WarRoom - อาสาสมัครเตรียมการเฝ้าระวังประสานงานเตรียมพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์ปี 2013

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 24 เมษายน 2011.

  1. นาคา

    นาคา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    2,377
    ค่าพลัง:
    +12,917
    [​IMG]

    แจ้ง ข่าว..
    23-24 มิย.2555 จัดโครงการสื่อสาร เพื่อการเฝ้าระวังภัย และ การเตือนภัย
    อบรมพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือภาคประชาชนผู้มีจิตอาสา

    เพื่อนเตือนภัย...

    กระบี่ - น้ำป่าทะลักเข้าท่วมน้ำตกร้อน นายก อบต.คลองท่อมเหนือสั่งปิดชั่วคราว หวั่นเกิดอันตรายแก่นักท่องเที่ยว

    นายมงคล ชนะกุล นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ เปิดเผยว่า จากรณีที่ได้เกิดฝนตกหนักติดต่อกันนานหลายวันส่งผลให้น้ำจากเขานอจู้จี้ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประบาคราม ไหลทะลักเข้าท่วมภายในน้ำตกร้อนจนระดับน้ำภายในบริเวณน้ำตกร้อนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจนท่วมไม่สามารถเข้าไปท่องเที่ยวได้แล้ว ในเบื้องต้นก็ได้สั่งปิดเป็นการชั่วคราวแล้วจนกว่าระดับน้ำจะลดเป็นปกติจึงจะเปิดให้ท่องเที่ยวเข้าเที่ยว ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว

    นายศรายุทธ ตันเถียร หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาพนมเบญจา เปิดเผยด้วยว่า ในส่วนของอุทยานแห่งชาติเขาพนมเบญจาน้ำตกห้วยโต้ ในขณะนี้ไม่มีการสั่งปิดสถานที่ท่องเที่ยวแต่อย่างใด และได้เตรียมความพร้อมในเรื่องการให้ความช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน โดยมีเจ้าหน้าที่อุทยานฯ และเจ้าหน้าที่ทีมกู้ภัย พร้อมเครื่องมือให้ความช่วยเหลือประจำพื้นที่ตามจุดต่างๆ ในพื้นที่น้ำตกห้วยโต้ และที่ผ่านมาหากเกิดฝนตกหนักเกิดภาวะเสี่ยง ทางเจ้าหน้าที่ก็ดำเนินการเตรียมความพร้อมในการให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด

    นายศรายุทธเปิดเผยอีกว่า ในช่วงฝนตกหนักติดต่อกันหลายวันนักท่องเที่ยวไม่ค่อยเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวเนื่องจากกลัวอันตราย ในส่วนของนักท่องเที่ยวที่เข้ามานั้นทางเจ้าหน้าที่จะแจ้งที่ประตูทางเข้า เกี่ยวกับความเสี่ยงในสถานที่ท่องเที่ยวช่วงฝนตก หากนักท่องเที่ยวต้องการเข้าไปในน้ำตกห้วยโต้ก็จะมีการจัดชุดรักษาความปลอดภัยติดตามให้ความช่วยเหลือ

    แต่อย่างไรก็ตาม ทางเจ้าหน้าที่อุทยานก็คอยเฝ้าระวังสถานการณ์อยู่ตลอดเวลา หากยังมีฝนตกหนัก ภาวะเสี่ยงก็จะมีการประกาศปิดต่อไป
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>6 มิถุนายน 2555 13:39 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>

    A.4 war room Falkman

    http://palungjit.org/threads/มหานาค...ทีพระพุทธบาท-up-น-15-ว-สื่อสาร.124284/page-34
     
  2. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ]เปิด TV ดูข่าวช่อง 5 ตอนนี้ด่วน!!!

    มันยังไงล่ะทีนี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มิถุนายน 2012
  3. tippawanJr

    tippawanJr เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    45
    ค่าพลัง:
    +165
    ใครได้ดูรายการที่ คุณสุทธิชัย หยุ่น สัมภาษณ์นายทหารอเมริกัน ช่อง ททบ 5 บ้างคะ พอดีมาเปิดเจอช่วงท้ายๆ ประมาณว่าเขาจะมาช่วยเราเรื่องภัยพิบัติ หรืออะไรกันแน่ ไม่ค่อยไว้ใจค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 6 มิถุนายน 2012
  4. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ลือว่าเครื่องบิน 3 ลำ (3 aircrafts) ของ NASA คือ P3-B, DC-8, and NSF C-130 จะมา U-TAPAO INTERNATIONAL AIRPORT

    [​IMG]

    [​IMG]

    Ref.: TRACE-P: DC-8/P3-B Layout

    นัยสำคัญ ก็คงเป็นเรื่องของการบินเก็บข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ซึ่งโครงการนี้มีมาไม่ต่ำกว่า 3 ปีแล้ว ทั้งนี้โดยมีกองทัพสหรัฐคอยสนับสนุนอยู่ห่างๆเท่านั้นในช่วง ส.ค.-ก.ย. 55 นี้ และแผนสองคือ กองทัพสหรัฐจะสามารถเข้าช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ประสบภัยพิบัติในเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น

    เรื่องนี้ในวงพลังจิตคงได้นำมาขยายผลต่อๆไป
     
  5. sunny430

    sunny430 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,299
    ค่าพลัง:
    +5,425
  6. gun2555

    gun2555 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    701
    ค่าพลัง:
    +1,205
    คงไม่ใช่แผนสกัดจีนนะ ถ้าเป็นแผนสกัดจีนเราจะตกเป็นเครื่องมือของอเมริกาหรือเปล่า หรืออาจมีอะไรซ่อนเร้นมากกว่านี้
     
  7. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    จะมีสักชื่อมั๊ยที่มันจะเข้ามาไทยเรา

    Guchol (unused)
    Talim (unused)
    Doksuri (unused)
    Khanun (unused)
    Vicente (unused)
    Saola (unused)
    Damrey (unused)
    Haikui (unused)
    Kirogi (unused)
    Kai-tak (unused)
    Tembin (unused)
    Bolaven (unused)
    Sanba (unused)
    Jelawat (unused)
    Ewiniar (unused)
    Maliksi (unused)
    Gaemi (unused)
    Prapiroon (unused)
    Maria (unused)
    Son Tinh (unused)
    Bopha (unused)
     
