เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    คืนนี้เพื่อนๆ อย่าลืมดูปรากฎการณ์บลูมูนกันนะ

    คืน 31 สิงหา ชวนชมปรากฏการณ์บลูมูน ดวงจันทร์เต็มดวงครั้งที่สองของเดือน!!

    วันที่: 30 สิงหาคม 2012



    [​IMG]


    ภาพแสดงดวงจันทร์เต็มดวงซึ่งเกิดขึ้นประจำเดือนละหนึ่งครั้ง ภาพโดย สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)



    ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เปิดเผยว่า ในวันที่ 31 สิงหาคม 2555 ที่จะถึงนี้ จะเกิดปรากฏการณ์บลูมูล (Blue Moon) หรือ ดวงจันทร์จะเต็มดวงรอบที่สองในเดือนเดียวกัน ซึ่งโดยปกติแล้วปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวง (Full Moon) จะเกิดขึ้นเพียงเดือนละ 1 ครั้งเท่านั้น หากเดือนไหนที่มีดวงจันทร์เต็มดวง 2 ครั้ง จะเรียกดวงจันทร์เต็มดวงในครั้งที่สองว่า “บลูมูน” ในภาษาอังกฤษมีสำนวนว่า Once in a blue moon หมายถึงนาน ๆ จะเห็นสักครั้ง หรือเปรียบได้กับคำว่า Rarely ในภาษาอังกฤษ
    ปรากฏการณ์บลูมูน เกิดขึ้นเนื่องจากใน 1 ปี มี 12 เดือน และบางเดือนมี 30 วัน บางเดือนมี 31 วัน แต่ว่ารอบของดวงจันทร์มีเพียง 29.53059 วันต่อเดือน และใน 1 ศตวรรษจะมีทั้งหมด 1200 เดือน โดยจะเกิดดวงจันทร์เต็มดวงได้ถึง 1236.83 ครั้ง แต่จะเป็นบลูมูนแค่ 36.83 ครั้ง เฉลี่ยแล้วประมาณ 2.72 ปีต่อครั้ง หรือประมาณ 3% ของฟูลมูน จะเป็นบลูมูน แต่ที่พิเศษกว่านั้นคือจะมีการเกิดบลูมูนปีละ 2 ครั้งในทุก ๆ 19 ปี ซึ่งปีล่าสุดที่เกิดบลูมูน 2 ครั้งซ้อนในหนึ่งปี (Double Blue Moons) ก็คือปี พ.ศ. 2542 และถัดไปคือปี พ.ศ. 2561
    สำหรับในวันที่ 31 สิงหาคม 2555 ผู้สังเกตจะเห็นดวงจันทร์เต็มดวง รอบที่สองในเดือนเดียวกันทางทิศตะวันออกเฉียงใต้เวลาประมาณ 18.18 น. โดยดวงจันทร์เต็มดวงอย่างสมบูรณ์เวลาประมาณ 20.57 น. และตกทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในเช้าของวันที่ 1 กันยายน 2555 เวลาประมาณ 05.37 น. ตามเวลาประเทศไทย ทั้งนี้ดวงจันทร์จะสว่างเต็มดวงเหมือนเช่นเคยโดยไม่เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินแต่ อย่างใด และเรายังสามารถสังเกตเห็นปรากฏการณ์ Blue Moon ครั้งต่อไปได้ในวันที่ 02 กรกฎาคม 2558
    [​IMG]ภาพ แสดงปฏิทินดวงจันทร์ของเดือนสิงหาคม 2555 จากแอพพลิเคชั่น Delux Moon HD จาก iPad โดยจะเห็นว่ามีปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวง 2 ครั้ง ในวันที่ 2 และ 31 สิงหาคม 2555 (อ้างอิงพิกัดผู้สังเกต จังหวัดเชียงใหม่)
     
  2. ปารามิตราราชาวดี

    ปารามิตราราชาวดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    93
    ค่าพลัง:
    +404
    มันไม่ใช่ขึ้น 15 ค่ำซะหน่อย.....แล้วทำไมมันเต็มดวงได้ล่ะคุณFalkman คะ(one-eye)
     
