นการไม่เคารพ"

    และที่สำคัญในพิธีเปิดโลกที่แสนสะโด่งดังนั้น หลวงปู่ดู่ท่านยังเชิญบารมีขององค์หลวงปุ่บุดดามาร่วมเสกด้วย (ทางญาณนะครับ)

    แม้แต่องค์หลวงปุ่ชา วัดหนองป่าพง พระเถระที่ปกติไม่สรรเสริฐพระองค์ไหนง่ายๆ ในวันหนึ่ง เมื่อท่านทราบว่าหลวงปุ่บุดดา นั่งอยุ่บนรถบัส ท่านถึงพูดกับลูกศิษย์ว่า

    " ไม่ให้ท่านลงมานะ เราจะขึ้นไปกราบหลวงปุ่บุดดาบนรถเอง"

    แล้วท่านก็ขึ้นไปทั้ง กราบ ทั้ง ไหว้ อย่างเคารพและเรียบร้อยที่สุด

    หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุงท่านเคยบอกให้ลูกศิษย์ไปกราบ หลวงปู่บุดดา ตั้งแต่ที่ท่านยังอยุ่ที่วัดอาวุธ ฝั่งธน กทม. โดยให้เหตุผลว่า " รีบไปกราบท่านนะ หลวงปู่องค์นี้ ท่านเป็นพระทองคำ ท่านจะไม่มาเกิดอีกแล้วนะ " และยกย่องหลวงปุ่บุดดาอีกหลายครั้ง และหากท่านสงสัยในกัปกริยาที่ค่อนข้างจะแหวกแนว และ ล่อแหลมขององค์หลวงปู่ ที่มักทำอะไรที่คนทั่วไปมองว่าผิดปกติ ขอให้คิดเอาเสียใหม่ นี่คือเนื้อนาบุญของแท้

    ซึ่งแม้แต่หลวงปู่สิม แห่งสำนักสงฆ์วัดถ้ำผาปล่อง ยังขอถวายสังฆทานและจีวร เป็นการเฉพาะ และบอกว่า " หลวงปู่บุดดา ยอดเยี่ยมที่หนึ่ง แก่ทั้งอายุ แก่ทั้งพรรษา และแก่ทั้งมรรคผลนิพพาน"

    หากท่านสงสัยในพุทธคุณที่หลวงปู่บรรจุไว้ในองค์พระแล้ว โปรดอ่าน

    ครั้งหนึ่งมีคนนำพระไปให้ท่านเสก ส่งไปแล้วท่านก้อส่งกลับ ทำอย่างนี้ถึง 3 ครั้ง โดยไม่แสดงอาการ เสก แต่อย่างใด ท่ามกลางความงุนงงของผุ้นั้นมาก จนหลวงพ่อองค์หนึ่งที่นั่งอยุ่ที่นั้นบอก " พระองค์นี้ออกรบได้แล้วล่ะโยม " เต็ม ตั้งแต่ที่ส่งมาให้แล้ว ........ตกใจไหม...... และเมื่อมีคนนำพระไปให้ครูบาสร้อย วัดมงคงคีรีเขต จ.ตาก พระอาคมขลัง ที่ผู้อ่านศักดิ์สิทธิ์คงรุ้จักกันดี ช่วยเสกซ้ำอีกที ท่านได้ปฏิเสธและให้เหตุผลว่า
    [​IMG]
    "เต็มแล้ว เสกไม่ได้แล้ว" แม้แต่องค์หลวงพ่อพุธ ยังปฏิเสธเหมือนกัน และบอก " จะให้เสกทับไปได้อย่างไร หลวงปู่บุดดาก็เป็นครูบาอาจารย์องค์หนึ่งของเราเหมือนกัน" สุดยอดจิงๆ
    [​IMG]