  8. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>พายุงวงช้างถล่มเมืองตรัง บ้านพังเสียหาย-ไฟฟ้าดับ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>6 มิถุนายน 2555 18:47 น.</TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT><IFRAME style="WIDTH: 112px; HEIGHT: 20px" class="twitter-share-button twitter-count-horizontal" title="Twitter Tweet Button" src="http://platform.twitter.com/widgets/tweet_button.1338995330.html#_=1338998208637&count=horizontal&id=twitter-widget-0&lang=en&original_referer=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FHome%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000069565&size=m&text=%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%20%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A2-%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A&url=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FHome%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000069565&via=ASTVManager" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME>

    Share4
    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT><?XML:NAMESPACE PREFIX = G /><G:pLUSONE size="medium"></G:pLUSONE>
    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> เกิดลมพายุงวงช้างพัดถล่มบ้านเรือนของชาวบ้านในพื้นที่ หมู่ 2, 3 และ 4 ต.นาตาล่วง อ.เมือง จ.ตรัง ได้รับความเสียหายจำนวน 35 หลังคาเรือน โดยส่วนใหญ่กระเบื้องหลังคาปลิว ต้นไม้หักโค่นจำนวนมาก กระแสไฟฟ้าดับทั้ง 3 หมู่บ้าน โดยขณะนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาตาล่วง ได้ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น ด้วยการจัดซื้อกระเบื้องหลังคาให้กับชาวบ้าน พร้อมระดมกำลังเจ้าหน้าที่ตัดต้นไม้ที่หักโค่น และประสานไปยังการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เข้าดำเนินการแก้ปัญหาไฟดับแล้ว
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เก็บไว้เป็นภาพจำ “ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์” ทั่วฟ้าเมืองไทย </TD><TD vAlign=baseline width=102 align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>6 มิถุนายน 2555 20:16 น.</TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT><IFRAME style="WIDTH: 112px; HEIGHT: 20px" class="twitter-share-button twitter-count-horizontal" title="Twitter Tweet Button" src="http://platform.twitter.com/widgets/tweet_button.1338995330.html#_=1338998316237&count=horizontal&id=twitter-widget-0&lang=en&original_referer=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FScience%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000069610&size=m&text=%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B3%20%E2%80%9C%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E2%80%9D%20%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%20&url=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FScience%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000069610&via=ASTVScience" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME>

    Share87
    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT><IFRAME style="POSITION: static; BORDER-BOTTOM-STYLE: none; BORDER-RIGHT-STYLE: none; MARGIN: 0px; WIDTH: 90px; BORDER-TOP-STYLE: none; HEIGHT: 20px; VISIBILITY: visible; BORDER-LEFT-STYLE: none; TOP: 0px; LEFT: 0px" id=I1_1338998317929 title=+1 tabIndex=0 marginHeight=0 src="https://plusone.google.com/_/+1/fastbutton?bsv=pr&url=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FScience%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000069610&size=medium&count=true&origin=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th&hl=th&jsh=m%3B%2F_%2Fapps-static%2F_%2Fjs%2Fgapi%2F__features__%2Frt%3Dj%2Fver%3D7NECZ5-k7YU.th.%2Fsv%3D1%2Fam%3D!PemfnfjrL2yI81ARQg%2Fd%3D1%2Frs%3DAItRSTM-n9qO8av_UVqNvEgLYb1YMHzE2g#id=I1_1338998317929&parent=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th&rpctoken=758520116&_methods=onPlusOne%2C_ready%2C_close%2C_open%2C_resizeMe%2C_renderstart" frameBorder=0 width="100%" allowTransparency name=I1_1338998317929 marginWidth=0 scrolling=no></IFRAME>

    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ผ่านไปแล้วสำหรับปรากกฏการณ์ดาราศาสตร์แห่งศตวรรษ “ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์” ซึ่งนับต่อไปจากนี้อีก 105 ปี จึงจะเกิดปรากฏการณ์มาให้ชมกันอีกครั้ง ซึ่งหลายคนอาจมีโอกาสได้ร่วมสังเกตปรากฏการณ์ และบางคนอาจจะพลาดเหตุการณ์นี้ไป อย่างไรก็ดี ภาพจากเหตุการณ์วันที่ 6 มิ.ย.55 นี้ กลายเป็นอีกประวัติศาสตร์ของวงการดาราศาสตร์

    หลายหน่วยงานจัดกิจกรรมรับปรากฏการณ์ “ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์” (Transit of Venus) ในวันที่ 6 มิ.ย.55 ซึ่งผู้สังเกตในเมืองไทยมีโอกาสได้ชมปรากฏการณ์ครั้งนี้ได้ตั้งแต่หลังพระอาทิตย์ขึ้นไปจนถึงเวลา 11.49 น.โดยพลาดโอกาสชมจังหวะในสัมผัสแรกที่ดาวศุกร์สัมผัสดวงอาทิตย์ และสัมผัสที่สองเมื่อดาวศุกร์ทั้งดวงเข้าสัมผัสขอบดวงอาทิตย์ด้านใน ขณะเดียวกัน ก็มีรายงานว่า หลายพื้นที่มีเมฆหนาบดบังปรากฏการณ์เป็นช่วงๆ

    สำหรับทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTV-ผู้จัดการออนไลน์ ได้เดินทางไปสังเกตปรากฏการณ์ พร้อมสมาคมดาราศาสตร์ไทย ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เขาชะโงก จ.นครนายก พร้อมทั้งเฝ้ารับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรปรากฏการณ์ในครั้งนี้ด้วย โดยช่วงครึ่งปรากฏการณ์แรกสภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย และมีเมฆหนาบดบัง จนไม่สามารถสังเกตปรากฏการณ์ได้ แต่ในช่วงครึ่งหลังของปรากฏการณ์ท้องฟ้าแจ่มใสจนสามารถสังเกตปรากฏการณ์ในช่วงสัมผัสสุดท้ายได้

    ทางด้านสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร.ซึ่งตั้งจุดสังเกตปรากฏการณ์หลายจุดในประเทศ ได้แจ้งข่าวว่า จุดสังเกตปรากฏการณ์ที่สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กรุงเทพฯ นั้น มีเมฆบดบังเป็นส่วนใหญ่ แต่ยังสามารถบันทึกภาพช่วงต้นและท้ายปรากฏการณ์ได้ ส่วนจุดสังเกตที่บริเวณลานกิจกรรมหน้าอุทยานหลวงราชพฤกษ์ จ.เชียงใหม่นั้น มีสภาพอากาศค่อนข้างแจ่มใส แม้จะมีเมฆบดบังในช่วงต้นๆ ของปรากฏการณ์ ขณะเดียวกัน เครือข่ายกว่า 50 แห่งทั่วประเทศ ก็รายงานสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง

    ส่วน นายวรวิทย์ ตัณวุฒิบัณฑิต ปราชญ์ดาราศาสตร์จาก จ.ฉะเชิงเทรา ได้ร่วมจัดกิจกรรมให้แก่โรงเรียนในพื้นที่ซึ่งขาดแคลนกล้องโทรทรรศน์ โดยเขาบอกแก่ทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTV-ผู้จัดการออนไลน์ ว่า สภาพอากาศไม่ค่อยเอื้ออำนวยนัก เนื่องจากมีเมฆบดบังเป็นส่วนมาก ซึ่งต่างจากวันก่อนเกิดปรากฏการณ์ 1 วันที่มีสภาพอากาศค่อนข้างแจ่มใส พร้อมกันนี้ เขาให้ความเห็นว่า การสังเกตปรากฏการณ์ด้วยตาเปล่าผ่านแว่นกรองแสงอาทิตย์นั้น ค่อนข้างสังเกตจุดสีดำของดาวศุกร์ได้ยาก แต่จะเห็นชัดขึ้นหากสังเกตผ่านกล้องโทรทรรศน์ที่ติดฟิล์มกรองแสง ซึ่งการจัดกิจกรรมก็ได้รับความสนใจจากเยาวชนเป็นอย่างดี

    ขณะที่ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งร่วมมือกับศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ (LESA) จัดกิจกรรม ณ บริเวณสนามหญ้าหน้าหอประชุมใหญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งปรากฏว่า มีเมฆหนาบดบังการสังเกตปรากฏการณ์มากเช่นกัน โดยฟ้าปิดจนกระทั่งเวลา 08.30 น.จึงเริ่มมีฟ้าเปิดสลับกับมีเมฆมากไปจนจบปรากฏการณ์

    สำหรับปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์นี้ เป็นปรากฏการณ์ที่ภาพปรากฏของดาวศุกร์เคลื่อนผ่านเป็นจุดสีดำหน้าดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นเหตุการณ์คล้ายปรากฏการณ์สุริยุปราคา แต่เนื่องจากดาวศุกร์อยู่ไกลจากโลกมาก จึงเห็นภาพปรากฏเป็นเพียงจุดสีดำเล็กๆ โดยจะเกิดขึ้นเมื่อ โลก ดาวศุกร์ และดวงอาทิตย์ เคลื่อนมาอยู่ในแนวเดียวกัน

    ทั้งนี้ ในรอบ 243 ปี จะเกิดปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ขึ้นเพียง 4 ครั้ง โดยมีรอบการเกิดปรากฏการณ์เป็นคู่ แต่ละคู่จะห่างกัน 121.5 (+/- 8) ปี (และแต่ละครั้งใน 1 คู่นั้นจะเกิดห่างกัน 8 ปี) หากครั้งแรกของคู่แรกเกิดห่างจากครั้งแรกของคู่หลัง 129.5 ปี ครั้งแรกของคู่หลังจากห่างจากครั้งแรกของรอบถัดไป 113.5 ปี

    ตัวอย่าง เช่น เหตุการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ครั้งแรกของคู่วันที่ 6 มิ.ย.55 นี้ คือ เมื่อวันที่ 8 มิ.ย.47 ซึ่งเกิดห่างจากครั้งแรกของคู่ก่อนหน้าในปี 9 ธ.ค.2417 เป็นเวลา 129.5 ปี และห่างจากครั้งแรกของคู่ถัดไปซึ่งจะเกิดขึ้นในวันที่ 11 ธ.ค.2660 เป็นเวลา 113.5 ปี ส่วนอีกครั้งถัดไปหลังจากนั้นจะเกิดขึ้นในวันที่ 8 ธ.ค.2668

    ทั้งนี้ ในอดีตนักดาราศาสตร์เคยใช้ปรากฏการณ์นี้หาระยะทางระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ซึ่งนับเป็น 1 หน่วยดาราศาสตร์ (Astronomical Unit) ที่ใช้วัดระยะของวัตถุต่างๆ ในจักรวาล และยังช่วยให้เราทราบถึงความกว้างใหญ่ของระบบสุริยะ โดยใช้หน่วยวัดนี้เป็นตัวเปรียบเทียบด้วย

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ซึ่งบันทึกโดยสมาคมดาราศาสตร์ไทย จากจุดสังเกต ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เขาชะโงก จ.นครนายก </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ที่บันทึกด้วยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 8 นิ้ว โดยวรวิทย์ ตัณวุฒิบัณฑิต ณ จุดสังเกตหอดูดาวบัณฑิต จ.ฉะเชิงเทรา </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ที่บันทึกด้วยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 11 นิ้ว โดยวรวิทย์ ตัณวุฒิบัณฑิต ณ จุดสังเกตหอดูดาวบัณฑิต จ.ฉะเชิงเทรา </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ที่บันทึกโดย ผศ.พงษ์ ทรงพงษ์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ บริเวณ จุดสังเกตที่จุฬา เวลา 08.30 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ผศ.พงษ์ ทรงพงษ์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ บันทึกภาพปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวอาทิตย์จากจุดสังเกตที่จุฬาฯ เมื่อเวลา 09.10 น. </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>บรรยากาศการสังเกตดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ที่จุฬาฯ ซึ่งท้องฟ้าไม่เอื้ออำนวยนัก เช่นเดียวกับหลายๆ พื้นที่</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>300 ชีวิตคนน่านขวัญผวาไม่หยุด หวั่นน้ำป่าซ้ำรอยปี 54</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>6 มิถุนายน 2555 15:45 น.</TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT><IFRAME style="WIDTH: 112px; HEIGHT: 20px" class="twitter-share-button twitter-count-horizontal" title="Twitter Tweet Button" src="http://platform.twitter.com/widgets/tweet_button.1338995330.html#_=1338998804327&count=horizontal&id=twitter-widget-0&lang=en&original_referer=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FLocal%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000069426&size=m&text=300%20%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%9C%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%94%20%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%B5%2054&url=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FLocal%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000069426&via=ASTVManager" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME>

