แผนที่ประเทศไทยกับ world change และความเป็นไปได้

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย mead, 5 มกราคม 2007.

  1. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE width="90%" align=center><TBODY><TR><TD width=510 colSpan=2>เขื่อนที่สำคัญของประเทศไทย</TD></TR><TR><TD width=510 colSpan=2>

    </TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนภูมิพล (เขื่อนยันฮี)
    เป็นเขื่อนคอนกรีตขนาดใหญ่กั้นลำน้ำปิง สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2507 ตั้งอยู่ที่อำเภอสามเงา จ.ตาก

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนเจ้าพระยา
    กั้นลำน้ำเจ้าพระยา ที่ ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท เป็นเขื่อนทดน้ำขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนศรีนครินทร์ (เขื่อนเจ้าเณร)
    เป็นเขื่อนดินกั้นแม่น้ำแควใหญ่ในเขตอำเภอศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี สร้างเสร็จในปี
    พ.ศ.2522

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนสิริกิติ์ (เขื่อนผาซ่อม)
    เป็นเขื่อนกั้นแม่น้ำน่านที่ผาซ่อม อ.ท่าปลา
    จ.อุตรดิตถ์

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนอุบลรัตน์ (เขื่อนพองหนีบ)
    เป็นเขื่อนดิน สร้างปิดกั้นแม่น้ำพอง สร้างเสร็จในปี พ.ศ.2509 ตั้งอยู่ที่ ต.โคกสูง อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนวชิราลงกรณ์
    เป็นเขื่อนทดน้ำ กั้นลำน้ำแม่กลองที่ ต.ม่วงชุม อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี ใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูก

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนสิรินธร (เขื่อนลำโดมน้อย)
    เป็นเขื่อนคอนกรีตกั้นแม่น้ำลำโดมน้อย ต.คันไร่ อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี สร้างเสร็จในปี พ.ศ.2514

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนจุฬาภรณ์ (เขื่อนน้ำพรม)
    กั้นลำน้ำพอง ต.ทุ่งพระ อ.ดอนสาน จ.ชัยภูมิ สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2516

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนแก่งกระจาน
    เป็นเขื่อนดินกั้นแม่น้ำเพชรบุรีที่ ต.สองพี่น้อง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี สร้างเสร็จเมื่อปี
    พ.ศ.2509

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนปราณบุรี
    กั้นแม่น้ำปราณบุรี ในเขตอำเภอ ปราณบุรี
    จ.ประจวบคีรีขันธ์

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนกิ่วลม
    เป็นเขื่อนคอนกรีต กั้นแม่น้ำวังที่อ.เมือง
    จ.ลำปาง

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนลำปาว
    เป็นเขื่อนดินที่กั้นลำน้ำปาว และห้วยยางที่เขตติดต่อ อ.สหัสขันธ์ อ.ยางตลาดและอำเภอเมือง จ.กาฬสินธุ์

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนน้ำอูน
    เป็นเขื่อนดิน กั้นแม่น้ำอูน ในอำเภอพังโคน
    จ.สกลนคร

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนลำพระเพลิง
    เป็นเขื่อนดิน กั้นแม่น้ำลำพระเพลิงใน
    อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา สร้างเสร็จ
    พ.ศ.2510

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนลำตะคอง
    เป็นเขื่อนดิน กั้นแม่น้ำลำตะคองในอำเภอสีคิ้ว จ.นครราชสีมา สร้างเสร็จปี พ.ศ.2512

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="80%">เขื่อนน้ำพุง
    กั้นลำน้ำพุงบนเทือกเขาภูพาน อ.กุดบาก
    จ.สกลนคร สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2508

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​


    <TABLE width="90%" align=center><TBODY><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="13%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top width="85%">เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
    กั้นแม่น้ำป่าสัก ที่อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี และอำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี สูง 31.50 เมตร สันเขื่อนยาว 4, 860 เมตร

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="14%">[​IMG]


    </TD><TD vAlign=top width="84%">เขื่อนห้วยหลวง
    กั้นลำน้ำห้วยขวาง ในเขต จ.อุดรธานี


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="13%">
    [​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="86%">เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล
    ที่ตั้ง : ลำน้ำแม่งัด สาขาแม่น้ำปิง อ.แม่แตง
    จ.เชียงใหม่ กำลังการผลิตกระแสไฟฟ้า 9 ล้านวัตต์



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="14%">


    </TD><TD vAlign=top width="85%">เขื่อนลำแซะ
    กั้นลำแชะ ตั้งอยู่ที่ ตำบลโคกกระชาย อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา สันเขื่อนยาว 2,400 เมตร กว้าง 8 เมตร เก็บน้ำได้ 275 ล้านลูกบาศก์เมตร

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="13%">[​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="86%">เขื่อนรัชชประภา
    ที่ตั้ง : แม่น้ำคลองแสง อ.เชี่ยวหลาน
    จ.สุราษฎร์ธานี ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ปีละ
    : 550 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="12%">[​IMG]


    </TD><TD vAlign=top width="87%">เขื่อนนเรศวร
    ที่ตั้ง : แม่น้ำน่าน อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="14%">[​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="85%">เขื่อนท่าทุ่งนา
    ที่ตั้ง แม่น้ำแควใหญ่ตอนล่าง อ.เมือง
    จ.กาญจนบุรี กำลังการผลิตกระแสไฟฟ้า : 38 ล้านวัตต์


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="13%">[​IMG]


    </TD><TD vAlign=top width="85%">เขื่อนกระเสียว
    อยู่ใน จ.สุพรรณบุรี เก็บน้ำได้เพื่อใช้ในการชลประทาน และบรรเทาอุทกภัยให้แก่พื้นที่ในเขตโครงการสามชุก

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="14%">[​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="84%">เขื่อนพระรามหก
    เป็นเขื่อนทดน้ำแห่งแรกของประเทศไทย ทำพิธีเปิดเมื่อ พ.ศ.2467 กั้นแม่น้ำป่าสัก ต.ไก่ขัน อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="16%">[​IMG]


    </TD><TD vAlign=top width="82%">เขื่อนนายก
    กั้นแม่น้ำนครนายก ที่ท่าหุบ อ.เมือง
    จ.นครนายก เพื่อทดน้ำส่งในเขตโครงการนครนายก

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="15%">[​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="83%">เขื่อนบางลาง
    กั้นแม่น้ำปัตตานี จ.ปัตตานี เป็นเขื่อนอเนกประสงค์


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="11%">


    </TD><TD vAlign=top width="88%">เขื่อนลำนางลอง
    เป็นส่วนหนึ่งของโครงการลำนางรอง เป็นโครงการอันมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เก็บกักน้ำได้ 150 ล้านลูกบาศก์เมตร

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="15%">[​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="83%">เขื่อนเพชร
    เป็นเขื่อนทดน้ำ กันแม่น้ำเพชรบุรี ต.ท่าคอย
    อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ส่งทดน้ำในเขตโครงการเพชรบุรี


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="10%">[​IMG]


    </TD><TD vAlign=top width="88%">เขื่อนเขาแหลม
    แม่น้ำแควน้อย อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ปีละ : 760 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="50%"></TD><TD width="50%"></TD></TR><TR><TD width="50%"><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width="16%">[​IMG]



    </TD><TD vAlign=top width="82%">เขื่อนน้ำงึม
    กั้นแม่น้ำโขง เขต จ.หนองคาย เป็นโครงการกักเก็บน้ำอเนกประสงค์แห่งแรกในราชอาณาจักรลาว ดำเนินงานโดย "คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่งเอเชียตะวันออกไกลขององค์การสหประชาชาติ"