  3. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    หัวหน้า Falkman สั่งพิเศษมาให้ท่านครับ
    เฉพาะวันนี้เท่านั้น
    สำหรับท่านใช้แปลงร่างครับ
    หุ หุ ล้อเล่นครับ :boo:
    ดูให้ได้นะครับไม่งั้นต้องรอไปอีกหลายปี
    ถึงจะได้ดูพระจันทร์เต็มดวงเดือนละหลายๆหน
     
  4. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    พายุสุริยะ มหันตภัยใกล้ตัว

    ดูได้ที่นี่ครับ
    ดูแล้วจะหนาวขึ้นอีกเยอะ

    ขอบพระคุณ ท่องโลกกว้าง จาก Thai PBS ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 สิงหาคม 2012
  5. น้ำกับพายุ

    น้ำกับพายุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    358
    ค่าพลัง:
    +2,452
    31/08 สถานการณ์น้ำท่วมในรัฐมิสซิสซิปปี้ ยังน่าห่วง

    เจ้าหน้าที่ของรัฐหลุยเซียน่า มีคำสั่งอพยพประชาชนที่อาศัยอยู่ตามริมฝั่งแม่น้ำตันกิปาฮัว (Tangipahoa) ระหว่างเมืองเค้นท์วู้ดกับเมืองโรเบิร์ต ออกไปอยู่ในที่ปลอดภัย หลังมีความเป็นไปได้ว่าเขื่อนกั้นทะเลสาบตันกิปาฮัว ในรัฐมิสซิสซิปปีอาจแตกได้ เพราะได้รับความเสียหายจากพายุเฮอร์ริเคนไอแซคที่พัดถล่ม ส่งผลให้ระดับน้ำในทะเลสาบเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยมีรายงานว่าหากเขื่อนแตก จะมีประชาชนที่อาศัยอยู่บนสองฝั่งแม่น้่ำตันกิปาฮัว ได้รับผลกระทบถึง 60,000 คน โดยตัวเขื่อนตั้งอยู่ในเขตเปอร์ซี่ ควินน์ สเตท พาร์ค ห่างจากเมืองนิว ออร์ลีนส์ ไปทางเหนือเป็นระยะทางประมาณ 161 กิโลเมตร ล่าสุดกองกำลังป้องกันชาติ ได้ส่งเฮลิคอปเตอร์ขึ้นบินสำรวจเขื่อน ซึ่งหากเขื่อนแตก คาดการณ์ว่าน้ำจะไหลทะลักถึงเมืองเค้นท์วู้ดภายในเวลา 90 นาที
    (ผมว่า งานจะเข้าหรือเปล่าครับ เมกา)
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ตอนนี้จุดดับยุบยับมากเลย

    Daily Sun: 31 Aug 12 <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> [​IMG] <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> Sunspot complex 1562-1563 is crackling with C-class solar flares. Credit: SDO/HMI
     
  7. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    แผ่นดินไหวฟิลิปปินส์ 7.9
    ผู้รู้ทั้งหลาย ขอคำแนะนำครับ

    ทุกมิติครับ <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->โมฆะแมน
    มาคนเดียว ไปคนเดียว<!-- google_ad_section_end -->
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    บางเขน กทม. ท้องฟ้าปิดสนิท หมดสิทธิ์ ครับ
     
  9. pegaojung

    pegaojung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    1,720
    ค่าพลัง:
    +9,448
    ระยองก็มืดสนิท หมดสิทธิ์ดูเช่นกันค่ะ
     
  10. ปารามิตราราชาวดี

    ปารามิตราราชาวดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    93
    ค่าพลัง:
    +404
    ขอบคุณนะคะ ^^'.....แม้จะไม่ได้คำตอบ แต่ที่ประทุมธานีเห็นด้วยค่ะ...ทรงกลดเล็กๆอีกตะหาก...แหะ..แหะ .. ไม่มีภาพให้ดู เพราะถ่ายด้วยมือถือมันม่ะชัด :VO
     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Solar flares online