    Share8
    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT><?XML:NAMESPACE PREFIX = G /><G:pLUSONE size="medium"></G:pLUSONE>
    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD><TD><TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=1 vAlign=top width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=center width=165 align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>น่าน - ชาวบ้านปอนกว่า 300 ชีวิต ต้องนอนขวัญผวาเฝ้าระวังฟังเสียงน้ำป่าหลากทุกคืน หลังเจอน้ำป่าถล่มปี 54 บ้านเรือน-ทรัพย์สินเสียหายเพียบ บางรายเหลือแต่โฉนดที่ดินไว้ดูต่างหน้า แต่ที่ดินกลับอยู่กลางน้ำน่านไปแล้ว ขณะที่ อบต.ปอนของบทำกล่องเรียงหินเกือบปีกลับไม่คืบ จนต้องออกแรงใช้ไม้ไผ่ปักกันตลิ่งพังแทน

    นางบานเย็น พัฒนประสิทธิ์ อยู่บ้านเลขที่ 17 ม.6 ต.ปอน อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน เปิดเผยว่า เหตุการณ์น้ำป่าหลากปี 2554 ทำให้ทั้งหมู่บ้านได้รับความเสียหาย ทั้งข้าวของเครื่องใช้ เครื่องไฟฟ้า และพื้นที่การเกษตร ซึ่งกระแสน้ำพัดมาแรงมาก จนทำให้ผนังคอนกรีตขนาดใหญ่ที่ อบต.ปอนได้จัดสร้างไว้ 3 อันเพื่อลดแรงปะทะของน้ำป่าหลาก และป้องกันดินพังทลายและน้ำเซาะตลิ่งพัง ผนังคอนกรีตถูกแรงน้ำป่าหลากจนพังทลายเกือบทั้งหมด แรงน้ำสามารถยกแผ่นคอนกรีตลอยขึ้นบนผิวน้ำอย่างง่ายดาย

    นอกจากนี้ ด้วยที่ไม่มีผนังกั้นตลิ่งทำให้ขณะนี้ชาวบ้านหลายรายซึ่งมีที่ดินริมน้ำได้สูญเสียที่ดินไปทั้งหมด เนื่องจากน้ำได้เซาะตลิ่งขยายกว้างจากเดิมเข้าไปในพื้นที่ของชาวบ้านแล้วกว่า 20 เมตร ชาวบ้านบางรายเหลือไว้แต่โฉนดที่ดิน แต่ไม่มีที่ดินเพราะกลายเป็นแม่น้ำหมดแล้ว

    “ตอนนี้ฉันก็เหลือเพียงโฉนดที่ดินเนื้อที่ 8 ไร่ในมือ แต่ที่ดินจริงๆ อยู่กลางลำน้ำน่านไปแล้ว”

    ขณะที่นางทิพย์ประภา เรศมณเทียน อยู่บ้านเลขที่ 59 ม.6 ต.ปอน อ.ทุ่งช้าง เปิดเผยว่า น้ำป่าหลากปีที่แล้วได้ทำให้สวนสัก เนื้อที่ 6 ไร่ ซึ่งเตรียมตัดขาย หายไปกับกระแสน้ำทั้งหมด ไม่เหลืออะไรเลยนอกจากโฉนดที่ดิน ซึ่งก็ไม่มีที่ดินอีกต่อไป

    ด้านนายสุพงศ์ ขะจาย รองนายก อบต.ปอน อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน กล่าวว่า ขณะนี้ตำบลปอนมีพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำป่าหลากจำนวน 79 หลังคาเรือน กว่า 300 คน และยังมีวัดดอนไชยปอน โรงเรียนบ้านปอน ซึ่งมีเด็กนักเรียนระดับ ป.1-ป.6 จำนวน 109 คน นอกจากนี้ยังมีพื้นที่การเกษตรอีก 400 กว่าไร่ ที่จะได้รับความเสียหายจากภัยน้ำป่าหลากในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคมของทุกปี

    อบต.ปอนได้สำรวจความเสียหายและของบประมาณเพื่อจัดทำกล่องเรียงหินป้องกันตลิ่ง เพื่อป้องกันน้ำเซาะตลิ่ง และลดแรงปะทะของแรงน้ำป่าหลากเข้าหมู่บ้านปอน แต่ก็ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและล่าช้ามานานเกือบหนึ่งปี

    เบื้องต้น อบต.ปอนจึงร่วมกับชาวบ้านระดมกำลังเร่งทำเสาเข็มไม้เตรียมปักทำแนวกั้นตลิ่ง แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะสามารถต้านทานแรงน้ำป่าหลากได้หรือไม่ ทำให้ขณะนี้ชาวบ้านต้องวิตกกังวลเนื่องจากใกล้เข้าสู่ช่วงน้ำป่าหลากอีกครั้ง

    อย่างไรก็ตาม วอนจังหวัดเร่งพิจารณาโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา ก่อนที่จะเกิดความเสียหาย ทั้งชีวิต และทรัพย์สินของชาวบ้านขึ้นมาอีก

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>รู้ไหมว่า...137 ปีก่อน ฝรั่งเคยสังเกต “ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์” ในไทย</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>5 มิถุนายน 2555 22:54 น.</TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT><IFRAME style="WIDTH: 112px; HEIGHT: 20px" class="twitter-share-button twitter-count-horizontal" title="Twitter Tweet Button" src="http://platform.twitter.com/widgets/tweet_button.1338995330.html#_=1338999097761&count=horizontal&id=twitter-widget-0&lang=en&original_referer=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FScience%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000068896&size=m&text=%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2...137%20%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%20%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%95%20%E2%80%9C%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E2%80%9D%20%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&url=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FScience%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000068896&via=ASTVScience" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME>

    Share22
    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT><IFRAME style="POSITION: static; BORDER-BOTTOM-STYLE: none; BORDER-RIGHT-STYLE: none; MARGIN: 0px; WIDTH: 90px; BORDER-TOP-STYLE: none; HEIGHT: 20px; VISIBILITY: visible; BORDER-LEFT-STYLE: none; TOP: 0px; LEFT: 0px" id=I1_1338999103780 title=+1 tabIndex=0 marginHeight=0 src="https://plusone.google.com/_/+1/fastbutton?bsv=pr&url=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FScience%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000068896&size=medium&count=true&origin=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th&hl=th&jsh=m%3B%2F_%2Fapps-static%2F_%2Fjs%2Fgapi%2F__features__%2Frt%3Dj%2Fver%3D7NECZ5-k7YU.th.%2Fsv%3D1%2Fam%3D!PemfnfjrL2yI81ARQg%2Fd%3D1%2Frs%3DAItRSTM-n9qO8av_UVqNvEgLYb1YMHzE2g#id=I1_1338999103780&parent=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th&rpctoken=612124384&_methods=onPlusOne%2C_ready%2C_close%2C_open%2C_resizeMe%2C_renderstart" frameBorder=0 width="100%" allowTransparency name=I1_1338999103780 marginWidth=0 scrolling=no></IFRAME>