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    ที่มา http://theyoung.net/knowledge/knowlege_inthailand/dam_of_thailand2.htm
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มกราคม 2007
  2. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    นอกจากคัมภีร์ของแต่ละศาสนาแล้ว ก็จากประสบการณ์ส่วนตัวเฉพาะคนครับ
    เขาเคยเดินทางมารับขัอมูลจากองค์เทพในเมืองไทยด้วยครับคุณซิปเปอร์
    คือคนที่รู้ก็มีหน้าที่ไปหาเงินครับ บางคนทำงานเกี่ยวกับการเงินอยู่แล้ว คนแถบตะวันออกกลางก็มีครับที่จะร่วมด้วย เรียกว่าเบิ้องบนคอยจัดสรรคนที่เกี่ยวข้องไว้ให้ครับ งานนี้ แต่เศรษฐกิจบ้านเราเป็นแบบนี้ Bank ต่างชาติอาลชะลอการลงทุนได้ครับ..อาจต้องลุ้นอีกสักพัก ตอนนี้ผมกันเพื่อนก็ช่วยกันออกแบบโครงการโดยรับข้อมูลจากเบื้อนบนเท่าที่จะทำได้ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  3. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR class=link_orange><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">ภูมิประเทศ </TD><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">ภูมิอากาศ </TD><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">ประวัติศาสตร์ </TD></TR><TR class=link_orange><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">ไทยหรือสยาม </TD><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">ชนชาติไทย </TD><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">เศรษฐกิจ </TD></TR><TR class=link_orange><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">การเมืองการปกครอง </TD><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">ประชากร และอาชีพ </TD><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">ศาสนา </TD></TR><TR class=link_orange><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">โครงสร้างของสังคมไทย </TD><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">วัฒนธรรมและประเพณี </TD><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">เอกลักษณ์ไทย </TD></TR><TR class=link_orange><TD class=link_orange width="1%">[​IMG]</TD><TD class=link_orange width="32%">แผนที่ประเทศไทย </TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG] <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD></TD><TD vAlign=top>ที่ตั้ง
    ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อย หรือระหว่างเส้นละติจูดหรือเส้นรุ้งที่ 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ กับ 20 องศา 27 ลิปดาเหนือ และระหว่างลองจิจูด[​IMG]หรือเส้นแวงที่ 97 องศา 22 ลิปดาตะวันออก กับ 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก

    สำหรับที่ตั้งของประเทศไทยตามแนวลองจิจูดนั้น ประเทศไทยยึดเอาลองจิจูดที่ 105 องศาตะวันออกเป็นเวลามาตรฐาน ทำให้ประเทศไทยมีเวลาแตกต่างจากเวลามาตรฐานกรีนิช 7 ชั่วโมง การติดต่อในเชิงธุรกิจกับประเทศใด ๆ มีความจำเป็น ที่จะต้องรู้เวลาของประเทศนั้นว่า แตกต่างจากเวลาในประเทศไทยกี่ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความสะดวกและทันเวลา เช่น ประเทศญี่ปุ่นมีเวลาที่เร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง จีน มาเลเซีย มีเวลาเร็วกว่าไทย 1 ชั่วโมง ประเทศสหรัฐอเมริกา มีเวลาตรงกันข้ามกับไทย

    รูปร่าง
    ประเทศไทยมีรูปร่างเหมือนขวานโบราณ กระบวยตักน้ำ ช่อดอกไม้ หรือม้าน้ำ แต่นักการทหารมองว่าเหมือน "หัวช้าง" โดยส่วนหัวช้าง คือ ภาคเหนือ ส่วนงวง คือ ภาคใต้ ส่วนที่เป็นปาก ได้แก่ บริเวณอ่าวไทย ที่ราบลุ่มเจ้าพระยา และชายฝั่ง ตะวันออก ส่วนหูช้าง คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    ด้วยลักษณะรูปร่างดังกล่าว จัดว่ามีข้อด้อยอยู่หลายประการ เช่น รูปร่างที่ยาวเรียวลงไปทางใต้ [​IMG]ทำให้เสียเวลาในการเดิน ทาง และค่าใช้จ่ายในการสร้างเส้นทางคมนาคม รวมถึงการดูแลรักษาประเทศ เช่น การป้องกันชายฝั่งทะเลที่ยาวเหยียด ทั้งสองด้าน นอกจากนี้รูปร่างที่ยื่นออกไปหรือถูกขนาบด้วยประเทศเพื่อนบ้าน ทำให้มีปัญหาบริเวณชายแดนอยู่ตลอดเวลา เช่น มีการอพยพโยกย้ายถิ่นเข้ามาโดยไม่ได้รับอนุญาต ปัญหาก่อการร้ายและยาเสพติด ซึ่งเป็นเรื่องที่ทำให้ต้องระมัด ระวังเป็นพิเศษ

    ขนาด
    ตามการแบ่งขนาดของประเทศทางภูมิศาสตร์การเมือง ไทยจัดเป็นประเทศขนาดใหญ่ อันดับที่ 3 ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ประกอบด้วย อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ลาว กัมพูชา บรูไน สิงคโปร์) รองจาก อินโดนีเซียและพม่า ใหญ่กว่าลาวประมาณ 2 เท่า ใหญ่กว่ากัมพูชาประมาณ 3 เท่า และมีขนาดใกล้เคียงกับประเทศ ฝรั่งเศส หรือมลรัฐเท็กซัสของสหรัฐอเมริกา *มีพื้นที่ 513,115.020 ตารางกิโลเมตร หรือ 320,696,887.500 ไร่ (*ข้อมูลพื้นที่จากอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 6 ภาคผนวก พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2529) หรือ ประมาณ 198,953 ตารางไมล์

    การที่ประเทศไทยมีขนาดใหญ่ มีข้อดีในเรื่องของประเภทและปริมาณทรัพยากรธรรมชาติ ความลึกของพื้นที่ทำให้ได ้เปรียบในด้านการป้องกันประเทศ การมีประชากรจำนวนมาก มีผลดีในเรื่องของการใช้แรงงานและความคิด ส่วนความ แตกต่างทางวัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาค ส่งผลให้มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลายขึ้น

    แนวพรมแดน
    มีความยาวของพรมแดนทางบก 5,326 กิโลเมตร ความยาวทางทะเลฝั่งอ่าวไทย 1,840 กิโลเมตร และความยาว ทางฝั่งทะเลอันดามัน 865 กิโลเมตร ความยาวจาก อ.แม่สาย จ.เชียงราย ถึง อ.เบตง จ.ยะลา ซึ่งเป็นจุดเหนือสุดและใต้สุด ของประเทศ ระยะทาง 1,640 กิโลเมตร และความกว้างจากด่านเจดีย์สามองค์ อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี ถึงช่องเม็ก อ.สิรินธร จ.อุบลราชธานี ระยะทาง 780 กิโลเมตร

    ส่วนที่แคบที่สุด อยู่ในเขต จ.ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งวัดจากพรมแดนสหภาพพม่า ที่ทิวเขาตะหนาวศรีถึงฝั่งทะเลอ่าว ไทย ที่บ้านวังด้วน ต.ห้วยทราย อ.เมือง ตามแนวละติจูด 11 องศา 43 ลิปดา เหนือ เป็นระยะทาง 10.96 กิโลเมตร ตรง บริเวณที่ตั้งของจังหวัดระนอง และจังหวัดชุมพร ตามแนวละติจูด 10 องศา เหนือ ถือได้ว่าเป็นส่วนแคบที่สุดของพื้นที่ แผ่นดินที่เป็นภาคใต้ของไทย [​IMG]และเป็นจุดตั้งต้นของคาบสมุทรมลายู บริเวณพื้นที่ส่วนนั้นเรียกว่า คอคอดกระ มีความ กว้าง 64 กิโลเมตร โดยวัดจากฝั่งแม่น้ำกระบุรี ใน อ.เมือง จ.ระนองถึงฝั่งทะเลอ่าวไทย อ.หลังสวน จ.ชุมพร

    ประเทศไทยมีแนวพรมแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านถึง 4 ประเทศ ได้แก่ พรมแดนด้านพม่า (เมียนมาร์) ยาว 2,202 กิโลเมตร พรมแดนด้านลาว 1,750 กิโลเมตร พรมแดนด้านกัมพูชายาว 798 กิโลเมตร พรมแดนด้านมาเลเซีย 576 กิโลเมตร โดยที่แนวพรมแดนส่วนใหญ่ยึดเอาแนวสันปันน้ำของภูเขา ทางน้ำหรือลำน้ำบริเวณแนวกลางของร่องน้ำที่ไหล แรงที่สุด เรียกว่า ร่องน้ำลึก ยกเว้นพรมแดนในแม่น้ำโขงที่ฝรั่งเศสให้ถือเอาเกาะแก่งเป็นของลาวทั้งหมด แม้ว่าจะอยู่ ใกล้ฝั่งไทย (ยกเว้น 8 เกาะ)์


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="95%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=10></TD><TD width=20>1.</TD><TD>แนวพรมแดนระหว่างไทย-สหภาพพม่า หรือเมียนมาร์ ความยาว 2,202 กิโลเมตร ทอดไปตามร่องน้ำลึกของแม่น้ำ รวก แม่น้ำสาย ทิวเขาแดนลาว แม่น้ำสาละวิน แม่น้ำเมย ทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาตะนาวศรี และแม่น้ำกระบุรี (ปากจั่น) อยู่ในเขตพื้นที่ จ.เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และระนอง
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=10></TD><TD width=20>2.</TD><TD>แนวพรมแดนระหว่างไทย-สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ความยาว 1,750 กิโลเมตร ทอดไปตามร่องน้ำลึก ของแม่น้ำโขงตอนบน แม่น้ำเหืองงา แม่น้ำเหือง และแม่น้ำโขงตอนล่าง และทอดไปตามสันปันน้ำในทิวเขาหลวงพระบาง ทางตอนเหนือ และสันปันน้ำในทิวเขาภูแดนลาวทางตอนใต้ อยู่ในเขต จ.เชียงราย พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อุบลราชธานี
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=10></TD><TD width=20>3.</TD><TD>แนวพรมแดนระหว่างไทย-ราชอาณาจักรกัมพูชา ความยาวประมาณ 798 กิโลเมตร นับจากอ่าวไทยทอดไปตามทิวเขา บรรทัด แม่น้ำไพลิน (หรือห้วยเขมร) คลองลึก คลองด่าน คลองน้ำใส ที่ราบแนวเส้นตรงคลองปากอ้าว (ปากอ่าว) และทิว เขาพนมดงรัก ในเขต จ.ตราด จันทบุรี สระแก้ว บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=10></TD><TD width=20>4.</TD><TD>แนวพรมแดนระหว่างไทย-สหพันธรัฐมาเลเซีย ความยาว 576 กิโลเมตร ทอดไปตามสันปันน้ำของทิวเขาสันกาลาคีรี ร่องน้ำลึกของแม่น้ำโก-ลก ในเขต จ.สตูล สงขลา ยะลา และนราธิวาส แนวพรมแดนแสดงความเป็นอธิปไตยเหนือพื้นที่ บริเวณนั้น แนวพรมแดนทางธรรมชาติ เหมาะสำหรับกีดขวาง ช่วยในการป้องกันข้าศึกรุกราน แต่ขัดขวางด้านการ คมนาคม ติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างมิตรประเทศ ในปัจจุบันนี้แนวพรมแดนจัดว่าเป็นแหล่งเศรษฐกิจ ที่สำคัญของประเทศ เพราะเปิดตลาดทำการค้าขายกันหลายแห่งกลายเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยว เพราะมีจุดชมวิวที่ สวยงามด้วย บางแห่งมีประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ โดยทั่วไปเป็นจุดที่อยู่ตรงช่องเขาหรือมีแม่น้ำ กั้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ลักษณะภูมิประเทศโดยรวมของไทยประกอบด้วย เทือกเขา ป่าไม้ เนินเขา ที่ราบสูง ที่ราบหุบเขา ที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ ใหญ่หลายสาย ทะเล ชายหาด และเกาะแก่งต่าง ๆ

    การแบ่งภาคทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยตามที่กำหนดไว้ในอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย ของราชบัณฑิตสถาน เล่ม 1 ปี 2525 หน้า 3-18 แบ่งออกเป็น 6 ภาค และมีขนาดของพื้นที่ในแต่ละจังหวัดเป็นตารางกิโลเมตร โดยประมาณ

    ดาวน์โหลดแผนที่ประเทศไทยขนาดใหญ่ (11Mb)
    http://203.78.109.3/my_documents/Map/2006418ZCBE_thailand.jpg

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    ที่มา http://www.tat.or.th/thaidetail.asp
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มกราคม 2007
  4. aew.st

    aew.st เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    66
    ค่าพลัง:
    +461
    คุณ mead ค่ะอยากทราบเรื่องเขื่อนทางภาคเหนือค่ะว่าจะมีโอกาสพังหรือเปล่าค่ะเพราะว่าทางภาคเหนือจะเสี่ยงเรื่องแผ่นดินไหวใช่ไหมคะ เพราะว่าถ้าเขื่อนพังจะอันตรายมากในตัวเมืองและทางน้ำไหล เพราะว่าขนาดแค่ฝายกั้นน้ำพังยังเดือดร้อนกันมากเลยคะ เพราะว่าเป็นที่สูงน้ำจะไหลเร็วมาก และอีกเรื่องหนึ่งดิฉันก็ชอบอ่านหนังสือของ อ. ปริญญา ด้วยค่ะ ไม่ทราบว่าตอนนี้มีถึงซีรีส์ไหนแล้วคะ ดิฉันมีประมาณ 6 เล่ม ถึงซีรี่ส์ 13 แล้วก็คัมภีร์นิพพานด้วยคะ ขอบคุณล่วงหน้านะคะ
     
  5. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
    [​IMG]

    <TABLE><TBODY><TR><TD>ภูมิรัฐศาสตร์



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    ลักษณะภูมิประเทศ
    [SIZE=-1] ลักษณะภูมิประเทศของไทย แบ่งออกได้เป็น ๔ ลักษณะคือ[/SIZE]
    <CENTER>[​IMG]