    แป้งเสกหัวเชื้อของหลวงปู่ ได้แบบเป็นกระป๋องเดิมๆ เลยครับ
    ตอนนี้ยี่ห้อนี้ไม่มีขายซะแล้ว
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC01758.JPG
      DSC01758.JPG
      ขนาดไฟล์:
      216.7 KB
      เปิดดู:
      226
  16. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    แรงบันดาลใจอย่างสำคัญที่ทำให้ คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติมออกบวชจนสำเร็จธรรมและอิทธิฤทธิ์เบื้องสูงจนมีเกียรติคุณเลื่องลือไกลนั้น ก็เกิดจากได้มาฟังเทศน์ของหลวงปู่บุดดา ตอนที่ท่านได้รับอาราธนามายังวัดสัมพันธวงศ์เมื่อปีพ.ศ. 2475 ครั้งที่มาแก้อธิกรณ์ที่วัดเทพศิรินทร์จนได้พบกับท่านเจ้าคุณนรรัตน์ฯจนซาบซึ้งในรสพระธรรมอย่างยิ่ง ถึงกับโกนศีรษะออกบวชเป็นชีในสมัยแรกนั่นแล....
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    ที่มา เว็บพุทธวงศ์

    ขนาดคุณแม่บุญเรือน ยังออกปากขอติดตามไปเป็นศิษย์หลวงปู่บุดดาเลยครับ ตั้งแต่ครั้งนัน้
     
  17. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    [​IMG]

    [​IMG]

    หลวงปู่หลอด ปโมทิโต มากราบคารวะหลวงปู่บุดดา ถาวโร
     
  18. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    [​IMG]

    เรื่องของหลวงปู่บุดดา และโยมพ่อของท่านในอดีตชาติ คือ หลวงพ่อสงฆ์ พรหมสโร ซึ่งเกี่ยวข้องกับพระชุดนี้ด้วย จะนำเสนอตอนต่อๆไป
     
  19. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 28 พระผงเบญจพร

    [​IMG]

    หลังจากที่ได้ตั้งใจจะทำพระรุ่นนี้เป็นรุ่นทิ้งทวน (เนื้อผง) ซึ่งได้เริ่มโครงการมาตั้งแต่ก่อนเข้าพรรษา ปี พ.ศ.2547 โดยในการจัดสร้างพระเนื้อผงรุ่นนี้ของผม ได้ดำเนินการสร้างโดยนำมวลสารต่างๆที่ได้รับบริจาคมา และ ที่ได้เก็บสะสมไว้ทั้งหมด มาตำให้ละเอียด และได้จัดพิธีบวงสรวง ตามฤกษ์ ( วันที่ 21 กรกฎาคม 2547 เวลา 6:22-6:40 ) หลังจากนั้นได้ส่งให้โรงงานปั๊มพระมาให้ และ ได้นำไปขอเมตตา บารมีของหลวงพ่อที่มีนามอันเป็นมงคล ช่วยอธิฐานจิตให้ ซึ่งตอนนี้พระได้จัดสร้าง และ ผ่านการอธิฐานจิตเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยมีจำนวนการสร้างเป็นเนื้อผงเกสร จำนวน 2,000 องค์ , เนื้อผงคลุกรัก 500 องค์ และ เนื้อกรรมการ 50 องค์

    การส้รางพระในครั้งนี้ของผม เป็นการสร้างขึ้นเพื่อถวายวัด หลายๆแห่ง หลายๆ ที่เพื่อให้วัดได้นำพระไปให้ประชาชนบูชา แล้วนำรายได้มาพัฒนาบำรุงเสนาสนะของวัดที่ชำรุดทุรดโทรม นับถึงวันนี้ผมได้ได้ถวายพระไปแล้ว สามวัด รวม 999องค์ โดยฝากคุณณรงค์ชัย ไป 100 องค์ , ฝากคุณโชกุน เวปมาสเตอร์เวปพระเครื่องไทยไปถวายวัด อีก 500 องค์ และ เมื่อวานนี้เอง ผมได้นำพระไปถวาย หลวงพ่อจ้อย วัดหนองน้ำเขียว จ.ชลบุรี 399 องค์

    [​IMG]


    เขียนโดย คุณนิวัติ เว็บมาสเตอร์แห่งเว็บ amulet2u

    ซึ่งผงหัวเชื้อที่สร้างพระผงเบญจพรนี้ เกิดจากผงที่รวบรวมตั้งแต่สร้างพระผงรุ่นรวมใจ พระปิดตานฤมิตร อันเกิดจากส่งมวลสารของเพื่อนสมาชิกในเว็บแห่งนั้นจำนวนมาก อีกทั้งยังได้การปลุกเสกอธิษฐานจิตอีกหลายๆครั้ง ซึ่งผมได้รับการแบ่งมาพอสมควร