    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>คณะของอาร์เทอร์ ชุสเตอร์ และนอร์แมน ล็อคเยอร์ จากราชบัณฑิตดาราศาสตร์อังกฤษที่เดินทางมาสังเกตปรากฏการณ์สุริยุปราคาเต็มดวงในเมืองไทย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พระองค์ทรงมีพระราชสาส์นเชิญราชบัณฑิตดาราศาสตร์ (Royal Astronomical Society) ของอังกฤษ มาสังเกตปรากฏการณ์สุริยุปราคาเต็มดวงในวันที่ 6 เม.ย.2418 ซึ่งคณะนักดาราศาสตร์อังกฤษที่เดินทางมาในครั้งนั้น นำโดย อาเธอร์ ชุสเตอร์ (Arthur Schuster) และ นอร์แมน ล็อคเยอร์ (Norman Lockyer)

    ขณะเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับสั่งให้ กัปตัน อัลเฟรด จอห์น ลอฟท์ตัส (Captain Alfred ) และเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยา ออกเดินทางไปเตรียมสถานที่สังเกตปรากฏการณ์สุริยุปราคา โดยคณะของลอฟท์ตัสได้สร้างค่าย และหอดูดาวบริเวณชายทะเลใกล้ปากแม่น้ำขนาดเล็กที่บ้านบางตะลื้อ ใกล้แหลมเจ้าลาย อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี และระหว่างสร้างค่ายนั้นเขาได้สังกตปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์จนจบเหตุการณ์

    ข้อมูลจากคู่มือปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร.การสังเกตปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ ทั้งสุริยุปราคาและดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ได้ถูตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ลอนดอน และยังมีภาพโคโรนาของดวงอาทิตย์ที่ปรากฏข้อความว่า “ปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ที่สังเกตการณ์ในสยาม”

    ทั้งนี้ อ่านข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ได้ที่ http://www.narit.or.th/tov/Transit_of_Venus(155).pdf.pdf

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพวาดค่ายและหอดูดาวที่กัปตันลอฟท์ตัสสร้างขึ้นเพื่อใช้สังเกตปราฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ซึ่งตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ลอนดอนนิวส์ (London News) เมื่อ 19 ก.ค.2418</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=346><TBODY><TR><TD vAlign=top width=346 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพสุริยุปราคาที่ตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ลอนดอน หลังคณะสังเกตการณ์มาสังเกตปรากฏการณ์ที่เมืองไทย (ภาพประกอบทั้งหมดจาก คู่มือปรากฏการณ์ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์) </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. komsant

    komsant เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +262
    คู่มือการเตรียมตัวและการปฏิบัติตนกรณีเกิดแผ่นดินไหว (หลากหลายครับ)

    http://www.seikatubunka.metro.tokyo.jp/index3files/survivalmanual.pdf

    http://www.pref.niigata.lg.jp/HTML_Simple/english.pdf

    Check List before Night (Earthquake)
    http://japanearthquakeinformation.blogspot.com/2011/03/check-list-before-night.html

    สิ่งที่ควรติดตัวกรณีเกิดแผ่นดินไหว
    http://nip0.wordpress.com/thai/

    checklist
    「คู่มือการปฎิบัติตัวเวลาฉุกเฉินช่วงแผ่นดินไหว」

    【ของที่ควรมีติดตัว】

    เงินสด
    บัตรประจําตัว บัตรคนต่างด้าว
    ตราปั้มญี่ปุ่น・บัตรประกันสุขภาพ
    น้ำดื่ม(คนละ3ลิตรต่อวัน)
    อาหารสำรอง(เครื่องกระป๋อง,ขนม)
    มือถือ & ที่ชาร์จยามฉุกเฉิน
    ทิชชู่
    ผ้าขนหนู ประมาณ 5 ผืน
    ไฟฉาย
    วิทยุ
    ร่ม หรือ เสื้อกันฝน
    เสื้อหนาว เครื่องป้องกันความหนาวต่างๆ
    ถุงมือทหารหรือถุงมือ
    หน้ากาก เพื่อป้องกันหนาว หรือ เพื่อไม่ให้สูดควัน
    ถุงขยะ(ขนาดใหญ่ๆ ดีกว่า) เพื่อป้องกันความหนาว
    หรือป้องกันน้ำหรืออาจใช้แทนถังได้ ใช้เวลาฉุกเฉิน
    saran wrap หรือพลาสติกครอบอาหาร
    ยางรัด (5-6 เส้น)
    ผ้าห่ม
    หนังสือพิมพ์ (ใช้เพื่อหลีกเลี่ยงความหนาว)
    รูปถ่ายของครอบครัว (เพื่อยืนยันและหาครอบครัวเมื่อพรากกัน)
    นกหวีด (เพื่อส่งสัญญาณว่ายังมีชีวิตรอด)
    แว่นตา ※1
    ยาที่กินประจำ
    ผ้าอนามัย(ขาดไม่ได้) ※2
    เครื่องเล่นเพลง(เพื่อฟังเพลงให้สงบอารมณ์ ในบางผลิตภัณฑ์อาจมีระบบวิทยุด้วย)
    เทปผ้า(ถ้ามี จะสะดวกขึ้น)
    เบาะ (ถ้ามี เบาะใช้แทนหมวกกันน้อคได้)
    เครื่องเปิดกระป๋องและมีดเล็กๆ (เผื่อต้องอยู่ในห้องหลบภัยเป็นเวลานาน)
    ※3

    【วิธีปฏิบัติตัวยามฉุกเฉิน】

    เปิดหน้าต่างกับประตูไว้
    วางของสำคัญบริเวณทางเข้าออก
    ใส่รองเท้าที่มีพื้นหนา
    ปิดวาล์วใหญ่ของท่อแก๊ส
    หุงข้าว (อาจเกิดอันตรายได้ ต้องดูสถานการณ์ประกอบด้วย)
    อัดไฟมือถือเมื่อโอกาสอำนวย
    ปิด circuit breaker เวลาไฟดับ
    (ดึงปลั๊กไฟในบ้านออกทั้งหมดก่อนปิด เพราะอาจถูกไฟดูดได้)
    กรณีมีแผ่นดินไหวต่อ ภายใน 24 ชั่วโมง
    ให้สงบใจดีก่อนอื่น
    ใช้เบอร์โทรศัพท์ที่ฝากข้อความเวลาภัยพิบัติ 171 (บอกลี้ภัยที่ไหน)
    ใช้โทรศัพท์เท่าที่จำเป็นเท่านั้น
    ใช้Skypeได้ ※4
    ให้ระวังโทรศัพท์หลอกลวง ซึ่งจะโทรมาโดยทำทีว่าเป็นตำรวจ