    </CENTER>
    [SIZE=-1] พื้นที่ราบอันกว้างใหญ่ภาคกลาง แบ่งออกได้เป็นสองประเภทคือที่ราบดินตะกอน และที่ราบซึ่งเกือบไม่มีดินตะกอนเลย[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบใหญ่ภาคกลาง มีขนาดกว้าง ประมาณ ๕๐ - ๑๕๐ กิโลเมตร ยาวประมาณ ๓๐๐ กิโลเมตร แบ่งออกได้เป็น ๕ ตอนด้วยกันคือ[/SIZE]
    [SIZE=-1] ตอนบน เป็นพื้นที่ราบ ซึ่งมีลักษณะเป็นลุ่มแอ่งน้อย ๆ ตั้งอยู่ในระหว่างย่านภูเขาทางเหนือ มีทิวเขาถนนธงชัยอยู่ทางด้านทิศตะวันตก และทิวเขาเพชรบูรณ์อยู่ทางด้านทิศตะวันออก พื้นที่ตอนกลางระหว่างทิวเขาทั้งสองเป็นที่ลุ่ม มีระดับสูงประมาณ ๓ - ๔ เมตร จากระดับน้ำทะเล แต่ทางตอนใต้บริเวณ จังหวัดชัยนาท เป็นที่ค่อนข้างดอน มีความสูงประมาณ ๑๘ เมตร จากระดับน้ำทะเล[/SIZE]
    [SIZE=-1] ตอนล่าง เป็นพื้นที่ราบ ซึ่งมีความลาดจาก จังหวัดชัยนาทลงไปทางใต้ ลงสู่ทะเลที่อ่าวไทยพื้นที่ต่ำสุดอยู่ตอนกลาง ซึ่งเป็นรางของลำน้ำ พื้นที่ทางด้านทิศตะวันออก และทิศตะวันตก จะมีความลาดลงมาน้อย ๆ จากแนวทิวเขา มีระดับสูง ๑๘ เมตร ที่ชัยนาท ๔ เมตรที่อยุธยา และ ๑.๘ เมตรที่กรุงเทพ ฯ[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบลุ่มแม่น้ำป่าสัก เป็นที่ราบแคบ ๆ ในภาคกลาง คั่นอยู่ระหว่างที่ราบใหญ่ภาคกลาง กับที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นที่ราบแคบ ๆ และยาวอยู่ระหว่างหุบเขาของทิวเขาเพชรบูรณ์ กับทิวเขาเลย[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบภาคตะวันออก เป็นที่ราบซึ่งคั่นระหว่างภาคกลางของไทยกับประเทศเขมร แบ่งออกได้เป็น ๒ ส่วนคือ[/SIZE]
    [SIZE=-1] ตอนบน คือที่ราบปราจีนบุรี เป็นที่ราบลุ่มน้ำบางปะกง มีลักษณะเป็นชานของที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงค่อนข้างจะเป็นที่ดอนเล็กน้อย อยู่ระหว่างทิวเขาสันกำแพง ทิวเขาพนมดงรัก กับทิวเขาบรรทัด ตอนแคบที่สุดกว้างประมาณ ๓๐ กิโลเมตร ที่ช่องวัฒนา[/SIZE]
    [SIZE=-1] ตอนล่าง เป็นที่ราบชายฝั่งทะเลตะวันออก เป็นที่ราบแคบ ๆ อยู่ระหว่างทิวเขาบรรทัดกับฝั่งทะเล เป็นที่ราบที่ลาดลงสู่ฝั่งทะเล ในเขตสี่จังหวัด คือ ชลบุรี จันทบุรี ระยอง และตราด[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบลุ่มน้ำแม่กลอง และแม่น้ำเพชรบุรี เป็นที่ราบทางตะวันตกเฉียงใต้ของภาคกลาง ทางด้านทิศตะวันตกมีภูเขาตะนาวศรี ทางด้านทิศตะวันออก ตอนจังหวัดนครปฐมถึงอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นเนินกับระหว่างที่ราบใหญ่ภาคกลางกับที่ราบลุ่มแม่กลอง[/SIZE] <CENTER>[​IMG]

    </CENTER>
    [SIZE=-1] ที่ราบในย่านภูเขาภาคเหนือ ประกอบด้วยที่ราบหลายผืน เป็นที่ราบระหว่างทิวเขา ทำให้มีพื้นที่ไม่ติดต่อถึงกัน ที่สำคัญได้แก่[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบเชียงใหม่ มีความสูงประมาณ ๓๐๐ เมตร[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบเชียงราย มีความสูงประมาณ ๔๐๐ เมตร[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบแพร่ มีความสูงประมาณ ๒๐๐ เมตร[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบน่าน มีความสูงประมาณ ๒๐๐ เมตร[/SIZE] <CENTER>[​IMG]

    </CENTER>
    [SIZE=-1] ที่ราบสูงตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสูง ประมาณ ๒๐๐ - ๓๐๐ เมตร อยู่ในวงล้อมของทิวเขาเป็นที่ราบอันกว้างใหญ่อีกผืนหนึ่ง มีพื้นที่ประมาณ ๑๕๔,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร แบ่งออกได้เป็นสองตอนคือ[/SIZE]
    [SIZE=-1] ตอนบน ได้แก่พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง[/SIZE]
    [SIZE=-1] ตอนล่าง ได้แก่พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำมูล[/SIZE] <CENTER>[​IMG]

    </CENTER>
    [SIZE=-1] ที่ราบภาคใต้ ภาคใต้อยู่บนแหลมแคบ ๆ ที่มีความกว้างที่สุดไม่เกิน ๒๐๐ กิโลเมตร และส่วนที่แคบที่สุด ประมาณ ๖๐ กิโลเมตร ตอนกลางของแหลมเป็นทิวเขาโดยตลอด จึงมีที่ราบชายฝั่งทะเลผืนแคบ ๆ เป็นตอน ๆ ไม่ติดต่อกัน ที่สำคัญ ได้แก่[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบบ้านดอน[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบพัทลุง[/SIZE]
    [SIZE=-1] ที่ราบตานี[/SIZE]
    [SIZE=-1] นอกจากนี้ก็เป็นที่ราบแคบ ๆ ริมฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย และด้านทะเลอันดามัน[/SIZE]
    [SIZE=-1] ภูเขาและทิวเขา ลักษณะของทิวเขาเกือบจะขนานกัน ส่วนใหญ่มีแนวจากทิศเหนือลงใต้แบบเดียวกันทุกภาค ภูเขาในประเทศไทยมีอยู่ไม่หนาแน่นมากนัก ที่มีทิศทางขวางก็มีอยู่บ้างแต่ไม่มากนัก[/SIZE]
    [SIZE=-1] ภูเขาหิน มีอยู่ทั่วไป มีลักษณะติดต่อกันเป็นทิวใหญ่ เช่นทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาตะนาวศรี ภูเขาหินแบ่งออกเป็นสองชนิดคือ ชนิดหินแกรนิต เป็นหินแข็งแกร่ง มักมีลักษณะยอดไม่ใคร่แหลมชลูด มีลาดไม่ชันนัก มีน้ำอยู่ทั่วไปจึงมีป่าไม้ขนาดสูงขึ้นปกคลุม ทิวเขาชนิดนี้มีอยู่ในภาคเหนือและภาคใต้เป็นส่วนมาก ส่วนภูเขาชนิดหินปูน เป็นหินที่ไม่เหนียวและไม่แกร่ง จึงมักถูกธรรมชาติกัดเซาะจนมีลักษณะเป็นยอดแหลมสูง มีผาชัน หาน้ำได้ยาก จึงมีแต่ป่าไม้เล็ก ๆ ขึ้นปกคลุม หรือบางส่วนก็จะไม่มีต้นไม้เลย บริเวณเชิงเขามักมีเนินดินสีเทา ๆ อันเกิดจากหินปูนที่แตกสลายลงมา มีลักษณะร่วนซุยเมื่อถูกฝนจะกลายเป็นเปือกตม เขาหินปูนส่วนใหญ่อยู่ในภาคกลาง และภาคใต้ตอนบนเช่น เขาในเขตจังหวัดลพบุรี สระบุรี ราชบุรี เพชรบุรี (เขาหลวง) และประจวบคีรีขันธ์ (เขาสามร้อยยอด)[/SIZE]
    [SIZE=-1] ภูเขาดิน ประกอบด้วยดินร่วน หรือหินลูกรังปนกับหินก้อนขนาดย่อม เป็นภูเขาสูงปานกลาง ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเนินเตี้ย ที่ทางภาคใต้เรียกว่า ควน ลาดเขามีลักษณะเป็นลาดโค้งบนเชิงเขา โดยรอบมักเป็นพื้นราบกว้างขวาง เช่น บริเวณตอนใต้ของเขาสามมุข จังหวัดชลบุรี หรือในภาคใต้ตั้งแต่สถานีรถไฟมาบอัมฤทธิ์ถึงสถานีห้วยสัก เป็นต้น[/SIZE]
    [SIZE=-1] ภูเขาไฟ ภูเขาไฟในประเทศไทย เป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทมานานแล้ว เช่นที่ภูเขาหลวง จังหวัดสุโขทัย ซึ่งปรากฎมียอดเป็นปากปล่องภูเขาไฟและมีหินตะกรันอยู่โดยรอบ ในที่ราบสูงภาคอิสานเป็นพื้นที่ภายในปากปล่องภูเขาไฟใหญ่ในอดีตซึ่งดับไปแล้ว และก่อให้เกิดที่ราบสูงอันกว้างใหญ่ขึ้นมาแทน[/SIZE]
    [SIZE=-1] ภูเขาไฟที่ยังไม่ดับ และอยู่ใกล้ประเทศไทยเท่าที่สำรวจพบมีอยู่ ๒ แห่งคือ ภูเขาไฟโป๊ป่าในพม่า และภูเขาไฟใหญ่กับภูเขาไฟน้อยในล้านช้าง มีความสูงประมาณ ๖๕ เมตร ปากปล่องเป็นรูปไข่กว้างประมาณ ๘๐ เมตร ยาวประมาณ ๒๐๐ เมตร[/SIZE] <CENTER>[​IMG]