    อนุโมทนากับเจ้าของมวลสารด้วยครับ
     
  20. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,949
    ตอนที่ 29 ข้าวก้นบาตร ทิพย์เทวดา หลวงตายี วัดดงตาก้อนทอง

    [​IMG]
    จากคำบอกเล่าต่างๆ นั้นทำให้ได้ทราบว่า หลวงพ่อยีเป็นชาวจังหวัดลพบุรี เมื่อเล็กๆ อายุได้ 8 ขวบ ได้อาศัยอยู่กับพระภิกษุรูปหนึ่ง ไม่ทราบชื่อแน่นอน แต่หลวงพ่อยีเรียกว่า “หลวงพ่อใหญ่” ได้ธุดงค์ออกป่าหลายแห่งจนอายุได้ 21 ปี หลวงพ่อยีจึงอุปสมบทเป็นพระธุดงค์ ออกเดินแบกกลดสะพายบาตรไปเรื่อยๆ พักตามป่าตามเขาทั้งในภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ เคยเข้าไป ถึงพม่า เวียงจันทร์ มาลายู<?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    หลวงพ่อยี ท่านเล่าว่าท่านได้เดินธุดงค์หาความวิเวก จนจิตใจมองเห็น นรก สวรรค์ ยามที่ออกโปรดสัตว์ในตอนเช้า จะมีเทวดา นางฟ้า มาตักบาตรให้ตลอดเวลา ได้บวชเป็นพระถึง 28 พรรษา อายุประมาณ 50 ปี <O:p></O:p>
    เมื่อเล็งเห็นว่า ตนเองยังมีกรรมอยู่ จำเป็นต้องสิกขาบทออกมาเป็นฆราวาส หลังจากนั้นก็ท่องเที่ยวไปหลายๆ จังหวัด ใช้ชีวิต แบบฆราวาสเต็มที่ จนครั้งสุดท้ายได้มาหักร้างถางพง ณ บริเวณที่เป็นวัดดงตา ก้อนทองนี้ สมัยนั้นยังเป็นป่ารกชัฏอยู่มีที่ดินทั้งหมด <?XML:NAMESPACE PREFIX = ST1 /><ST1:METRICCONVERTER w:st="on" productid="565 ไร่">565 ไร่</ST1:METRICCONVERTER><O:p></O:p>
    เคยประกอบอาชีพเป็นอาจารย์สัก อยู่ยงคงกะพันชาตรีให้กับลูกศิษย์ลูกหาอยู่พักหนึ่ง ต่อมาได้ออกบวชอีกเป็นครั้งที่ 2 หลวงพ่อยีได้ตกได้ตกลงใจยกที่ดินถวายเป็นของสงฆ์เสียส่วนหนึ่ง<O:p></O:p>
    สิ่งก่อสร้างที่สำคัญที่สุดของวัดดงตาก้อนทอง คืออุโบสถ์ใช้เวลาในการสร้างเพียง 1 ปี 6 เดือนเท่านั้น แต่ในการรวบรวมปัจจัยมาเป็นค่าวัสดุ และแรงงานใช้เวลานานพอสมควรทีเดียวงบประมาณในการก่อสร้างสูงถึง 6-7 ล้านบาท การขนส่งวัสดุอุปกรณ์ต้องใช้ทางเกวียน เพราะสถานที่ในการก่อสร้างอยู่ห่างไกลมาก อย่างไรก็ตามด้วยบารมีของหลวงพ่อยี งานก่อสร้างอุโบสถก็สำเร็จเรียบร้อยทุกประการ และยังเป็นถาวรวัตถุที่งดงามอยู่มาตราบจนถึงทุกวันนี้ ตัวโบสถ์กว้าง10 วา ยาว 20 วา สูง 12 วา ชั้นบทเป็นโบสถ์ใต้ถุนสูง ชั้นล่างใช้ทำกิจกรรมทางศาสนาแทนศาลาการเปรียญได้นับว่าเป็นโบสถ์อเนกประสงค์หลังหนึ่งสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ภายในวัดนั้น มีปัญหาธรรมอยู่หน้าโบสถ์ คือ มีรูปปั้นพระพุทธรูปปางสมาธิขนาใหญ่ 