    【ข้อควรปฏิบัติตอนหลบภัย】
    อยู่ให้ห่างจากตู้เสื้อผ้าหรือตู้เย็นที่ทำท่าจะล้ม
    ระวังกระจก หรือรั้ว(อาจล้มลงมาทับตัวได้)
    อยู่ให้ห่างจากกำแพงที่ร้าวหรือเสาที่เอียง
    หลีกเลี่ยงการผ่านเข้าออกในซอยแคบๆ หรือบริเวณริมหน้าผา ริมแม่น้ำ หรือริมทะเล
    ผู้ที่อยู่แนวเลียบฝั่งทะเล ให้หลบไปอยู่บริเวณที่สูงๆ
    ใส่หมวกนิรภัย หรือหมวกอะไรก็ได้เพื่อป้องกันศีรษะ
    หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อที่ทำจากเส้นใยสังเคราะห์ผ้าฝ้ายหรือวัสดุติดไฟง่าย
    เตรียมหน้ากากหรือผ้าชุบน้ำให้ชุ่มให้พร้อม (เพื่อป้องกันควัน)
    หากเกิดไฟไหม้ ให้อยู่บริเวณเหนือลม
    ถ้ามีรถให้เปิดกระจกรถพร้อมเปิดวิทยุเสียงดังเพื่อเป็นการกระจายข่าวให้แก่ผู้อื่น
    (ถ้าทำได้)

    【ก่อนเกิดแผ่นดินไหว】

    ตรวจว่ามีหมวกกันน้อคหรือไม่
    ตรวจว่ามีอาหารสำรองหรือไม่
    ตรวจว่ามีน้ำสำรองหรือไม่
    ตรวจว่ามีอุปกรณ์ปฐมพยาบาลหรือไม่
    ตรวจว่ามีถุงนอนหรือไม่
    ตรวจทางหนีภัยว่ามีหรือไม่
    ใส่ถุงเท้านอน
    วางรองเท้าไว้ใกล้ตัว ถ้าเป็นไปได้หาที่ส้นหนาๆ หน่อย
    ปิดม่านนอน เพื่อป้องกันเศษแก้วจากกระจกเวลาแตก
    วางผ้าขนหนูกันไว้ระหว่างประตู เผื่อประตูปิดเบี้ยวกันให้เปิดประตูได้

    【ประกาศอย่างเป็นทางการจากบริษัท NTT】
    ในช่วงภาวะฉุกเฉิน จะให้สัญญาณจากโทรศัพท์สาธารณะก่อน
    และบริเวณพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ
    สามารถใช้โทรศัพท์สาธารณะไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ได้
    แต่ไม่สามารถโทรทางไกลระหว่างประเทศได้

    ・วิธีการโทรศัพท์ฟรีจากตู้โทรศัพท์สาธารณะ
    เมื่อท่านเห็นโทรศัพท์สาธารณะระบบอนาล็อค เครื่องสีเขียว
    ท่านสามารถโทรออกฉุกเฉินได้โดย กดปุ่ม「緊急」(ฉุกเฉิน)
    หรือหยอดเงินเหรียญ10เยนก็จะสามารถโทรได้
    หลังจากวางสาย เงินเหรียญ10เยนจะกลับคืนมา

    ・โทรศัพท์สาธารณะระบบดิจิตอล
    ท่านสามารถใช้โทรศัพท์สาธารณะระบบดิจิตอลได้
    โดยท่านไม่จำเป็นต้องใช้บัตรโทรศัพท์หรือเหรียญ10เยน
    เพียงยกหูโทรศัพท์ ก็สามารถโทรออกได้

    ขอให้นักเรียนไทยทุกท่านที่อาศัยในประเทศญี่ปุ่น
    ศึกษาข้อมูลในการเตรียมตัวรับมือกับแผ่นดินไหว
    โดยสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากคู่มือการรับมือแผ่นดินไหวที่ลงในเว็บนี้ได้จากเขตที่ท่านอาศัยอยู่
    นอกจากนี้หากเกิดแผ่นดินไหวขึ้นจริงให้ใช้บริการฝากข้อความที่เบอร์ 171
    เพื่อสอบถามความปลอดภัย และแจ้งข่าวสารให้แก่ครอบครัว
    (บริการนี้ใช้ได้เฉพาะในประเทศญี่ปุ่น)
    วิธีใช้งานทำได้ดังต่อไปนี้
    วิธีบันทึกข้อความ (เบอร์โทรให้ Update เป็นของไทย)
    1. กด 171
    2. กด 1
    3.ตามด้วยรหัสทางไกล (เช่น โตเกียว 03 เป็นต้น)
    และกดเบอร์โทรศัพท์ XXX-XXXX
    ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ประสบภัย
    ควรใส่หมายเลขโทรศัพท์บ้านของตนเอง
    และผู้ที่อยู่นอกพื้นที่ประสบภัยก็ควรใส่หมายเลขโทรศัพท์ของค
    นที่ต้องการติดต่อ

    วิธีฟังข้อความ
    1.กด 171 (เบอร์โทรให้ Update เป็นของไทย)
    2.กด 2
    3.ตามด้วยรหัสทางไกล (เช่น โตเกียว 03 เป็นต้น)
    และกดเบอร์โทรศัพท์ XXX-XXXX
    ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ประสบภัยควรใส่หมายเลขโทรศัพท์บ้านของตนเอง
    และผู้ที่อยู่นอกพื้นที่ประสบภัยก็ควรใส่หมายเลขโทรศัพท์ของคนที่ต้องการติดต่อ

    【Google Person Finder】
    เว็บไซต์ของ Google ที่สอบถามความปลอดภัย
    และแจ้งข่าวสารให้แก่ครอบครัวได้
    http://japan.person-finder.appspot.com/?lang=en

    【สถานที่ติดต่อในยามฉุกเฉิน SOS】 (เบอร์โทรให้ Update เป็นของไทย)
    ตำรวจ เบอร์โทร 110
    รถพยาบาล รถดับเพลิง เบอร์โทร 119
    เกิดความเสียหายที่ทะเล
    เบอร์โทร 118
    (เบอร์นี้จะติดต่อกับหน่วยกู้ภัยทางทะเล)