    </CENTER>
    [SIZE=-1] พื้นที่ย่านภูเขา คือบริเวณที่มีทิวเขาอยู่เป็นจำนวนมาก เป็นพื้นที่ต่อเนื่องมาจากที่ราบสูงยูนานทางด้านทิศเหนือ ทิวเขาส่วนมากมีทิศทางจากเหนือทอดลงมาทางใต้ ทิวเขาเหล่านี้ก่อให้เกิดพื้นที่ราบระหว่างหุบเขา ใหญ่บ้าง เล็กบ้าง เป็นช่วง ๆ มีลักษณะพื้นที่ต่างกับพื้นที่แถบอื่น ๆ และมีที่ตั้งอยู่ลำพังทางส่วนเหนือสุดของประเทศไทย ทิวเขาที่สำคัญได้แก่[/SIZE]
    [SIZE=-1] ทิวเขาแถบตะวันตกของประไทย เป็นทิวเขาต่อจากชายตะวันตกของภาคเหนือ ต่อเนื่องลงไปทางใต้จนถึงภาคใต้ตลอดผืนแผ่นดินที่เป็นแหลม ทิวเขาที่สำคัญได้แก่ ทิวเขาถนนธงชัย และทิวเขาตะนาวศรี ซึ่งเชื่อมต่อกันเป็นปมที่บริเวณชายแดนด้านตะวันตกของจังหวัดกาญจนบุรี มีลักษณะเป็นย่านภูเขาน้อย ๆ แผ่อาณาบริเวณเข้าไปในประเทศพม่า และเข้ามาในประเทศไทยเป็นส่วนใหญ่[/SIZE]
    [SIZE=-1] ทิวเขาตอนใจกลางของประเทศ ได้แก่ทิวเขาซึ่งเป็นเทือกเดียวกับ ทิวเขาทางด้านทิศตะวันออกของภาคเหนือของไทย มีแนวทอดลงมาทางทิศใต้ ขนานกับอีกทิวเขาหนึ่งทางด้านทิศตะวันออก พื้นที่ระหว่างทิวเขาทั้งสองนี้เป็นหุบเขาแคบ ๆ อยู่ตอนใจกลางของประเทศ ได้แก่ที่ราบสูงเพชรบูรณ์[/SIZE]
    [SIZE=-1] ทิวเขาบนที่ราบสูงตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยทิวเขาหลายทิว ซึ่งกั้นเป็นขอบของที่ราบสูงแห่งนี้ มีแนวทิศทางการทอดตัวอยู่สองแนวคือ ทางด้านตะวันตกแนวหนึ่ง กับทางด้านใต้อีกแนวหนึ่ง ทิวเขาดังกล่าวนี้จะกันเอาที่ราบสูงออกไปต่างหากจากที่ราบภาคกลาง เป็นทิวเขาที่สูงใหญ่พอสมควร ถ้าดูจากที่ราบภาคกลาง แต่ถ้าดูจากที่ราบสูงแล้วจะเห็นเป็นทิวเขาเตี้ย ๆ เท่านั้น[/SIZE]
    [SIZE=-1] ทิวเขาแถบฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทย เป็นทิวเขาที่มีแนวเกือบขนานกับฝั่งทะเล เมื่อทิวเขาออกพ้นเขตแดนไทยเข้าไปในกัมพูชา เป็นทิวเขาที่เก่าแก่ทิวเขาหนึ่ง[/SIZE]
    [SIZE=+1]ทางน้ำ[/SIZE]
    [SIZE=-1] เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ในย่านมรสุม มีฝนตกชุกในฤดูฝนที่ค่อนข้างยาวนานถึง ๖ เดือน โดยเฉลี่ยจึงก่อให้เกิดลำน้ำมากมาย แต่ลำน้ำที่สำคัญและมีประโยชน์มีอยู่ไม่มากนัก ลำน้ำโดยทั่วไปจะเป็นลำน้ำสายสั้น ๆ มีน้ำเฉพาะในฤดูฝน เมื่อแบ่งลำน้ำออกเป็นพวก ๆ ตามลักษณะของพื้นที่และตามกำเนิดของลำน้ำพอจะแบ่งออกได้เป็นสี่กลุ่ม ดังนี้[/SIZE] <CENTER>[​IMG]