1 องค์ นั่งบังพระพุทธรูปขนาเล็กไว้ ปัญหาธรรมนี้ ผู้พบเห็นก็ขบคิดกันเอาเอง อีกด้านหนึ่งมีรูปปั้นคนขี่ช้าง ถัดมาด้านซ้ายมือเป็นป่ามะม่วงหนาทึบ มีพระพุทธรูปในอิริยาบถต่างๆ ตั้งอยู่เรียงรายเป็นระยะๆ มีรูปเคารพของศาสนาพราหมณ์อยู่หน้ากุฎิพระ มีโรงครัวขนาใหญ่โต แสดงถึงจำนวนญาติโยมที่มาทำบุญที่วัดนี้ ซึ่งเคยรุ่งเรืองในอดีต<O:p></O:p>
    โยมผวน โตมา ศิษย์ผู้หนึ่งของหลวงพ่อยีใต้เล่าให้ฟังว่า ก่อนจะมาเป็นโบสถ์หลังนี้ หลวงพ่อยีใต้ปัจจัยในกาสร้างโบสถ์มาจากการใช้อิทธิฤทธิ์ต่างๆ ช่วยให้ลูกศิษย์มีฐานะร่ำรวยขึ้นแล้วบรรดาลูกศิษย์เหล่านั้นก็นำเงินไปช่วยท่านในภายหลัง ท่านสามารถเสกกระดาษให้เป็นใบละร้อย เสกดินให้เป็นทองคำ เสกใบไม้ให้เป็นเงินหรือแม้บางครั้งก็เสกใบไม้เป็นกบนำมาทำอาหารกินกันอย่างเอร็ดอร่อยก็เคยปรากฏแล้ว หรือเรื่องการบิณฑบาตข้าวทิพย์จากเทวดาก็ตามหลวงพ่อท่านเดินออกไปห่างจากครัวไม่ถึง <ST1:METRICCONVERTER w:st="on" productid="10 เมตร">10 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> ท่านยืนทำสมาธิที่ต้นมะม่วงใหญ่ ไม่นานนักก็เดินกลับมาพร้อมด้วยข้าวสวยร้อนๆ เต็มบาตร ข้าวทิพย์นี้มีกลิ่นหอมมาก ทิ้งไว้ก็ไม่บูด แต่จะแห้งไปเองเหมือนข้าวตาก <O:p></O:p>
    จากการที่ท่านสร้างอุโบสถ์นี้ทำให้ท่านต้องเดินทางไปกรุงเทพฯ บ่อยๆ สถานที่พักของท่านก็คือที่โรงเรียนตะละภัฎศึกษา การแสดงฤทธิ์อภิญญาของท่านก็กระทำเป็นประจำจนถึงบั้นปลายชีวิต หลวงพ่อถูพวกมิจฉาทิฎฐิ กล่าวหาว่าท่านหลอกลวง แต่ด้วยสัจจะบารมีของท่าน อิทธิฤทธิ์ บุญฤทธิ์ ที่ท่านแสดงให้ปรากฏก็เป็นที่ประจักษ์แจ้งแก่บุคคลสำคัญๆ ระดับประเทศในขณะนั้น เช่น จอมพลถนอม กิตติขจร รองนายกรัฐมนตรี นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ประธานศาลฎีกา พันเอกปิ่น มุทุกันต์ อธิบดีกรมการศาสนาและนายประกอบ หุตะสิงห์ อธิบดีศาลอุทธรณ์ เป็นต้น<O:p></O:p>
    หลวงพ่อยี ท่านสามารถพิสูจน์ให้เห็นได้ด้วยตาว่า ท่านแสดงอิทธิปาฎิหาริย์ได้จริงหรือไม่ จากคำให้สัมภาษณ์ของอธิบดีกรมการศาสนา คือพันเอกปิ่น มุทุกันต์ ในขณะนั้นว่าหลวงพ่อยีใต้นำบาตรมาให้ตนดูและได้เป็นคนเช็ดบาตรด้วยตนเองหลวงพ่อยีอุ้มบาตรออกไปยืนที่นอกชานกุฎิห่างจากผู้สังเกตการณ์ไม่ถึง <ST1:METRICCONVERTER w:st="on" productid="10 เมตร">10 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> ท่านยืนนิ่ง หันหน้าไปแต่ละทิศ แล้วเปิดฝาบาตร ทำนองรับบาตรจากผู้ใส่เหมือนกับที่เราใส่บาตรทุกอย่าง