    *************************************************

    ※1
    วางแว่นตา
    คอนแทคเลนส์ไว้ใกล้มือ
    ถ้าไม่มีแว่นตาจะมองไม่เห็นเศษแก้ว
    สำหรับท่านที่ได้รับความเสียหายไม่มากแล้วกังวล
    ให้เตรียมคอนแทคเลนส์แบบใช้แล้วทิ้งไว้จะสบายใจกว่า

    ※2
    เตรียมผ้าอนามัยให้เพียงพอ ถึงจะไม่ใช่กำหนดวันที่จะมา
    ความเครียดจากแผ่นดินไหวอาจจะทำให้คลาดเคลื่อนและมาก่อนเวลาได้
    นอกจากนี้ยังใช้แทนผ้าห้ามเลือดได้ด้วย
    ถ้าใช้ผ้าเช็ดตัวหรือผ้าอ้อมในการห้ามเลือดในคนที่มีเลือดออกมาก
    ให้บอกเรื่องนี้กับแพทย์ในเวลาส่งตัวผู้บาดเจ็บด้วย
    เพราะแพทย์จะวินิจฉัยปริมาณเลือด
    และอาจจะเข้าใจผิดและทำการรักษาได้ไม่ทันท่วงที

    ※3
    ในเวลาฉุกเฉิน ให้เตรียมบัตรแสดงตัวไว้
    เพราะถึงจะไม่มีสมุดบัญชีธนาคารก็สามารถถอนเงินได้ติดตามได้ที่ลิงค์นี้
    http://mainichi.jp/select/biz/news/20110312k0000m020137000c.html (ภาษาญี่ปุ่น)

    ※4
    หลังจากเกิดแผ่นดินไหวทันที
    จะไม่สามารถติดต่อกับครอบครัวในประเทศญี่ปุ่นได้ด้วย skype
    (ทางนี้อยู่นอกประเทศญี่ปุ่น)
    ให้ใช้โทรศัพท์ธรรมดาโทรมาอาจจะดีกว่า
    ฉันใช้พรีเพรดการ์ดราคาถูก และขอบคุณที่ให้ข้อมูล

    สถานที่ปลอดภัย (เห็นความพร้อมของเขาแล้วอายจัง)
    http://animal-navi.com/navi/map/map.html

    eHOW Website ที่ให้ข้อมูลด้านความปลอดภัยกรณีเกิดแ่ผ่นดินไหวที่ดีอีกแห่งหนึ่ง
    http://www.ehow.com/facts_5212150_earthquake-safety-information.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2012
  13. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    แตกตื่น! หนูน้อยบราซิลตายแล้วฟื้น ลุกจากโลงศพขอดื่มน้ำ

    เขียนโดย nattawat_86 โพสต์เมื่อ วันพฤหัสที่ 7 มิถุนายน 2555

    [​IMG]

    Mthainews: เว็บไซต์ข่าวของบราซิลรายงานว่า เด็กชาย เคลวิน ซานโตส วัย 2 ขวบชาวบราซิล สร้างความแตกตื่นหลังจากที่ตายแล้วฟื้น ลุกขึ้นมาขอดื่มน้ำระหว่างการประกอบพิธีศพ โดยถามกับพ่อว่า “พ่อครับ ขอดื่มน้ำหน่อย”

    ซึ่งนายแอนโตนิโอ ซานโตส ผู้เป็นพ่อกล่าวว่า ผู้คนที่เข้าร่วมพิธีต่างร้องด้วยความตกใจ และไม่เชื่อว่าเด็กจะลุกขึ้นมาจากโลงศพ จากนั้น หนูน้อยเคลวิน ก็ค่อยๆนอนลงไปตามเดิม

    ก่อนหน้านี้ทางครอบครัวเชื่อว่าหนูน้อยรายนี้เสียชีวิตไปแล้วเนื่องจาก หยุดหายใจ หลังเข้ารับรักษาโรคปอดอักเสบ ณ โรงพยาบาลท้องถิ่นแห่งหนึ่งของบราซิล แล้วจึงจัดพิธีทางศาสนาที่บ้าน

    [​IMG]

    อย่างไรก็ตาม ทางครอบครัวจึงรีบนำตัวเด็กชายซานโตส ส่งโรงพยาบาลอีกครั้งหลังฟื้นจากความตาย 15 นาทีหลังจากความพยายามกู้ชีพ ทางแพทย์ยืนยันว่า เคลวินตายแล้ว เพราะชีพจรหยุดเต้น ไม่อาจยื้อชีวิตหนูน้อยรายนี้ได้ ขณะที่ทางผู้เป็นพ่อก็ยังคงฉงนอยู่ว่า คนตายจะฟื้นขึ้นมาได้อย่างไร ซึ่งครอบครัวจะยื่นฟ้องโรงพยาบาลฐานบกพร่องต่อหน้าที่

    Mthai News
     
  14. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    หนุ่มจีนตกงานสร้างเรือดำน้ำด้วยตนเองสำเร็จ

    07 มิถุนายน 2555 เวลา 08:42 น.

    หนุ่มจีนตกงาน แต่ไม่ท้อฝึกสร้างเรือดำน้ำด้วยตนเอง โดยค้นคว้าข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตจนประสบความสำเร็จ


    [​IMG]

    หนุ่มจีนวัย 37 ปี จาง หวู่อี้ จากเมืองหวู่ฮั่น มณฑลเหอเป่ย ทางตอนกลางของจีน ได้สร้างเรือดำน้ำขึ้นเองหลังจากที่เขาตกงานเมื่อหลายปีก่อน

    หวู่อี้เผยว่า เริ่มสนใจเรือดำน้ำเมื่อ 3 ปีก่อน จากนั้นก็ฝึกสร้างเรือดำน้ำด้วยตนเอง โดยค้นคว้าข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตและขอความรู้จากผู้เชี่ยวชาญการต่อเรือตามอู่ จนกระทั่งทำเป็น ปัจจุบันเขาต่อเรือดำน้ำสำเร็จมา 3 ลำ และจ้างคนงานประมาณ 20 คน ช่วยกันต่อเรือจากเหล็กกล้าด้วยมือ โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องจักรขนาดหนัก

    ขณะนี้ธุรกิจของหวู่อี้กำลังไปได้สวย ได้รับเสียงตอบรับจากบรรดาเจ้าของฟาร์มเพาะสัตว์น้ำค่อนข้างดี และกำลังขอเงินกู้จากรัฐบาลเพื่อขยายโรงงานให้ใหญ่ขึ้น
     