    </CENTER>
    [SIZE=-1] ลำน้ำในภาคเหนือ นอกจากลำน้ำใหญ่สองสายคือ ลำน้ำสาละวิน ซึ่งไหลผ่านชายแดนด้านตะวันตก และลำน้ำโขง ซึ่งไหลผ่านชายแดนด้านตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว ลำน้ำในภาคเหนือมีอยู่หลายสาย และมีต้นน้ำที่เกิดจากพื้นที่ย่านภูเขาในภาคเหนือเอง แทบทั้งสิ้น ได้แก่[/SIZE]
    [SIZE=-1] สาขาของลำน้ำสาละวิน ได้แก่ ลำน้ำปาย เกิดจากเทือกเขาถนนธงชัย และเทือกเขาแดนลาวไหลผ่าน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ลงสู่แม่น้ำสาละวิน ลำน้ำเมย เกิดจากเทือกเขาถนนธงชัย ไหลไปตามซอกเขาที่กั้นเขตแดนไทยกับพม่า ลงสู่แม่น้ำสาละวิน ลำน้ำยวม เกิดจากทิวเขาถนนธงชัย ผ่านอำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน แล้วไปบรรจบกับลำน้ำเมย ลำน้ำสาละวิน เกิดจากบริเวณประเทศธิเบต ไหลผ่านประเทศไทย ตามแนวเส้นกั้นเขตแดนไทยกับพม่า ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน แล้วไหลผ่านพม่าไปลงอ่าวเมาะตะมะ[/SIZE]
    [SIZE=-1] สาขาของแม่น้ำโขง ได้แก่ ลำน้ำแม่กก เกิดจากภูเขาในรัฐฉาน ไหลผ่านเมืองสาด เข้าเขตไทยในจังหวัดเชียงราย แล้วไหลไปบรรจบลำน้ำโขงในเขต อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ลำน้ำฝาง เกิดจากทิวเขาแดนลาวและทิวเขาผีปันน้ำ ไหลไปบรรจบแม่น้ำกก ในเขตตำบลปางเดิม ลำน้ำแม่สาย เกิดจากทิวเขาในรัฐฉาน เป็นแนวเขตแดนระหว่างไทยกับรัฐฉาน แล้วไหลไปบรรจบลำน้ำรวกที่สบสาย ลำน้ำรวก เกิดจากทิวเขาในรัฐฉาน ไหลไปบรรจบลำน้ำโขงที่สบรวก ลำน้ำแม่จัน เกิดจากดอยสามเส้าในทิวเขาผีปันน้ำ ไหลไปบรรจบลำน้ำโขง ในเขตอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ลำน้ำแม่อิง เกิดจากทิวเขาผีปันน้ำ ในเขตจังหวัดเชียงราย ไหลไปบรรจบลำน้ำโขง ในเขตอำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ลำน้ำโขง มีต้นน้ำอยู่ในธิเบตไหลผ่านไทยทางภาคเหนือ ในเขตอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และไหลผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเส้นเขตแดนไทยกับลาวโดยตลอดตั้งแต่ อำเภอเชียงคานจังหวัดเลย ไปจนถึงอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี แล้วไหลผ่านประเทศลาว กัมพูชา เวียตนาม ลงสู่ทะเลจีน ในเวียตนาม[/SIZE]
    [SIZE=-1] สาขาของลำน้ำเจ้าพระยา ได้แก่ ลำน้ำปิง ยาวประมาณ ๗๗๕ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาแดนลาว ไหลเลาะไปตามทิวเขาถนนธงชัยผ่านจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ตาก กำแพงเพชร ไปบรรจบกับสาขาอื่นของลำน้ำเจ้าพระยา ในเขตตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง ฯ จังหวัดนครสวรรค์ ลำน้ำวัง ยาวประมาณ ๓๐๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาผีปันน้ำ และเทือกเขาขุนตาล ในเขตจังหวัดลำปาง ไหลผ่านจังหวัดกำแพงเพชร ไปบรรจบลำน้ำปิง ในเขตอำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก ลำน้ำยม ยาวประมาณ ๕๐๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาผีปันน้ำ ไหลผ่านจังหวัดสุโขทัย ไปบรรจบลำน้ำน่าน ในเขตอำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ลำน้ำน่าน ยาวประมาณ ๖๐๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาหลวงพระบาง ไหลขนานกับลำน้ำยมลมาทางใต้ ผ่านจังหวัดน่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร แล้วไหลไปบรรจบกับสาขาอื่นของลำน้ำเจ้าพระยา ในเขตตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง ฯ จังหวัดนครสวรรค์[/SIZE] <CENTER>
    [​IMG]</CENTER>
    [SIZE=-1] ลำน้ำในภาคกลาง สายน้ำที่สำคัญคือ ลำน้ำเจ้าพระยา ซึ่งก็เป็นลำน้ำสายสำคัญที่สุดของประเทศไทย เนื่องจากเป็นลำน้ำขนาดใหญ่ ไหลผ่านที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศ ส่วนลำน้ำสายอื่น ๆ ก็มีความสำคัญรองลงไป ลำน้ำที่สำคัญในภาคกลางได้แก่ ลำน้ำเจ้าพระยา ยาวประมาณ ๗๐๐ กิโลเมตร เป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่สุดนับเป็นเส้นโลหิตใหญ่ของประเทศ เริ่มต้นจากตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง ฯ จังหวัดนครสวรรค์ ไหลผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพ ฯ และสมุทรปราการ ไหลลงสู่อ่าวไทยที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ลำน้ำป่าสัก ยาวประมาณ ๔๕๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาเพชรบูรณ์ ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ ไหลผ่านที่ราบในหุบเขาเพชรบูรณ์ ผ่านจังหวัดลพบุรี สระบุรี ไปบรรจบลำน้ำเจ้าพระยา ในเขตจังหวัดอยุธยา ลำน้ำท่าจีน ยาวประมาณ ๒๓๐ กิโลเมตร เป็นสาขาแยกจากลำน้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดอุทัยธานี แล้วไหลขนานกับแม่น้ำเจ้าพระยา ทางด้านตะวันตก ลงสู่อ่าวไทยที่จังหวัดสมุทรสาคร ลำน้ำลพบุรี เป็นสาขาแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่บางพุทรา จังหวัดสิงห์บุรี ไหลผ่านจังหวัดลพบุรี แล้วไหลไปบรรจบ ลำน้ำเจ้าพระยาในเขตจังหวัดอยุธยา นอกจากนี้ยังมีสาขาแยกเล็ก ๆ อีกหลายสาย เช่น ลำน้ำสะแกกรัง ในเขตจังหวัดอุทัยธานี ลำน้ำโผงเผง ในเขตจังหวัดอ่างทอง และลำน้ำบางบาน ในเขตจังหวัดอยุธยา[/SIZE]
    [SIZE=-1] ลำน้ำที่ไหลลงสู่อ่าวไทยด้านตะวันออก ที่สำคัญได้แก่ ลำน้ำบางปะกง ยาวประมาณ ๓๐๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาพนมดงรัก แล้วไหลไปทางตะวันตก ผ่านจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก ลงสู่อ่าวไทยในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ลำน้ำสายนี้มีชือเรียกต่างกันตามท้องถิ่นที่ลำน้ำไหลผ่าน เช่นลำน้ำพระปรง ลำน้ำประจีน ลำน้ำระยอง ยาว ๓๐ กิโลเมตร เกิดจากภูเขาในเขตจังหวัดระยองไหลลงสู่ทะเลในเขตจังหวัดระยอง ลำน้ำประแส ยาว ๒๗ กิโลเมตร ลำน้ำจันทบุรียาว ๘๖ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาจันทบุรี ไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอท่าแฉลบ จังหวัดจันทบุรี ลำน้ำเวฬ ยาว ๖๔ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาจันทบุรี ไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ลำน้ำตราด เกิดจากทิวเขาจันทบุรี และทิวเขาบรรทัด ไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอ แหลมงอบ จังหวัดตราด[/SIZE]
    [SIZE=-1] ลำน้ำที่ไหลลงสู่อ่าวไทยด้านตะวันตก ที่สำคัญมีอยู่ ๓ สายด้วยกันคือ ลำน้ำแม่กลอง ยาว ๓๐๐ กิโลเมตร ประกอบด้วย แควน้อย และแควใหญ่ แควใหญ่ ยาว ๓๐๐ กิโลเมตร ไหลไปบรรจบลำน้ำแม่กลองที่อำเภอปากแพรก จังหวัดกาญจนบุรี แควน้อย ยาว ๒๒๗ กิโลเมตร ไหลไปบรรจบลำน้ำแม่กลองที่อำเภอเมือง ฯ จังหวัดกาญจนบุรี ลำน้ำเพชรบุรี ยาว ๑๐๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาตะนาวศรี ไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี[/SIZE]
    [SIZE=-1] ลำน้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่สำคัญได้แก่ ลำน้ำมูล ยาว ๖๒๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาสันกำแพง ไหลขนานกับทิวเขาพนมดงรักไปทางทิศตะวันออก ไปบรรจบลำน้ำโขงที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ลำน้ำชี ยาว ๖๐๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาเพชรบูรณ์ และทิวเขาเก้าลูก ไหลลงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ไปบรรจบลำน้ำมูลที่อำเภอเมือง ฯ จังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ก็มี ลำน้ำเลย และลำน้ำสงคราม[/SIZE]
    [SIZE=-1] ลำน้ำในภาคใต้[/SIZE][SIZE=-1] แบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ[/SIZE]
    <CENTER>[​IMG]