แล้วหลวงพ่อยีก็เรียกอธิบดีกรมการศาสนาเข้าไปหา ท่านส่งบาตรให้ พอยื่นมือไปรับมารู้สึกว่าบาตรหนักอึ้ง เปิดฝาขึ้นดูปรากฏว่ามีข้าวสุกร้อนๆ เต็มบาตรมีกลิ่นหอมอบอวล เป็นข้าวชนิดมันปู ก้นบาตรมีลูกประคำทองอยู่ 2 ก้อน ขนาดใหญ่โตกว่าเม็ดข้าวโพด ซึ่งภายหลังเมื่อได้นำเข้ากรุงเทพฯ ให้ช่างทองบ้านหม้อดูก็เป็นทองคำบริสุทธิ์<O:p></O:p>
    [​IMG]
    นอกจากจะพิสูจน์เรื่องนี้แล้ว หลวงพ่อยียังเสกเหรียญเงินให้เป็นทองคำก็ได้ด้วย หลวงพ่อท่านแบ่งให้อธิบดีกรมการศาสนาครึ่งหนึ่งให้ประธานศาลฎีกาครึ่งหนึ่ง ให้ประธานศาลฎีกาครึ้งหนึ่ง ครั้นเมื่อนำไปพิสูจน์ที่ร้านทอง ก็ปรากฏว่าเป็นทองบริสุทธิ์เช่นเดียวกัน<O:p></O:p>
    ลูกศิษย์ที่ใกล้ชิดหลวงพ่อยี เช่น คุณสมหมาย-คุณณรงค์ศักดิ์ ตะละภัฎ คุณ<ST1:pERSONNAME w:st="on" productid="ยรรยง ณ บางช้าง">ยรรยง ณ บางช้าง</ST1:pERSONNAME> และลูกศิษย์อื่นๆ อีกมากมาย ก็สามารถที่จะยืนยันได้เป็นเสียงเดียวกันว่า หลวงพ่อยีท่านมีอิทธิฤทธิ์ บุญฤทธิ์ สูงส่งมากมายเพียงใด<O:p></O:p>
    ในระยะที่ผู้คนฮือฮากันถึงเรื่องความมหัศจรรย์ที่หลวงพ่อยี ท่านได้กระทำขึ้นนั้น พระราชมุนี (โฮมโสภโณ) แห่งวัดปทุมวนาราม ก็เป็นพระเถระผู้ใหญ่รูปหนึ่งที่ต้องมาพิสูจน์ถึงความเท็จจริงนี้ให้เป็นประจักษ์หลวงพ่อถาวร ซึ่งในขณะนั้นเป็นศิษย์ใกล้ชิดที่สุดของพระราชมุนีโฮมก็ได้ติดตามมาด้วย และภายหลังก็ได้มาที่วัดดงตาก้อนทองอีกหลายครั้ง เพื่อศึกษาเรื่องอิทธิฤทธิ์ปาฎิหาริย์กับหลวงพ่อยี จนกระทั่งได้ประจักษ์แจ้งได้รู้ ได้เห็น เป็นที่ยอมรับว่า ทุกสิ่งเป็นจริงทุกประการ ไม่มีสิ่งใดเคลือบแคลงสงสัยอีกเลย<O:p></O:p>
    หลวงพ่อยี ท่านมรณภาพ เมื่อปี พ.ศ.2515 เก็บศพใส่โลงทองไว้ในกุฎิทางด้านจังหวัดพิจิตร ก่อนที่ท่านจะมรณภาพ ได้สั่งเสียไว้กับศิษย์ใกล้ชิด คือโยมผวน โตมา ถึงเรื่องราวที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สำหรับวัดดงตาก้อนทอง นี้คือ ให้โยมผวนเป็นผู้ดูแลรักษาโบสถ์นี้ไว้อย่าไปอยู่ที่อื่น รอจนกว่าหลวงพ่อที่ 2 จะมารับช่วงต่อ

    ข้าวทิพย์เทวดาพลังสุดยอดมากครับได้รับมาจากศิษย์บรรพชิตของท่านโดยตรง พูดชื่อไปทุกท่านต้องร้องอ๋อ เพราะท่านทรงสมณศักดิ์ท่านเจ้าคุณทีเดียว
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC01709.JPG
      DSC01709.JPG
      ขนาดไฟล์:
      134.7 KB
      เปิดดู:
      298
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...