    <table class="day_2" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td width="1%"> [​IMG]
    </td> <td width="99%"> August 31, 2012

    Diagram of the solar flare activity

    X-ray emission of the Sun from 30.08.2012 to 31.08.2012 (GOES-15)
    [​IMG]

    Solar flares today

    Today, 7 solar flares were observed:

    <table class="table_4" cellpadding="0" cellspacing="0" width="750"> <tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th align="left" width="1%"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.5</td> <td class="center">1560</td> <td class="center">04:08:00</td> <td class="center">04:12:00</td> <td class="center">04:16:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.7</td> <td class="center">1563</td> <td class="center">04:46:00</td> <td class="center">04:51:00</td> <td class="center">04:55:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.9</td> <td class="center">1560</td> <td class="center">07:13:00</td> <td class="center">07:21:00</td> <td class="center">07:27:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.9</td> <td class="center">1560</td> <td class="center">09:04:00</td> <td class="center">10:04:00</td> <td class="center">10:19:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.3</td> <td class="center">1563</td> <td class="center">11:23:00</td> <td class="center">11:27:00</td> <td class="center">11:36:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.2</td> <td class="center">1564</td> <td class="center">14:06:00</td> <td class="center">14:14:00</td> <td class="center">14:23:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.1</td> <td class="center">1564</td> <td class="center">16:05:00</td> <td class="center">16:12:00</td> <td class="center">16:22:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> </tbody></table>
    Solar flares yesterday

    Yesterday, 12 solar flares were observed:

    <table class="table_4" cellpadding="0" cellspacing="0" width="750"> <tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th align="left" width="1%"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C3.4</td> <td class="center">1554</td> <td class="center">01:37:00</td> <td class="center">01:52:00</td> <td class="center">01:58:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C4.0</td> <td class="center">0</td> <td class="center">02:16:00</td> <td class="center">02:34:00</td> <td class="center">02:45:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.5</td> <td class="center">1563</td> <td class="center">04:48:00</td> <td class="center">04:53:00</td> <td class="center">04:59:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.3</td> <td class="center">0</td> <td class="center">06:03:00</td> <td class="center">06:10:00</td> <td class="center">06:36:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.6</td> <td class="center">1563</td> <td class="center">08:18:00</td> <td class="center">08:23:00</td> <td class="center">08:27:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C7.6</td> <td class="center">1554</td> <td class="center">08:31:00</td> <td class="center">09:12:00</td> <td class="center">09:16:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class M1.3</td> <td class="center">1563</td> <td class="center">12:02:00</td> <td class="center">12:11:00</td> <td class="center">12:14:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.6</td> <td class="center">0</td> <td class="center">18:59:00</td> <td class="center">19:03:00</td> <td class="center">19:06:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.0</td> <td class="center">0</td> <td class="center">19:14:00</td> <td class="center">19:20:00</td> <td class="center">19:27:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.6</td> <td class="center">0</td> <td class="center">19:49:00</td> <td class="center">19:58:00</td> <td class="center">20:11:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.6</td> <td class="center">0</td> <td class="center">20:35:00</td> <td class="center">20:39:00</td> <td class="center">20:45:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C3.8</td> <td class="center">1563</td> <td class="center">21:34:00</td> <td class="center">21:44:00</td> <td class="center">21:49:00</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ขอตอบ แทนท่าน Falkman ครับ :

    คุณปารามิตราราชาวดี เนื่องจากปีนี้มีเดือนแปด 2หน(ซึ่งจะครบรอบทุก 3 ปีโดยประมาณ)

    แบบสั้นๆ ( ไม่งง )