    </CENTER>[SIZE=-1] ลำน้ำที่ไหลลงสู่อ่าวไทย มีอยู่ ๗ สายด้วยกันได้แก่ ลำน้ำชุมพร ยาว ๑๐๐ กิโลเมตร เกิดจากแคว ๒ แควจากทิวเขาตะนาวศรี และทิวเขาระนอง แล้วไหลไปรวมกันที่ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร คลองชุมพร อยู่ทางตะวันออกของลำน้ำชุมพร ลำน้ำหลังสวน เกิดจากทิวเขาระนอง ไหลลงสู่ทะเลที่ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ลำน้ำตาปี ยาว ๓๐๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาภูเก็ต และทิวเขานครศรีธรรมราช ไหลลงสู่อ่าวไทยที่อำเภอบ้านดอน เป็นลำน้ำที่เกิดจากแควคีรีรัฐ และแควน้ำหลวง ลำน้ำปัตตานี เกิดจากทิวเขาสันกาลาคีรี ไหลขึ้นมาทางเหนือ ลงสู่อ่าวไทยที่จังหวัดปัตตานี ลำน้ำสายบุรี ยาว ๑๗๐ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาสันกาลาคีรี ไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ลำน้ำโกลก เกิดจากทิวเขาสันกาลาคีรี เป็นแนวเขตแดนไทยกับมาเลเซีย[/SIZE]
    [SIZE=-1] ลำน้ำที่ไหลลงมหาสมุทรอินเดีย มีอยู่ ๒ สายคือ ลำน้ำปากจั่น หรือลำน้ำกระ ยาว ๑๒๓ กิโลเมตร เกิดจากเทือกเขาตะนาวศรี ไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ไหลออกสู่ทะเลที่อ่าวระนอง จังหวัดระนอง ลำน้ำตรัง ยาว ๑๓๗ กิโลเมตร เกิดจากทิวเขานครศรีธรรมราช ไหลไปทางทิศใต้ลงสู่ทะเลที่อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง[/SIZE]
    [SIZE=+1]ทะเลสาบ บึงและหนอง[/SIZE]
    [SIZE=-1] ทะเลสาบ มีอยู่เพียง ๒ แห่งคือ ทะเลสาบสงขลา และทะเลน้อย[/SIZE]
    [SIZE=-1] บึงและหนอง มีกระจายอยู่ทั่วไปทั้งประเทศที่สำคัญ ในแต่ละภาคมีดังนี้[/SIZE]
    [SIZE=-1] ภาคเหนือ มีหนองเล้งทราย ในเขตบ้านแม่โจ้ อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย กว๊านพะเยา อยู่ในเขตอำเภอเมือง ฯ จังหวัดพะเยา หนองหล่ม อยู่ในเขตอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย[/SIZE]
    [SIZE=-1] ภาคกลาง มีบึงบรเพ็ด อยู่ในเขตอำเภอเมือง ฯ จังหวัดนครสวรรค์ บึงสีไฟ อยู่ในเขตอำเภอท่าหลวง จังหวัดพิจิตร บึงราชนก ในเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก บึงจอมบึง อยู่ในเขตอำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี บึงสระสี่มุม อยู่ทางฝั่งขวาของลำน้ำไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี[/SIZE]
    [SIZE=-1] ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีหนองระหาร อยู่ในเขตจังหวัดสกลนคร หนองหารอยู่ในเขตอำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี หนองพันสัก อยู่ในเขตจังหวัดมหาสารคาม[/SIZE]

    ที่มา http://www1.mod.go.th/heritage/nation/geography/geoindex.htm
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มกราคม 2007
  6. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    กรมทรัพยากรธรณีประกาศแจ้งเตือนภัยหลุมยุบ อันเนื่องมาจากแผ่นดินไหวในท้องที่ (พื่นที่เสี่ยงภัย)

    อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
    อำเภออ่าวลึก และอำเภอเมือง จังหวัดกระบี่
    กิ่งอำเภอมะนัง อำเภอควนกาหลง อำเภอควนโดน อำเภอละงู และอำเภอเมือง ในจังหวัดสตูล


    สำหรับหลุมยุบ เกิดจากการมีช่วงว่างของชั้นดิน ซึ่งมีที่มาหลายกรณีเช่นน้ำที่มีสภาพเป็นกรดอ่อน ทำปฏิกริยากับหินปูนจนเกิดเป็นโพรงใต้ดิน เมื่อฝนตกจนทำให้ดินอิ่มตัวดินก็จะทรุดลงไป แต่กรณีที่จะเกิดในภาคใต้เรา เกิดจากการที่ซึนามิกระทบฝั่งส่งผลให้น้ำบาดาลขยับตัวขึ้นลง เกิดเป็นโพรงในชั้นดิน ดินที่อยู่เหนือโพรงดังกล่าว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายเกิดการยุบตัวของดินครับผม

    หลุมยุบในประเทศไทย (PDF)

    หลุมยุบ ขนาด ๓๐ เมตร ที่อำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก

    หลุมยุบที่บ้านพะละใหม่ ตำบลขะเนจื้อ อำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๓๐ เมตร ลึกประมาณ ๑๕
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  7. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=750 align=center border=0><LINK href="Link3.css" type=text/css rel=stylesheet><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#f4f4f4>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ผลการค้นหาข้อมูล [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ธรณีพิบัติภัย[/FONT] [/FONT]
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="8%" bgColor=#666666>

    </TD><TD width="92%" bgColor=#666666>

    </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD></TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ธรณีพิบัติภัย/แผ่นดินไหว-คลื่นสึนามิ[/FONT]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc>
    [​IMG]

    </TD><TD bgColor=#cccccc>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]แผ่นดินไหวเกิดจากอะไร เมืองไทยอยู่ในเขตอันตรายหรือเปล่า [/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]


    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  8. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441

    สวัสดีครับคุณ aew.st
    มีโอกาสเขื่อนแตกเปอร์เซ็นต์สูงมากครับ ถ้าได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงกว่า 8-9 ริกเตอร์ในรัศมีไม่เกิน 100 กม.หรือลึกไม่ถึง 5 กม.ใต้ดิน แรงสั่นสะเทือนที่สูงมากจนเขื่อนอาจเกิดรอยร้าวและแตกได้ ทุกวันนี้บางเขื่อนได้แต่ซ่อมแซมอุดรอยรั่วซีเมนต์เอาไว้ บางอำเภอที่อยู่ห่างจากเขื่อนไม่เกิน 100 กิโลเมตร หากเกิดน้ำท่วมฉับพลันจากเขื่อนแตกน้ำทะลักลงมาใช้เวลาราว 2-3 ชั่วโมงก็จะถึงครับ ดังนั้นจึงต้องมีการฝึกซ้อมรับมือ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ หากเกิดเหตุการณ์ขึ้นจริงจะสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ทันท่วงทีครับ

    เรื่องหนังสือของอาจารย์ตอนนี้ก็กว่า 20 ซีรี่ส์แล้วครับ..
    อ่านสนุกได้สาระความรู้ที่นำมาใช้ได้ครับ
    ถ้าชอบอ่านแนวนี้ แนะนำอีกสองเล่มครับ
    "ธรรมชาติของชาติภพ" ของคุณโนวา อนาลัย (คนไทยที่ได้รับการสื่อเช่นกันครับ)
    " คัมภีร์สมใจนึก" (หนังสือแปลจากการสื่อสารกับพลังงานต้นกำเนิดครับ)
    อ่านเพลินเลยครับ ความรู้จากความไร้รูปที่มีประโยชน์มากครับ

    (verygood)(verygood)(verygood)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    น้ำท่วมระดับ 3 เมตร