  15. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    ฝนถล่มเมืองโคราช น้ำท่วมถนนจราจรติดหนัก

    นางปิยะฉัตร อินสว่างหัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครราชสีมา นำเจ้าหน้าที่ช่วยตำรวจและอาสาสมัครหน่วยกู้ภัยระบายการจราจรที่ติดขัดอย่างหนักในช่วงเย็น (6 มิ.ย.) หลังฝนตกหนักลมกระโชกแรงในเขตเทศบาลนครนครราชสีมาเมื่อบ่ายที่ผ่านมา ส่งผลให้ถนนหลายสายมีน้ำท่วมขังสูง เช่น บริเวณถนนมิตรภาพ หน้าตลาดนัดเปิดกรุเซฟวัน ถนนสืบศิริ ซ.3 ถนนสุรนารายณ์ และมีรถยนต์เกิดอุบัติเหตุหลายคัน ไม่มีผู้บาดเจ็บ พร้อมกันนี้ยังจัดชุดเคลื่อนที่เร็วเตรียมความพร้อมปฏิบัติงาน หากมีเหตุฉุกเฉินจากภัยธรรมชาติ ทำให้กิ่งไม้หัก หรือป้ายโฆษณาโค่นล้ม โดยสามารถแจ้งมาที่สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครราชสีมา ที่สายด่วน 1784
     
  16. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA
    (24 ชั่วโมง) 7-06-2012


    [​IMG]
     
  17. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    [​IMG]
     
  18. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    อินเดีย..ผวาแมงมุมยักษ์กัดคนตาย

    วันพฤหัสบดี ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555

    [​IMG]

    ชาวบ้านอินเดียยังคงตื่นตระหนกกับข่าวแมงมุมยักษ์กัดคนตาย แม้ทางการออกมายืนยันแล้วว่า พิษแมงมุมชนิดนี้ไม่ร้ายแรงถึงตาย และสามารถรักษาได้

    ชาวบ้านที่เขตทินซูเกีย ในรัฐอัสสัม ทางตะวันออกเฉียงเหนือที่ห่างไกลของอินเดีย ยังคงหวาดผวา หลังจากเกิดเหตุแมงมุมยักษ์กัดชาวบ้านจนบาดเจ็บหลายคน และมี 2 คนเสียชีวิตหลังไปให้หมอผีรักษา โดยใช้มีดโกนกรีดแผล เพื่อขับเลือดเสียทิ้ง ขณะนี้ยังไม่มีความชัดเจนว่า ผู้เสียชีวิตตายเพราะวิธีรักษาหรือเพราะพิษแมงมุม แต่ทางการท้องถิ่นก็เรียกร้องประชาชนอย่าตื่นตระหนก พร้อมกับชี้แจงว่า พิษของแมงมุมชนิดนี้เพียงแค่ทำให้ปวดแสบปวดร้อนเท่านั้น ไม่อันตรายถึงตาย และแพทย์ทั่วไปก็สามารถรักษาได้ และขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

    อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เคยถูกแมงมุมชนิดนี้กัดบอกว่า รู้สึกเจ็บปวดมากเมื่อถูกกัด และทำให้เกิดแผลไหม้สีดำ และมีเลือดออก ขณะนี้ชาวบ้านก็ต้องเปิดไฟทิ้งไว้ตลอดทั้งคืน และเฝ้าระวังว่าแมงมุมชนิดนี้อาจโจมตีอีก ขณะที่บางคนเชื่อว่า แมงมุมชนิดนี้อาจเป็นแมงมุมทารันทูราชนิดใหม่ที่ไม่มีใครเคยรู้จักมาก่อน
     
  19. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    ปริมาณน้ำฝนเมื่อวานนนี้ 6-06-55

    [​IMG]
     
  20. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>น้ำป่าหลากท่วม 6 อำเภอที่สุราษฎร์ฯ ผู้ว่าฯ ประกาศเขตภัยพิบัติแล้ว</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>7 มิถุนายน 2555 09:04 น.</TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT>


    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT><?XML:NAMESPACE PREFIX = G /><G:pLUSONE size="medium"></G:pLUSONE>
    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> สุราษฎร์ธานี - น้ำป่าจาก 2 อุทยานแห่งชาติขยายพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง สร้างความเสียหายเพิ่มเป็น 6 อำเภอ ล่าสุด ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศให้พื้นที่ 6 อำเภอเป็นพื้นที่ประสบภัยแล้ว

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> จากกรณีน้ำป่าจากอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง และน้ำป่าจากอุทยานแห่งชาติเขาสก ไหลหลากเข้าท่วมพื้นที่ 4 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอไชยา ท่าชนะ วิภาวดี และอำเภอพนม ล่าสุด น้ำป่าได้ขยายพื้นที่เข้าท่วมอีก 2 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอบ้านตาขุน อำเภอท่าฉาง รวมเป็น 6 อำเภอ

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ด้านนายมนตรี เพชรขุ้ม นายก อบจ.สุราษฎร์ธานีลงสำรวจพื้นที่ อำเภอวิภาวดี พบคอสะพานข้ามคลองถนนสายบ้านคลองวาย วิภาวดีขาด สะพานแขวนไม้สลิงข้ามคลองยันระยะทางยาว 80 เมตร บริเวณบ้านบางไต หมู่ที่ 16 ตำบลตระกุกเหนือ ถูกกระแสน้ำพัดขาดเสียหายใช้การไม่ได้ ราษฎรกว่า 500 ครัวเรือนถูกตัดขาด

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> นอกจากนั้น ที่บ้านปากลาง (ปาก-ลาง) หมู่ที่ 3 ถึงหมู่ที่ 9 ตำบลตระกุกใต้ บ้านเรือนราษฎรกว่า 300 ครัวเรือน พืชสวนการเกษตร สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน ถูกน้ำท่วมขังระดับสูงตั้งแต่ 3-5 เมตร ทางการได้อพยพราษฎรไปอยู่ในที่ปลอดภัยแล้ว และมีบางส่วนยังไม่ยินยอมทิ้งบ้านเรือน เนื่องจากเป็นห่วงทรัพย์สิน

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ด้านนายเชิดศักดิ์ ชูศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้สรุปความเสียหายในเบื้องต้น มีผู้ประสบภัย 16 ตำบล 99 หมู่บ้าน ราษฎรเดือดร้อนจำนวน 8,500 ครัวเรือน 27,838 คน และล่าสุด ทางจังหวัดได้ประกาศให้ทั้ง 6 อำเภอเป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติแล้ว

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...