    ระบบของไทยเป็นจัทรคติ 1 ปีมี 12 เดือน เท่ากับ 360 วัน ในขณะที่วันระบบสุริยคติแบบเกรกอเรียนแบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้จะมี 365.2425 วัน(โดยเฉลี่ย) ระบบของไทยจึงชดเชยด้วยการเพิ่มเดือนแปดเข้าไปในบางปีครับ นอกจากนี้ในบางกรณีจะมีการปรับวันออก เนื่องจากเดือนหนึ่งความจริงแล้วจะมีเกือบๆ 30 วัน ทำให้วันเพ็ญบางครั้งจะพบว่าพระจันทร์ไม่เต็มดวง

    แบบยาวๆ อ่านแล้วงง ( ล้อเล่นครับ )

    วิชาการ.คอม - ปีไหนมีเดือนแปดสองหน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กันยายน 2012
  13. ปารามิตราราชาวดี

    ปารามิตราราชาวดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    93
    ค่าพลัง:
    +404
    ขอขอบคุณมากๆเลย....ยังสงสัยว่าจะได้คำตอบมั้ย....สุดท้ายก้อได้ ^^....
    หายข้องใจ...ได้ความรู้ใหม่จิงๆ ....^^....; 41
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    แม้ว่าจะขึ้น 5 ค่ำ หรือแรม 3ค่ำ แต่ในแต่ละเดือน แต่ละปี อาจเห็นรูปร่างขนาดของดวงจันทร์ไม่เท่ากัน เพราะวงโคจรและตำแหน่งบนท้องฟ้าเปลี่ยนไปครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    วันที่ 31 สิงหาคม เกิดพายุสุริยะระดับรุนแรงที่สุดในรอบปีนี้ ทิศทางรอบด้าน ส่งพลังงานบางส่วนมาในแนวเดียวกับโลกซึ่งคาดว่าโลกจะได้รับผลกระทบหลายรูป แบบ ซึ่งมีโอกาสสูงที่จะอยู่ในระดับรุนแรงระหว่างวันที่ 1-4 กันยายน ดังนั้นผู้ทำงานรับมือสถานการณ์ฉุกเฉิน และการเตือนภัยโปรดติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด พี้นที่เสี่ยงภัยมากเป็นพิเศษได้แก่ประเทศในแนวมหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทร แปซิฟิกด้านฝั่งเอเซียแนว ring of fire โดยเฉพาะทางใต้ รองลงมาคือบริเวณอเมริกากลาง-ใต้ ส่วนผู้ที่อาศัยในบริเวณอื่นๆก็โปรดติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ขิดเช่นกัน



    update1 : จากโมเคลพบว่าพลังงานดังกล่าวจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 2 กันยายน เวลา 0 UTC +/- 7 ชั่วโมง
    (เสาร์ที่ 2 กันยายน ประมาณตั้งแต่ 7 โมงเช้า +/7 ชั่วโมง)



    update2 : จากโมเดลในเวป noaa คาดการณ์ว่า CME จะเดินทางมาถึงโลกวันที่ 3 กันยายน เวลาประมาณ 16 UTC
    (จันทร์ที่ 3 กันยา ห้าทุ่ม)



    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]


    จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงเดือน สิงหาคม คศ 2012 : update 1 กันยายน เวลา 12:19 UTC | Truth4Thai.org



    [​IMG]
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    MAGNIFICENT ERUPTION: A filament of magnetism curling around the sun's southeastern limb erupted on August 31st, producing a coronal mass ejection (CME), a C8-class solar flare, and one of the most beautiful movies ever recorded by NASA's Solar Dynamics Observatory:

    [​IMG]
    The explosion hurled a CME away from the sun traveling faster than 500 km/s (1.1 million mph). The cloud, shown here, is not heading directly toward Earth, but it will deliver a glancing blow to our planet's magnetic field. NOAA forecasters estimate a 40% chance of strong polar geomagnetic storms when the cloud arrives on Sept. 3rd.



    เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม มีการระเบิดอย่างสวยงามของดวงอาทิตย์ ก่อให้เกิด CME Class C8 ,มันเป็นการระเบิดที่สวยงามที่สุดตั้งแต่ดาวเทียม SDO ของนาซ๋าได้มีการบันทึกมา CME มีความเร็ว 500km/s หรือ 1.1 ล้านไมล์/ชั่วโมง ยังไม่พอมันยังวิ่งมายังโลกอีกด้วย มาถึงประมาณวันที่ 3 กันยา :boo:


    Solar flares online

    <table class="day_2" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td width="1%"> [​IMG]
    </td> <td width="99%"> September 1, 2012

    Diagram of the solar flare activity

    X-ray emission of the Sun from 31.08.2012 to 01.09.2012 (GOES-15)
    [​IMG]

    Solar flares today

    Today, 5 solar flares were observed:

    <table class="table_4" cellpadding="0" cellspacing="0" width="750"> <tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th align="left" width="1%"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C3.4</td> <td class="center">1554</td> <td class="center">00:28:00</td> <td class="center">00:39:00</td> <td class="center">00:49:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.5</td> <td class="center">1553</td> <td class="center">17:33:00</td> <td class="center">17:37:00</td> <td class="center">17:48:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.9</td> <td class="center">1554</td> <td class="center">18:23:00</td> <td class="center">18:28:00</td> <td class="center">18:34:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.2</td> <td class="center">1564</td> <td class="center">18:54:00</td> <td class="center">19:02:00</td> <td class="center">19:12:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.9</td> <td class="center">1553</td> <td class="center">19:39:00</td> <td class="center">19:45:00</td> <td class="center">20:29:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> </tbody></table>
    Solar flares yesterday

    Yesterday, 8 solar flares were observed:

    <table class="table_4" cellpadding="0" cellspacing="0" width="750"> <tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th align="left" width="1%"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.5</td> <td class="center">1560</td> <td class="center">04:08:00</td> <td class="center">04:12:00</td> <td class="center">04:16:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.7</td> <td class="center">1563</td> <td class="center">04:46:00</td> <td class="center">04:51:00</td> <td class="center">04:55:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.9</td> <td class="center">1560</td> <td class="center">07:13:00</td> <td class="center">07:21:00</td> <td class="center">07:27:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.9</td> <td class="center">1560</td> <td class="center">09:04:00</td> <td class="center">10:04:00</td> <td class="center">10:19:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.3</td> <td class="center">1563</td> <td class="center">11:23:00</td> <td class="center">11:27:00</td> <td class="center">11:36:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.2</td> <td class="center">1564</td> <td class="center">14:06:00</td> <td class="center">14:14:00</td> <td class="center">14:23:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.1</td> <td class="center">1564</td> <td class="center">16:05:00</td> <td class="center">16:12:00</td> <td class="center">16:22:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C8.4</td> <td class="center">1562</td> <td class="center">19:45:00</td> <td class="center">20:43:00</td> <td class="center">21:51:00</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  18. ปารามิตราราชาวดี

    ปารามิตราราชาวดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    93
    ค่าพลัง:
    +404
    มาถึงวันนี้นี่หน่า....ระเบิดดีจิงๆคุณพี่พระอาทิตย์เนี่ย:'(
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ตอนนี้ กำลังมีพายุแม่เหล็กโลก (Geomagnetic storm) ระดับ kp=4 และคาดการณ์จากโมเคล MAK น่าจะถึงระดับ kp>6

    [FONT= ]Automated alert if the MAK model forecasts K>6[/FONT]​
    [FONT= ][/FONT]
    <table style="width: 879px; border-collapse: collapse; font-family: 'Trebuchet MS, Verdana, Arial', sans-serif; font-size: 12px; letter-spacing: normal; orphans: 2; text-indent: 0px; text-transform: none; widows: 2; word-spacing: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px; " border="1" cellpadding="3"><tbody><tr><td>Source</td><td>SIDC (RWC Belgium)</td></tr><tr><td>Frequency</td><td>ASAP, when the MAK model forecasts K>6</td></tr><tr><td>Format</td><td>Plain text</td></tr><tr><td>Mail header</td><td>advance alert: enhanced geomagnetic activity warning</td></tr><tr><td>SIDC code</td><td>MAKalert</td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...