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    น้ำท่วมระดับ 5 เมตร

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    น้ำท่วมแระดับ 10 เมตร

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  12. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    ดีเลยครับคุณ Falkman มีอีกไหมครับ?
    เห็นได้ชัดเลยครับ กับระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น ที่ราบภาคกลาง ภาคตะวันออก กับภาคใต้ โดนน้ำทะเลเข้าท่วมก่อนจะเป็นอย่างไร?
    ถ้าเกิดเหตุจริงๆ แล้วมีการเกิดแผ่นดินไหวนี่อาจมีเรื่องการเคลื่อนตัวของแผ่นดินตามรอยเลื่อนต่างๆ ที่จะชักน้ำทะเลเข้ามาเพิ่มอีกนะครับ พื้นที่ตามรอยเลื่อนคู่ขนานก็ยิ่งอันตรายมากครับ เพราะมันจะเสียดดีกันเบียดแผ่นดินให้ยุบตัวลงได้อีก..
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    น้ำท่วมระดับ 20, 30, 40, 50, 75, 100 เมตร

    ตามลำดับ[​IMG]



    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  14. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ขอบคุณครับ จะได้ดูและวิเคราะห์ไว้ เป็นไอเดียครับ ผมก็ว่าเช้านี้คุณFalkman หายไปไหน โนน้ำท่วมหรือเปล่า ที่แท้ไปช่วยทำซิมูเลท แผนที่ให้นี่เอง

    ภาพที่เห็นนี้ เปรียบเทียบกรณีที่น้ำทะเลเอ่อสูงกว่าระดับปรกติ เนื่องจากน้ำแข็งขั้วโลกละลาย ใช่ไหมครับ

    ส่วนอีกกรณีที่ผมเป็นห่วงคือถ้าภูเขาไฟใต้มหาสมุทรแปซิฟิคเกิดระเบิด จะเกิด คลื่นเมก้าซึนามิ ถล่มชายฝั่งอเมริกา ทั้งหมดทางฝั่งแอลเอ รวมทั้งประเทศญี่ปุ่น ฟิลิปปินน์ยกเกาะ น่าเป้นห่วงพอสมควรครับ ดังนั้นถ้ามีข่าวภูเขาไฟใต้ทะเลประทุ ท่านที่อยู่ในเขตเสี่ยง ถ้ากลับบ้านเราได้กลับไว้ก่อนเถอะครับ
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เมื่อเช้าไปทำงานที่ เดต้า เซ็นเตอร์ อีกแห่ง ซึ่งห่างจากที่นี่ ประมาณชั่วโมงนึง แต่ระหว่างไปทำงานที่นั่นก็คอยระวังอยู่ว่ามีข่าวอะไร จะได้แจ้งให้เพื่อนๆ ได้ทราบ

    แผนที่นี้ได้รับอีเมลล์มาอีกทีหนึ่ง ไม่ทราบคนส่งว่าเป็นใคร ก็งงเหมือนกัน เลยเอามาให้ดูกัน
     
  16. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    จากในแผนที่ของคุณ Falkman
    ถ้าปริมาณน้ำทะเลเพิ่มขึ้น 5 เมตร กรุงเทพกับปริมณฑล ก็เกือบมิด
    ถ้า 20 เมตร น้ำทะเลก็เข้าไปถึงขัยนาทแล้ว
    อย่าให้ถึงเลยครับ สัก 5-10 เมตร แค่นี้ก็เยอะมากแล้ว
    อ.ปริญญา เคยบอกว่ากรุงเทพจะถูกน้ำท่วมราว 3-6 เมตร
    แต่จะได้คืนกลับมา อาจเพราะแผ่นดินถูกแรงผลักให้ยกตัวสูงขึ้น

    จะมีที่น่าห่วงก็คลื่นยักษ์ ที่พัดเข้าไปในแผ่นดินได้ลึกมากขึ้นกว่าเดิม
    อย่างที่คุณคนานันท์กล่าวถึงภูเขาไฟใต้ทะเลเกิดระเบิดขึ้น ก็เป็นไปได้ครับ
    ที่จะทำความเสียหายได้ถึงภาคเหนือตอนล่าง กับภาคอีสานบางส่วนนะครับ
    ในส่วนของภาพนี้ก็เอาไว้เป็นแนวทางศึกษา เพื่อมองหาจุดที่ปลอดภัยกันได้ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  17. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,696
    ค่าพลัง:
    +51,932
    *** เครื่องสูบน้ำประเทศไทย **** เสร็จพร้อมรบ...รอวันเวลาใช้งาน - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  18. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,696
    ค่าพลัง:
    +51,932
    *** ถึง คุณ Falkman **** ภัยแม่น้ำโขง ทะลักเข้าแผ่นดินไทย ที่คุ้งน้ำ "เชียงแสน" จะรุนแรงยิ่งนัก....ทางภาคเหนือ...แม่น้ำโขง จะสร้างอันตรายและภัยพิบัติ...ถ้ามีฝนตกหนักมากทางตะวันตกของจีน หรือ เปลือกโลกเทือกเขาหิมาลัยเคลื่อนตัว หรือ กระทบกระเทือนรุนแรงโดยอากาศร้อนทันฉับพลัน...จะทำให้น้ำแข็งจำนวนมหาศาล บนเทือกเขาหิมาลัยทะลาย ละลายไหลลงสู่แม่น้ำต่างๆ ...ดังนั้น แม่น้ำที่จะรองรับน้ำได้ ๑ ในนั้นคือ แม่น้ำโขง...น้ำปริมาณมากจะไหลลงมาตามลำน้ำโขง....บริเวณเหนือสุดที่ติดกับแม่โขงบริเวณเชียงแสน เชียงของ...จะมีน้ำทะลักเข้าแผ่นดินไทย เกิดน้ำวนขนาดใหญ่...ดิน หิน ภูเขาจะหลุดทะลายไปตามกระแสน้ำ...ทุกสิ่งทุกอย่างจะถูกขุดรากถอนโคนไปตามกระแสน้ำ...น้ำจะไหลผ่านจังหวัดต่างๆ ตั้งแต่เหนือ จนถึงอ่าวไทย...จังหวัดที่น่าจะเสี่ยงและควรหาทางเตรียมหนีขึ้นเขาสูง....เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูนบางส่วน พะเยา แพร่ ลำปาง ตาก กำแพงเพชรและจังหวัดที่อยู่ใต้ลงมาจนถึง กรุงเทพฯ ....ฝาก... "วาดภาพ พื้นที่อันตรายจากภัยน้ำโขง" ...จะมีประโยชน์มาก และจะทำให้เตรียมแผนรับสถานการณ์ได้ถูกต้อง...ภัยหนัก กรรมหนักทางน้ำในประเทศไทย ไม่ใช่มีเพียงเรื่องน้ำทะเล และซึนามิเท่านั้น...แม่น้ำโขง มหันตภัยทำลายล้างทั้งบาง - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  19. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193

    ผมกำลังนึกอยู่เหมือนกันว่า จะเป็นไปได้อย่างไรที่เทวดาจะปล่อยให้สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทางพุทธศาสนา หลายๆ แห่งต้องจมน้ำทะเล ผมว่างานนี้พวกพญานาคต้องมาช่วยกันดันแผ่นดินให้สูงพ้นน้ำทะเลแน่นอน แต่ต้องหลังจากการกวาดล้างคนชั่วให้หมดไปจากแผ่นดิน

    ตอนนี้ผมหายสงสัยแล้วว่า ทำไมแผ่นที่โลกใหม่ของ อ.ปริญญา จึงวาดบริเวณภาคกลางของประเทศไทยถูกน้ำทะเลท่วมนิดเดียว ในขณะที่น้ำแข็งขั้วโลกเหนือละลายหมด ขอบคุณคุณmead มากครับที่นำข่าวสำคัญของ อ.ปริญญา ตันสกุล มาบอกครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2007
  20. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    ผมก็ว่าแผนที่น่าจะผิดนะครับ ปีที่ผ่านมายังท่วมไปค่อนประเทศเลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...